SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 26
Descargar para leer sin conexión
ประชาคมอาเซียนกับประชาชนไทย
นายกฤษณะ ศริวรสกุล เลขที่ 7
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา I30202
การสื่อสารและการนาเสนอ
(Communication and presentation)
ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557โรงเรียนประชาบารุง อาเภอตะโหมด
จังหวัดพัทลุง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12
(ก)
ชื่อเรื่อง : ประชาคมอาเซียนกับประชาชนไทย
ผู้จัดทา : นายกฤษณะ ศริวรสกุล
ที่ปรึกษา : อาจารย์ สุเทพ เรืองคล้าย
ปีการศึกษา : 2557
บทคัดย่อ
การดาเนินชีวิตของคนไทยเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน มีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นแนวทางการศึกษาในการใช้
ชีวิตในสังคมเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เช่น ด้านเศรษฐกิจ การศึกษา อาชีพและการทางาน สภาพสังคม เป็นต้น
โดยการหาข้อมูลในเรื่องประชาคมอาเซียนหา คาตอบ และ ความคิดเห็นต่างๆจากหลายๆกระทู้ หาข้อมูลเพิ่มเติมจาก
ข่าว หนังสือพิมพ์ และอินเทอร์เน็ตเมื่อหาข้อมูลเสร็จสรรพก็นาข้อมูลมาจัดทาแบบสอบถามเพื่อ ประเมินผล
ผลสรุปพบว่าประชาชนส่วนใหญ่นั่น ส่วนใหญ่พึงพอใจกับการที่ประชาคมอาเซียนเข้ามาสู่ประเทศไทย
โดยเฉพาะในข้อ ประชาคมอาเซียนมีประโยชน์ต่อประเทศไทยมากแค่ไหน ด้านการศึกษาจะดีขึ้นมากแค่ไหน ด้าน
เศรษฐกิจในประเทศจะดีขึ้นมากแค่ไหน ส่งผลต่อการคมนาคมภายในประเทศมากแค่ไหน ปัญหาการว่างงานเยอะขึ้น
มากแค่ไหน เป็นข้อที่ประชาชนส่วนใหญ่ให้ข้อสรุปไว้ว่า “มาก” นอกจากนั้นหัวข้อ สภาพสังคมจะดีขึ้นกว่าเดิม ความ
พึงพอใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน การดาเนินชีวิตประจาวันจะสะดวกสบาย
กว่าเดิม อนาคตของอาเซียนจะพัฒนามากแค่ไหน เป็นหัวข้อที่ประชาชน 30 คนให้ข้อสรุปไว้ว่า “ปานกลาง”
(ข)
กิตติกรรมประกาศ
รายงานฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ต้องขอขอบพระคุณ คุณครูสุเทพ เรืองคล้าย ครูผู้สอนที่ให้ความรู้
และคาแนะนา ตรวจทานและแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ด้วยความเอาใจใส่ทุกขั้นตอน เพื่อให้รายงานฉบับนี้สมบูรณ์ที่สุด
และขอขอบคุณ นายสมหมาย กรดเต็ม ผู้อานวยการ โรงเรียนประชาบารุง ที่ได้ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ใน
โรงเรียนที่เอื้อต่อการค้นคว้า
ขอขอบคุณคุณครูโรงเรียนประชาบารุง ที่ได้ฝึกสอนได้ให้คาแนะนาในการจัดทารายงานฉบับนี้ที่ไม่ได้
กล่าวนาม
ขอขอบคุณพระคุณครอบครัวผู้จัดทา ที่อยู่เบื้องหลังในความสาเร็จ ได้ให้ความช่วยเหลือและให้กาลังใจ
ตลอดมา
กฤษณะ ศริวรสุกล
(ค)
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญตาราง ง
บทที่ 1
บทนา 1
ความเป็นมา 1
วัตถุประสงค์ 1
ขอบเขต 1
ประโยชน์ที่ได้รับ 1
บทที่ 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2
บทที่ 3 วิธีดาเนินงาน 11
บทที่ 4 ผลการศึกษาค้นคว้า 12
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 14
บรรณานุกรม 15
ภาคผนวก 16
(ง)
สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
1. ตารางแสดงเวลาการดาเนินงาน……………………………………………………………………… 1
2 .ตารางสรุปผลแบบสารวจและแบบสอบถาม................................................................ 11
3 .ตารางสรุปผลค่าเฉลี่ยจากแบบสอบถาม...................................................................... 12
บทที่ 1
บทนา
ความเป็นมา
จากความคิดของกระผม เมื่อมีประชาคมอาเซียน เข้ามาในประเทศไทยต้องมีการเปลี่ยนแปลงการ
ดาเนินชีวิตเป็นอย่างแน่นอน กระผมจึงอย่างรู้ว่าเปลี่ยนแปลงเช่นไร และมีวิธีการเตรียมรับมือกับประชาคมอาเซียน
อย่างไร เมื่อทราบถึงวิธีการรับมือแล้ว จึงสามารถที่จะนามาปรับใช้ในชีวิตประจาวันของเราได้
โครงงานนี้จะมีความสาคัญต่อผู้ที่ต้องการทราบถึงการปรับตัวต่อประชาคมอาเซียน พร้อมทั้งข้อมูลต่างๆ
เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนได้เป็นอย่างดี และยังรวบรวมข้อมูลต่างๆไว้ในรายงานฉบับนี้ รายงานนี้สามารถเป็น
แนวทางในกรปรับตัวต่อประชาคมอาเซียน ทราบถึงปัญหาของประชาคมอาเซียนที่กาลังจะมาถึงนี้ได้
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาการดาเนินชีวิตของคนไทยเมื่อประชาคมอาเซียนเข้าสู่ประเทศไทย
2.เพื่อเตรียมตัวรับมือกับประชาคมอาเซียน
3. เพื่อศึกษาปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ขอบเขต
สถานที่ : โรงเรียนประชาบารุง
ระยะเวลา : ใช้เวลาดาเนินการทั้งสิ้น ประมาณ 1 เดือน โดยให้นาเสนอเป็นตารางดังนี้
ตารางแสดงเวลาการดาเนินงาน
ที่ ภาระงานที่ต้องดาเนินการหรือปฏิบัติ จานวน (วัน)
1 วางแผน 5
2 สืบค้นข้อมูล 8
3 จัดทาวิเคราะห์ผล 8
4 สรุปผล 9
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ทราบถึงการดาเนินชีวิตของคนไทยเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
2. ทราบถึงวิธีการเตรียมตัวพร้อมรับมือกับประชาคมอาเซียน
3. ทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้นเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และวิธีการปรับตัวต่อประชาคมอาเซียน
บทที่ 2
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ในการศึกษาเรื่อง การดาเนินชีวิตของคนไทย เมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน กลุ่มผู้จัดทาได้รวบรวมแนวคิด
ทฤษฎีและหลักการต่าง ๆ จากเอกสารที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
ประวัติโดยสังเขป AEC เป็นการพัฒนามาจากการเป็น สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (The
Association of South East Asian Nations : ASEAN) ก่อตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok Declaration)
เมื่อ 8 สิงหาคม 2510 โดยมีประเทศผู้ก่อตั้งแรกเริ่ม 5 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย
ต่อมาในปี 2527 บรูไน ก็ได้เข้าเป็นสมาชิก ตามด้วย 2538 เวียดนาม ก็เข้าร่วมเป็นสมาชิก ต่อมา 2540 ลาวและพม่า
เข้าร่วม และปี 2542 กัมพูชา ก็ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกลาดับที่ 10 ทาให้ปัจจุบันอาเซียนเป็นกลุ่มเศรษฐกิจภูมิภาค
ขนาดใหญ่ มีประชากร รวมกันเกือบ 500 ล้านคนจากนั้นในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 9 ที่อินโดนีเซีย เมื่อ 7
ต.ค. 2546 ผู้นาประเทศสมาชิกอาเซียนได้ตกลงกันที่จะจัดตั้งประชาคมอาเซียน
(ASEAN Community) ซึ่งประกอบด้วย3 เสาหลัก คือ
1.ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic Community: AEC)
2.ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (Socio-Cultural Pillar)
3.ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (Political and Security Pillar)
คาขวัญของอาเซียน คือ “One Vision, One Identity, One Community.” หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งอัต
ลักษณ์ หนึ่งประชาคม
ปัจจุบันประเทศสมาชิกอาเซียน รวม 10 ประเทศได้แก่ ไทย พม่า มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม
ลาว กัมพูชา บรูไน
ประชาคมอาเซียน เป็นเป้าหมายของการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อเพิ่มอานาจต่อรอง
และขีดความสามารถการแข่งขันของอาเซียนในเวทีระหว่างประเทศในทุกด้าน รวมถึงความสามารถในการรับมือกับ
ปัญหาใหม่ ๆ ในระดับโลกที่ส่งผลกระทบมาถึงภูมิภาคอาเซียน เช่น ภาวะโลกร้อน การก่อการร้าย หรือกล่าวอีกนัย
หนึ่งคือ การเป็นประชาคมอาเซียน คือการทาให้ประเทศสมาชิกอาเซียนเป็น “ครอบครัวเดียวกัน” ที่มีความแข็งแกร่ง
และมีภูมิต้านทานที่ดี โดยสมาชิกในครอบครัวมีสภาพความอยู่ที่ดี ปลอดภัย และสามารถทามาค้าขายได้อย่างสะดวก
มากยิ่งขึ้น
แรงผลักดันสาคัญที่ทาให้ผู้นาประเทศสมาชิกอาเซียนตกลงกันจัดตั้งประชาคมอาเซียน อันถือเป็นการปรับปรุงตัวครั้ง
ใหญ่และวางรากฐานของการพัฒนาของอาเซียน คือ สภาพแวดล้อมระหว่างประเทศที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งในด้าน
การเมือง เศรษฐกิจและสังคม ที่ทาให้อาเซียนต้องเผชิญกับความท้าทายใหม่ ๆ เช่น โรคระบาด อาชญากรรมข้ามชาติ
ภัยพิบัติธรรมชาติ และปัญหาสิ่งแวดล้อม ภาวะโลกร้อน และความเสี่ยงที่อาเซียนอาจจะไม่สามารถแข่งขันทาง
เศรษฐกิจได้กับประเทศอื่น ๆ โดยเฉพาะจีนและอินเดีย ซึ่งมีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างก้าวกระโดด
วัตถุประสงค์ในการก่อตั้งประชาคมอาเซียน
ประชาคม อาเซียน ก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เริ่มแรกเพื่อสร้างสันติภาพในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ อันนา
มาซึ่งเสถียรภาพทางการเมือง และความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และเมื่อการค้าระหว่าง
ประเทศในโลกมีแนวโน้มกีดกันการค้ารุนแรงขึ้น ทาให้อาเซียนได้หันมามุ่งเน้นกระชับและขยายความร่วมมือด้าน
เศรษฐกิจการค้า ระหว่างกันมากขึ้น
วัตถุประสงค์หลักที่กาหนดไว้ในปฏิญญาอาเซียน (The ASEAN Declaration) มี 7 ประการ ดังนี้
1. ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคมและวัฒนธรรม
2. ส่งเสริมการมีเสถียรภาพ สันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค
3. ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์ และด้านการบริหาร
4. ส่งเสริมความร่วมมือซึ่งกันและกันในการฝึกอบรมและการวิจัย
5. ส่งเสริมความร่วมมือในด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม การค้า การคมนาคม การสื่อสาร และปรับปรุง
มาตรฐานการดารงชีวิต
6. ส่งเสริมการมีหลักสูตรการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
7. ส่งเสริมความร่วมมือกับองค์กรระดับภูมิภาคและองค์กรระหว่างประเทศ
ประเทศ 10 ประเทศของอาเซียน มี
1. บรูไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam)
ประเทศบรูไน มีชื่อเป็นทางการว่า "เนการาบรูไนดารุสซาลาม" มีเมือง "บันดาร์เสรีเบกาวัน"เป็นเมือง
หลวง ถือเป็นประเทศที่มีขนาดไม่ใหญ่นัก เพราะมีพื้นที่ประมาณ 5,765 ตารางกิโลเมตร ปกครองด้วยระบบสม
บูรณาญาสิทธิราช โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มีประชากร 381,371 คน (ข้อมูลปี พ.ศ.2550) โดยประชากร
เกือบ 70% นับถือศาสนาอิสลาม และใช้ภาษามาเลย์เป็นภาษาราชการ
ธงชาติบรูไน ลักษณะของธงชาติมีพื้นสีเหลือง โดยมีแถบสีขาว และสีดา พาดตามแนวทแยงมุมจากด้านคันธง
จรดปลายธง ซึ่งแถบสีขาวอยู่ด้านบน แถบสีดาอยู่ด้านล่าง ขณะที่กลางธงนั้น มีตราแผ่นดินของบรูไนประทับอยู่ ซึ่งสี
ต่าง ๆ มีความหมาย ดังนี้
สีเหลือง หมายถึง กษัตริย์
สีขาว และสีดา หมายถึง มุขมนตรี
สาเหตุที่ธงชาติบรูไนใช้สีเหลืองสื่อถึงกษัตริย์นั้น เนื่องจากธงประจาพระองค์ของสุลต่านแห่งบรูไน ใช้ธงพื้นสีเหลือง
2. ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia)
เมืองหลวงคือ กรุงพนมเปญ เป็นประเทศที่มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศไทยทางทิศเหนือ และทิศ
ตะวันตก มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร หรือขนาดประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศไทย มีประชากร 14 ล้านคน
(ข้อมูลปี พ.ศ.2550) โดยประชากรกว่า 80% อาศัยอยู่ในชนบท 95% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ใช้ภาษาเขมร
เป็นภาษาราชการ แต่ก็มีหลายคนที่พูดภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส และเวียดนามได้
ธงชาติกัมพูชา ลักษณะผืนธงแบ่งตามแนวยาวเป็น 3 ริ้ว โดยริ้วตรงกลางจะเป็นสีแดง กว้าง 2 ส่วน มี
รูปปราสาทหินนครวัดสามยอดสีขาวอยู่บริเวณกึ่งกลาง ขณะที่ริ้วด้านนอกทั้ง 2 ด้าน มีสีน้าเงิน และกว้างริ้วละ 1
ส่วนเท่า ๆ กัน โดยสีต่าง และสัญลักษณ์ต่าง ๆ ของธง มีความหมาย ดังนี้
สีน้าเงิน หมายถึง กษัตริย์
สีแดง หมายถึง ชาติ
ส่วนปราสาทนครวัดสีขาว หมายถึง สันติภาพ
3. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)
เมืองหลวงคือ จาการ์ตา ถือเป็นประเทศหมู่เกาะขนาดใหญ่ที่สุดในโลก โดยมีพื้นที่ 1,919,440 ตาราง
กิโลเมตร และมีประชากรมากถึง 240 ล้านคน (ข้อมูลปี พ.ศ.2553) โดย 61% อาศัยอยู่บนเกาะชวา ส่วนใหญ่นับถือ
ศาสนาอิสลาม และใช้ภาษา Bahasa Indonesia เป็นภาษาราชการ
ธงชาติอินโดนีเซีย พื้นธงแบ่งเป็นสองส่วนตามแนวนอน โดยสีต่าง ๆ ของธง มีความหมาย ดังนี้
สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญ และอิสรภาพ
สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ยุติธรรม
4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว - สปป ลาว (Lao People’s Democratic Republic)
เมืองหลวงคือ เวียงจันทน์ ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก โดยประเทศลาวมีพื้นที่ประมาณ
ครึ่งหนึ่งของประเทศไทย คือ 236,800 ตารางกิโลเมตร พื้นที่กว่า 90% เป็นภูเขาและที่ราบสูง และไม่มีพื้นที่ส่วนใด
ติดทะเล ปัจจุบัน ปกครองด้วยระบอบสังคมนิยม โดยมีประชากร 6.4 ล้านคน ใช้ภาษาลาวเป็นภาษาหลัก แต่ก็มีคนที่
พูดภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาฝรั่งเศสได้ ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ
ธงชาติลาว ลักษณะผืนธงแบ่งตามแนวยาวออกเป็น 3 ส่วน โดยแถบตรงกลางจะเป็นสีน้าเงิน กว้าง 2
ส่วน มีพระจันทร์ทรงกลมสีขาวอยู่กึ่งกลาง ขณะที่แถบด้านนอกทั้ง 2 ด้าน มีสีแดง และกว้างริ้วละ 1 ส่วน เท่า ๆ กัน
โดยสีต่าง ๆ ของธง มีความหมาย ดังนี้
สีแดง หมายถึง เลือดแห่งการต่อสู้เพื่ออิสรภาพของชาวลาว
สีน้าเงิน หมายถึง ความมั่งคั่งอุดมสมบูรณ์ของชาติ
พระจันทร์สีขาว หมายถึงเอกภาพของ
สาเหตุที่มีดวงจันทร์ทรงกลมอยู่ตรงกลาง เนื่องจากเพื่อเป็นสัญลักษณ์สื่อถึงดวงจันทร์ลอยเด่นเหนือลาน้าโขง
5. มาเลเซีย (Malaysia)
เมืองหลวงคือ กรุงกัวลาลัมเปอร์ เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในเขตศูนย์สูตร แบ่งเป็นมาเลเซียตะวันตก
คาบสมุทรมลายู และมาเลเซียตะวันออก ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว ทั้งประเทศมีพื้นที่ 329,758 ตารางกิโลเมตร
จานวนประชากร 26.24 ล้านคน นับถือศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจาชาติ ใช้ภาษา Bahasa Melayu เป็นภาษา
ราชการ
ธงชาติมาเลเซีย มีแถบสีแดงสลับสีขาวรวม 14 แถบ แต่ละแถบมีความกว้างเท่ากัน ที่มุมธงด้านคันธงมี
รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีน้าเงินกว้าง 8 ใน 14 ส่วนของผืนธงด้านกว้าง และยาวกึ่งหนึ่งของผืนธงด้านยาว ภายในรูป
สี่เหลี่ยมผืนผ้าดังกล่าว มีเครื่องหมายพระจันทร์เสี้ยว และดาว 14 แฉก ซึ่งสี และสัญลักษณ์ ต่าง ๆ มีความหมาย
ดังนี้
แถบริ้วสีแดง และสีขาว ทั้ง 14 ริ้ว หมายถึง สถานะอันเสมอภาคของรัฐสมาชิกทั้ง 13 รัฐ ภายในประเทศ
มาเลเซีย
ดาว 14 แฉก หมายถึง ความเป็นเอกภาพในหมู่รัฐดังกล่าวทั้งหมด
พระจันทร์เสี้ยว หมายถึง ศาสนาอิสลามอันเป็นศาสนาประจาชาติ
สีเหลืองในพระจันทร์เสี้ยว และดาว 14 แฉก สื่อถึง ผู้เป็นประมุขแห่งสหพันธรัฐ
สีน้าเงิน หมายถึง ความสามัคคีของชาวมาเลเซีย
6. สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า (Republic of the Union of Myanmar)
มีเมืองหลวงคือ เนปิดอ ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันออก โดยทั้งประเทศมีพื้นที่ประมาณ
678,500 ตารางกิโลเมตร ประชากร 48 ล้านคน กว่า 90% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท หรือหินยาน และใช้
ภาษาพม่าเป็นภาษาราชการ
ธงชาติพม่า ได้แบ่งตามความยาวออกเป็น 3 ส่วน และมีความกว้างเท่า ๆ กัน โดยแต่ละส่วน มีสีที่
แตกต่างกัน ไล่จากบนลงล่าง คือ สีเหลือง สีเขียว และสีแดง ขณะที่กึ่งกลางธงมีรูปดาว 5 แฉก สีขาวขนาดใหญ่ ซึ่งสี
และสัญลักษณ์ ต่างๆ มีความหมาย ดังนี้
สีเขียว หมายถึง สันติภาพ ความสงบ และความอุดมสมบูรณ์ของพม่า
สีเหลือง หมายถึง ความสามัคคี
สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญ ความเข้มแข็ง เด็ดขาด
ดาวสีขาว หมายถึง สหภาพอันมั่นคงเป็นเอกภาพ
7. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines)
เมืองหลวงคือ กรุงมะนิลา ประกอบด้วยเกาะขนาดต่าง ๆ รวม 7,107 เกาะ โดยมีพื้นที่ดิน 298.170
ตารางกิโลเมตร มีประชากร 92 ล้านคน (ข้อมูลปี พ.ศ.2553) ส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ และเป็นประเทศที่มี
ประชากรนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกเป็นอันดับ 4 ของโลก มีการใช้ภาษาในประเทศมากถึง 170 ภาษา
แต่ใช้ภาษาอังกฤษ และภาษาตากาลอก เป็นภาษาราชการ
ธงชาติฟิลิปปินส์ ด้านต้นธงเป็นรูปสามเหลี่ยมสีขาว เป็นเครื่องหมายแทนความเสมอภาค และภราดร
ภาพ ซึ่งภายในสามเหลี่ยมสีขาว ประกอบด้วย ดวงอาทิตย์รัศมี 8 แฉก ล้อมด้วยดาว 5 แฉก จานวน 3 ดวง และ
ตั้งอยู่ตามมุมของรูปสามเหลี่ยม ซึ่งสัญลักษณ์ทั้งหมด ล้วนเป็นสีทอง ส่วนด้านที่เหลือของธง ได้แบ่งครึ่งตามความยาว
โดยแถบบนมีสีน้าเงิน และแถบล่างมีสีแดง
ทั้งนี้ หากแถบทั้งสองสีดังกล่าว ได้มีการสลับตาแหน่งกัน คือ แถบสีแดงอยู่ด้านบน แถบสีน้าเงินอยู่
ด้านล่าง แสดงว่า ขณะนั้นประเทศฟิลิปปินส์กาลังอยู่ในภาวะสงคราม ส่วนสี และสัญลักษณ์ ต่างๆ มีความหมาย ดังนี้
สีน้าเงิน หมายถึง สันติภาพ สัจจะ และความยุติธรรม
สีแดง หมายถึง ความรักชาติ และความมีคุณค่า
ดวงอาทิตย์มีรัศมี 8 แฉก หมายถึง 8 จังหวัดแรกของประเทศ ที่มีความพยายาม ในการเรียกร้องเอกราช
จากประเทศสเปน กระทั่งเกิดการปฏิวัติในปี พ.ศ. 2439
ดาวสามดวง หมายถึง การแบ่งพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของประเทศออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ ๆ ได้แก่ เกาะลู
ซอน เกาะมินดาเนา และหมู่เกาะวิสายัน
8. สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore)
เมืองหลวงคือ กรุงสิงคโปร์ ตั้งอยู่บนตาแหน่งยุทธศาสตร์ที่เป็นศูนย์กลางคมนาคมทางเรือของอาเซียน
จึงเป็นประเทศที่มีการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจมากที่สุดในย่านนี้ แม้จะมีพื้นที่ราว 699 ตารางกิโลเมตรเท่านั้น มี
ประชากร 4.48 ล้านคน ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ แต่มีภาษามาเลย์เป็นภาษาประจาชาติ ปัจจุบันใช้การ
ปกครองแบบสาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีสภาเดียว)
ธงชาติสิงคโปร์ ประกอบด้วยแถบสองสีแบ่งครึ่งกลางธง แถบสีแดงอยู่ด้านบน แถบสีขาวอยู่ด้านล่าง ที่
มุมด้านบนของคันธง เป็นรูปพระจันทร์เสี้ยว ถัดจากรูปดังกล่าวมีดาว 5 แฉก จานวน 5 ดวง เรียงเป็นรูปห้าเหลี่ยม
ด้านเท่า โดยรูปพระจันทร์เสี้ยว และดาว 5 แฉก ต่างมีสีขาว ซึ่งสี และสัญลักษณ์ ต่างๆ มีความหมาย ดังนี้
สีแดง หมายถึง ภราดรภาพ และความเสมอภาคของมนุษย์โดยทั่วหน้า
สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ และความดีงามที่แพร่หลาย และคงอยู่ตลอดกาล
รูปพระจันทร์เสี้ยว ซึ่งเป็นจันทร์เสี้ยวข้างขึ้น หมายถึง ความเป็นชาติใหม่ที่ถือกาเนิดขึ้น
ดาว 5 ดวง หมายถึง อุดมคติ 5 ประการของชาติ ได้แก่ ประชาธิปไตย สันติภาพ ความก้าวหน้า ความ
ยุติธรรม และความเสมอภาค
9. ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand)
เมืองหลวงคือกรุงเทพมหานคร มีพื้นที่ 513,115.02 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย 77 จังหวัด มี
ประชากร 65.4 ล้านคน (ข้อมูลปี พ.ศ.2553) ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ และใช้ภาษาไทยเป็นภาษาราชการ
ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นองค์ประมุขของประเทศ
ธงชาติไทย ประกอบด้วย 3 สีหลัก ได้แก่ สีแดง สีขาว และสีน้าเงิน มีการแบ่งเป็นริ้วจานวน 5 แถบ ซึ่ง
แถบในสุดเป็นสีน้าเงิน ถัดมาด้านนอกทั้งด้านบน ด้านล่าง เป็นสีขาว และสีแดงตามลาดับ ทั้งนี้ แถบสีน้าเงินมีขนาด
ใหญ่กว่าแถบสีอื่นเป็น 2 เท่า ส่วนสีต่าง ๆ มีความหมาย ดังนี้
สีแดง หมายถึง ชาติ
สีขาว หมายถึง ศาสนา
สีน้าเงิน หมายถึง พระมหากษัตริย์
อย่างไรก็ตาม มีการเรียกชื่อธงนี้ว่า ธงไตรรงค์ (ไตร = สาม, รงค์ = สี) เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์ "เครื่องหมายแห่งไตรรงค์" ไว้เมื่อ พ.ศ. 2464 โดย
สีแดง หมายถึง เลือดอันยอมพลีให้แก่ชาติ
สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์แห่งพระพุทธศาสนา และธรรมะ
สีน้าเงิน หมายถึง สีส่วนพระองค์ขององค์พระมหากษัตริย์
แม้นิยามดังกล่าวจะไม่ใช่คาอธิบายที่ทรงประกาศใช้อย่างเป็นทางการ แต่ทั้งสามสิ่งนี้คืออุดมการณ์รัฐที่พระองค์
ทรงปลูกฝัง เพื่อให้คนไทยเกิดสานึกความเป็นชาตินิยมมาตลอด
10. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam)
เมืองหลวงคือ กรุงฮานอย มีพื้นที่ 331,689 ตารางกิโลเมตร จากการสารวจถึงเมื่อปี พ.ศ.2553 มี
ประชากรประมาณ 88 ล้านคน ประมาณ 25% อาศัยอยู่ในเขตเมือง ส่วนใหญ่ร้อยละ 70 นับถือศาสนาพุทธนิกาย
มหายาน ที่เหลือนับถือศาสนาคริสต์ ปัจจุบัน ปกครองด้วยระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์
ธงชาติเวียดนาม พื้นธงเป็นสีแดงล้วน ตรงกึ่งกลางมีรูปดาว 5 แฉก สีเหลืองทอง เป็นที่เข้าใจกันทั่วไปว่า
หมายถึงชนชั้นต่าง ๆ ในสังคมเวียดนาม คือ นักปราชญ์ ชาวนา ช่างฝีมือ พ่อค้า และทหาร ส่วนสีต่าง ๆ มีความหมาย
ดังนี้
สีแดง หมายถึง การต่อสู้เพื่อกู้เอกราชของชาวเวียดนาม
สีเหลือง หมายถึง ชาวเวียดนาม
อย่างไรก็ตาม ภายหลังการรวมชาติเวียดนามในปี พ.ศ. 2519 ความหมายในธงได้มีการอธิบายใหม่ในทางการเมืองว่า
สีแดง หมายถึง การปฏิวัติโดยชนชั้นกรรมาชีพ
ดาวสีทอง หมายถึง การชี้นาของพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม
[อาเซียน 10 ประเทศ .[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http ://www.Thai-aec.com (วันที่ค้นข้อมูล : 17 พฤษจิกายน 2557). ]
สุทัศน์ สังคะพันธ์ ,ศิริทรัพย์ สังคะพันธ์ (2556) . "อาณาจักรอาเซียน" . กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์อมริทร์
ผลกระทบของประชาคมอาเซียนต่อไทย
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community : APSC) นั้น เรื่อง
สาคัญคือ ความร่วมมือในด้านสิทธิมนุษยชน และความร่วมมือในประเด็นความมั่นคงในรูปแบบใหม่ ได้แก่
อาชญากรรมข้ามชาติ การค้ามนุษย์ข้ามชาติ การค้ายาเสพติดข้ามชาติ และปัญหาภัยพิบัติ เป็นต้น สาหรับผลกระทบ
ของ APSC ต่อไทยนั้น ในด้านความร่วมมือสิทธิมนุษยชน ผลกระทบในเชิงบวกคือ ความร่วมมือในอาเซียนในการ
ส่งเสริมประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน จะเพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ผลกระทบในเชิงลบ คือ แม้ว่าจะมีความ
ร่วมมือในด้านนี้มากขึ้น แต่ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนก็คงจะเพิ่มมากขึ้นด้วย ซึ่งโยงไปถึงเรื่องการค้ามนุษย์ การ
กดขี่แรงงานต่างด้าว นอกจากนั้น ยังอาจจะเกิดปัญหาเรื่องการย้ายถิ่นฐานของคนในภูมิภาค ซึ่งอาจจะนาไปสู่ปัญหา
อื่นๆ ตามมา
สาหรับประเด็นความมั่นคงในรูปแบบใหม่นั้น ผลกระทบในเชิงบวกคือ ความร่วมมือในการจัดการกับปัญหา
เหล่านี้จะเพิ่มมากขึ้น อาทิ มีการกาหนดมาตรการด้านการค้ามนุษย์ การกาหนดมาตรการเพื่อให้อาเซียนปลอดยาเสพ
ติด และกลไกแก้ไขข้อพิพาทโดยสันติวิธี อย่างไรก็ตาม ผลกระทบในเชิงลบได้แก่ ไทยจะต้องเผชิญกับปัญหาความ
มั่นคงรูปแบบใหม่และความท้าทายข้ามแดนมากขึ้น เช่น อาชญากรรมข้ามชาติ การค้ามนุษย์ เครือข่ายการค้ายาเสพ
ติดข้ามชาติ และอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ การเคลื่อนย้ายแรงงานโดยเสรี อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
ความสงบสุข และความมั่นคงภายในประเทศ ปัญหาจากกลุ่มก่อการร้าย และอาชญากรรมข้ามชาติ แสวงประโยชน์
จากการเปิดและเคลื่อนย้ายเสรี ทาให้การป้องกันและปราบปรามมีความยุ่งยากและซับซ้อนมากขึ้น ประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน สาหรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) นั้น เน้นการทาให้
อาเซียนเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว โดยมีการเปิดเสรีใน 5 ด้านด้วยกัน คือ การเปิดเสรีการค้าสินค้า การเปิดเสรี
การค้าภาคบริการ การเปิดเสรีด้านการลงทุน การเปิดเสรีการเคลื่อนย้ายเงินทุน และการเปิดเสรีการเคลื่อนย้าย
แรงงานมีฝีมือ
ภาพรวม สาหรับผลกระทบในภาพรวมนั้น ผลกระทบในเชิงบวกคือ เมื่อเกิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ
AEC ขึ้น จะทาให้ตลาดมีขนาดใหญ่และหลากหลาย สามารถรองรับผลผลิตที่มีคุณภาพแตกต่างกัน ประชาชนมี
ทางเลือกสินค้าและบริการมากขึ้น ความร่วมมือและปฏิสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างไทยกับประเทศสมาชิกอาเซียน
มากขึ้น และไทยจะกลายเป็นศูนย์กลางทางด้านเศรษฐกิจของอาเซียน โดยเฉพาะในสาขาที่ไทยมีความได้เปรียบและ
พร้อม อย่างไรก็ตาม ผลกระทบในเชิงลบของ AEC ต่อไทย คือ การแข่งขันทางการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
จะเพิ่มขึ้นในอาเซียน และเกิดการแข่งขันเพื่อเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ ระหว่างไทยกับประเทศสมาชิกอาเซียน
ด้วยกันเอง สาหรับผลกระทบในภาพรวมนั้น ผลกระทบในเชิงบวกคือ เมื่อเกิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC
ขึ้น จะทาให้ตลาดมีขนาดใหญ่และหลากหลาย สามารถรองรับผลผลิตที่มีคุณภาพแตกต่างกัน ประชาชนมีทางเลือก
สินค้าและบริการมากขึ้น ความร่วมมือและปฏิสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างไทยกับประเทศสมาชิกอาเซียนมากขึ้น
และไทยจะกลายเป็นศูนย์กลางทางด้านเศรษฐกิจของอาเซียน โดยเฉพาะในสาขาที่ไทยมีความได้เปรียบและพร้อม
อย่างไรก็ตาม ผลกระทบในเชิงลบของ AEC ต่อไทย คือ การแข่งขันทางการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว จะ
เพิ่มขึ้นในอาเซียน และเกิดการแข่งขันเพื่อเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ ระหว่างไทยกับประเทศสมาชิกอาเซียนด้วยกัน
เอง
การเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี ผลกระทบในเชิงบวกต่อไทย ที่สาคัญมี 3 ประการ คือ - สินค้าที่ไทยมีความ
ได้เปรียบ เช่น น้าตาล ผัก และผลไม้กระป๋อง อาหารแช่แข็ง กระดาษและสิ่งพิมพ์ ยานยนต์และชิ้นส่วน เครื่องจักร
เนื้อสัตว์แปรรูป เครื่องสาอาง ผลิตภัณฑ์เหล็ก อัญมณี ข้าว สิ่งทอ ยางพารา และเม็ดพลาสติก จะมีโอกาสส่งออกไป
ยังตลาดอาเซียนมากขึ้น
การมีอานาจต่อรองที่มากขึ้น การรวมตัวกันของประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ ได้ก่อให้เกิดตลาดในภูมิภาค ที่มี
ประชากรกว่า 600 ล้านคน การรวมตัวเป็นประชาคมจึงทาให้เกิดอานาจการต่อรองทางการค้ากับกลุ่มเศรษฐกิจใน
ภูมิภาคอื่นๆ เป็นการกระตุ้นให้ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมหรือ SME ต้องเร่งพัฒนาฝีมือ ตลอดทั้งสินค้า
และบริการ ให้ได้คุณภาพมาตรฐาน พร้อมที่จะต่อสู้ในการค้าการบริการในระดับระหว่างประเทศ อย่างไรก็ตาม
ผลกระทบในเชิงลบ จากการเปิดเสรีการค้าสินค้าใน AEC ต่อไทย ที่สาคัญคือ สินค้าที่ไทยเสียเปรียบและไม่พร้อมที่จะ
แข่งขันกับประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นๆ อาทิ ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลังและแป้งมัน และอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ อาจ
ประสบปัญหาในการแข่งขันกับต่างประเทศ ดังนั้น ธุรกิจที่ไม่พร้อมและเสียเปรียบ อาจประสบปัญหาถึงขั้นต้องปิด
กิจการ
การเคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี สาหรับผลกระทบในเชิงบวกต่อไทยคือ ธุรกิจบริการด้านการศึกษานานาชาติ
ภาพยนตร์ ธุรกิจการจัดประชุม (MICE) การท่องเที่ยว บริการสุขภาพ สปาและนวดแผนไทย และบริการโทรคมนาคม
จะมีความได้เปรียบ และมีโอกาสขยายธุรกิจไปในอาเซียนมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ผลกระทบในเชิงลบต่อไทยคือ ธุรกิจ
บริการที่ไทยเสียเปรียบและไม่พร้อมในการแข่งขัน อาทิ ธุรกิจบริการโลจิส ติกส์ และธุรกิจการให้บริการก่อสร้าง
อาจจะประสบปัญหาถึงขั้นต้องปิดกิจการ เนื่องจากความไม่พร้อมของระบบโครงสร้างพื้นฐาน บุคลากร และ
เทคโนโลยี
การเคลื่อนย้ายการลงทุนเสรี สาหรับผลกระทบในเชิงบวกคือ การเคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรีในอาเซียน จะ
ทาให้ธุรกิจไทยมีโอกาสมากขึ้น ในการย้ายฐานการผลิต และการลงทุนไปยังประเทศอาเซียน นอกจากนี้ เนื่องจาก
ขนาดของประชากรที่มีมากกว่า 600 ล้านคน และการที่อาเซียนจะเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว จะเป็นแรงจูงใจ
ให้ประเทศนอกอาเซียนสนใจมาลงทุนในภูมิภาคอาเซียนและในไทยมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ผลกระทบในเชิงลบก็มี
โดยเฉพาะจะมีการลงทุนจากธุรกิจของประเทศสมาชิกอาเซียนเข้ามาในไทยมากขึ้น ทาให้เกิดการแข่งขันสูงขึ้น
การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี สาหรับผลกระทบในเชิงบวกต่อไทยคือ แรงงานมีฝีมือของไทยจะมีโอกาสทางานใน
ประเทศสมาชิกอาเซียนมากขึ้น นอกจากนี้ ไทยจะมีแรงงานมีฝีมือที่มาจากประเทศสมาชิกอาเซียน มาช่วยในการ
พัฒนาและขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยเพิ่มมากขึ้น
อย่างไรก็ตาม ผลกระทบในเชิงลบคือ แม้ว่าจะยังไม่มีการเปิดเสรีแรงงานไร้ฝีมือ แต่จากการที่มีการเคลื่อนย้ายบุคคล
ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนง่ายขึ้น อาจทาให้ปัญหาแรงงานไร้ฝีมือผิดกฎหมายในไทยเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ การ
เปิดเสรีแรงงานมีฝีมือ จะมีแรงงานจากประเทศสมาชิกอาเซียนเข้ามาแข่งขันในตลาดแรงงานในไทยมากขึ้น ซึ่งจะมีผล
ต่อการประกอบอาชีพของคนไทย
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
สาหรับประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC) นั้น เรื่อง
สาคัญคือ ความร่วมมือในการพัฒนามนุษย์ การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม ความยุติธรรมและสิทธิทางสังคม ด้าน
สิ่งแวดล้อม และการสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
การพัฒนามนุษย์ เรื่องสาคัญคือ ความร่วมมือในด้านการศึกษาระหว่างประเทศอาเซียน ซึ่งจะส่งผลกระทบ
ในเชิงบวกต่อไทยคือ ประชาชนคนไทยมีโอกาสในการเรียนรู้เกี่ยวกับประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียนมากขึ้น รวมทั้ง
สถานศึกษามีการปรับตัวเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน นอกจากนี้ แรงงานในประเทศไทยจะมีโอกาสในการพัฒนา
ตนเอง เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันกับแรงงานในประเทศอาเซียนอื่นๆ อย่างไรก็ตาม ผล กระทบในเชิงลบต่อ
ไทยคือ ประเทศไทยจะต้องปรับตัวเพื่อรองรับการกาหนดมาตรฐานแรงงานของอาเซียน ซึ่งอาจมีความแตกต่างจาก
มาตรฐานที่ใช้อยู่ภายในประเทศ
การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม ผลกระทบในเชิงบวกต่อไทยคือ ภาครัฐจะให้ความสาคัญกับสวัสดิการสังคมมากขึ้น
เพื่อให้เป็นไปตามกรอบความร่วมมือของประชาคมอาเซียน นอกจากนี้ จะมีความร่วมมือในการคุ้มครองและ
สวัสดิการสังคมเพิ่มมากขึ้นระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งจะเป็นผลดีต่อไทย อย่างไรก็ตาม ผลกระทบในเชิงลบ
คือ การรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนอาจส่งผลให้ปัญหาสังคมในด้านต่างๆ เพิ่มมากขึ้น และประเทศไทยจะต้องมี
ภาระค่าใช้จ่ายด้านสวัสดิการสังคมเพิ่มขึ้น
ความยุติธรรมและสิทธิทางสังคม ผลกระทบในเชิงบวกคือ ความร่วมมือในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิ
และสวัสดิการสาหรับ สตรี เด็ก ผู้สูงอายุ และผู้พิการ จะเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะมีความร่วมมือเพิ่มมากขึ้น แต่
ปัญหาในการละเมิดสิทธิและสวัสดิการ กลุ่มคนเหล่านี้ อาจจะเพิ่มตามไปด้วย
ด้านสิ่งแวดล้อม ผลกระทบในเชิงบวกคือ ความร่วมมือในการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศสมาชิก
อาเซียนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะทาให้การจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมในประเทศไทยมีแนวโน้มดีขึ้น แต่ผลกระทบในเชิงลบคือ
แม้ว่าจะมีความร่วมมือเพิ่มมากขึ้น แต่ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมอาจจะเพิ่มขึ้นตามไปด้วย โดยเฉพาะปัญหาจากมลพิษ
ของเสียข้ามแดน
การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน ผลกระทบในเชิงบวกคือ ความร่วมมือด้านวัฒนธรรมระหว่างไทยกับประเทศ
สมาชิกอาเซียนเพิ่มมากขึ้น และความพยายามในการแสวงหา และสร้างอัตลักษณ์อาเซียนเพิ่มมากขึ้น แต่สาหรับ
ผลกระทบในเชิงลบคือ ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการสร้างอัตลักษณ์อาเซียนว่า จะทาให้อัตลักษณ์ของไทยถูกกลืนไป
ดังนั้น ความเข้าใจผิดดังกล่าวอาจนาไปสู่กระแสการต่อต้านความพยายามในการสร้างอัตลักษณ์อาเซียนร่วมกัน
[รศ.ดร.ประภัสสร์ เทพชาตรี .[ออนไลน์]. “ ผลกระทบของประชาคมอาเซียนต่อไทย” เข้าถึงได้จาก :
http://www.castu.org/view/id/5331934db4f2d3b378000003 (วันที่ค้นข้อมูล : 17 พฤษจิกายน 2557).]
บทที่ 3
วิธีศึกษาค้นคว้า
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาการดาเนินชีวิตของคนไทยเมื่อประชาคมอาเซียนเข้าสู่ประเทศไทย
2. เพื่อเตรียมตัวรับมือกับประชาคมอาเซียน
3. เพื่อศึกษาปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ประชาการกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ผู้ปกครองของนักเรียนชั้น ม. 5 และ ม.6 โรงเรียนประชาบารุง
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสอบถาม(Questionnaire) ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม
ข้อมูลโดยการทบทวนแนวคิดทฤษฎีและผล งานวิจัยที่เกี่ยวข้องแล้วนามาปรับปรุงใช้ให้เหมาะสมกับการศึกษาวิจัยใน
ครั้งนี้แบ่งเนื้อหาของคาถามออกเป็น 2 ส่วนดังนี้
ส่วนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถามเช่น เพศ อายุ
ส่วนที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน การเตรียมตัวรับมือกับประชาคมอาเซียน
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.กาหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา
2.นามารวบรวมข้อมูล
3.ตรวจสอบข้อมูล
4.วิเคราะห์ข้อมูล
5.เรียบเรียงและเสนอ
การวิเคราะห์ข้อมูล
หลังจากเก็บข้อมูลครบถ้วนแล้ว ผู้วิจัยได้นามาดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้
1. นาแบบสอบถามทั้งหมดมาตรวจสอบความสมบูรณ์และคัดเลือกแบบสอบถามที่มีความสมบูรณ์เพียง
พอที่จะมาประมวลผลได้
2. นาไปประมวลผล
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) เพื่อใช้บรรยายลักษณะข้อมูลที่เก็บมาได้ โดยใช้ค่าสถิติในการ
วิเคราะห์ ได้แก่ การแจกแจงความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (Standard Deviation)
บทที่4
ผลการศึกษาค้นคว้า
ในการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการดาเนินชีวิตของคนไทย เมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เมื่อได้ข้อมูลที่แน่นอน
แล้วนาข้อมูลมาทาเป็นแบบสอบถาม โดยแบบสอบถามจานวน 30 ชุดนี้ เราจะให้กับผู้ปกครองของนักเรียนชั้น ม. 5
และ ม.6 โรงเรียนประชาบารุง จานวน 30 คน เป็นผู้ตอบแบบสอบถาม หลังจากนั้นก็นาข้อมูลจากแบบสอบถามที่
ได้มานั้นมาหาค่าเฉลี่ย
ผลปรากฏว่า ดังตาราง
ตารางสรุปผลแบบสารวจและแบบสอบถาม
รายการ
ความคิดเห็น
ค่าเฉลี่ย ผลสรุปมากที่สุด
(5)
มาก
(4)
ปานกลาง
(3)
น้อย
(2)
น้อยที่สุด
(1)
1.ประชาคมอาเซียนมีประโยชน์ต่อประเทศไทยมากแค่
ไหน
12 12 6 - - 4.2 มาก
2.ด้านการศึกษาจะดีขึ้นมากแค่ไหน 6 13 8 3 - 3.73 มาก
3. ด้านเศรษฐกิจในประเทศจะดีขึ้นมากแค่ไหน 8 14 6 2 - 3.93 มาก
4. ส่งผลต่อการคมมาคมภายในประเทศมากแค่ไหน 10 14 6 - - 4.13 มาก
5. สภาพสังคมจะดีขึ้นกว่าเดิม 4 10 12 14 - 3.43 ปาน
กลาง
6. ปัญหาการว่างงานเยอะขึ้นมากแค่ไหน 12 11 7 - - 4.16 มาก
7. ความพึงพอใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 3 6 14 7 - 3.16 ปาน
กลาง
8. ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 3 9 10 7 1 3.2 ปาน
กลาง
9. การดาเนินชีวิตประจาวันจะสะดวกสบายกว่าเดิม - 9 10 11 - 2.93 ปาน
กลาง
10. อนาคตของอาเซียนจะพัฒนามากแค่ไหน 2 9 11 7 1 3.13 ปาน
กลาง
ตารางสรุปผลค่าเฉลี่ยจากแบบสอบถาม
จากตารางได้ข้อสรุปว่าประชาชนส่วนใหญ่นั่น ส่วนใหญ่พึงพอใจกับการที่ประชาคมอาเซียนเข้ามาสู่ประเทศ
ไทย โดยเฉพาะในข้อ ประชาคมอาเซียนมีประโยชน์ต่อประเทศไทยมากแค่ไหน ด้านการศึกษาจะดีขึ้นมากแค่ไหน
ด้านเศรษฐกิจในประเทศจะดีขึ้นมากแค่ไหน ส่งผลต่อการคมนาคมภายในประเทศมากแค่ไหน ปัญหาการว่างงาน
เยอะขึ้นมากแค่ไหน เป็นข้อที่ประชาชนส่วนใหญ่ให้ข้อสรุปไว้ว่า “มาก” นอกจากนั่นหัวข้อ สภาพสังคมจะดีขึ้น
กว่าเดิม ความพึงพอใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน การดาเนินชีวิตประจาวันจะ
สะดวกสบายกว่าเดิม อนาคตของอาเซียนจะพัฒนามากแค่ไหน เป็นหัวข้อที่ประชาชน 30 คนให้ข้อสรุปไว้ว่า "ปาน
กลาง"
ค่าเฉลี่ย ความหมาย
4.50 – 5.00 มากที่สุด
3.50 – 4.49 มาก
2.50 – 3.49 ปานกลาง
1.50 – 2.49 น้อย
1.00 – 1.49 น้อยที่สุด
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
สรุปผลการประเมิน
จากตารางได้ข้อสรุปว่าประชาชนส่วนใหญ่นั่น ส่วนใหญ่พึงพอใจกับการที่ประชาคมอาเซียนเข้ามาสู่
ประเทศไทย โดยเฉพาะในข้อ ประชาคมอาเซียนมีประโยชน์ต่อประเทศไทยมากแค่ไหน ด้านการศึกษาจะดีขึ้นมากแค่
ไหน ด้านเศรษฐกิจในประเทศจะดีขึ้นมากแค่ไหน ส่งผลต่อการคมนาคมภายในประเทศมากแค่ไหน ปัญหาการ
ว่างงานเยอะขึ้นมากแค่ไหน เป็นข้อที่ประชาชนส่วนใหญ่ให้ข้อสรุปไว้ว่า “มาก” นอกจากนั่นหัวข้อ สภาพสังคมจะดี
ขึ้นกว่าเดิม ความพึงพอใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน การดาเนินชีวิตประจาวันจะ
สะดวกสบายกว่าเดิม อนาคตของอาเซียนจะพัฒนามากแค่ไหน เป็นหัวข้อที่ประชาชน 30 คนให้ข้อสรุปไว้ว่า “ปาน
กลาง”
ปัญหาและอุปสรรคในการค้นคว้า
-
ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา
- การประเมินผลงานชิ้นนี้สามารถนาไปต่อยอดได้อีก เช่น นาแบบประเมินไปทดสอบเกี่ยวกับประชาคม
อาเซียน กับประชาชนทั่วประเทศ
อ้างอิง
อาเซียน 10 ประเทศ .[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http ://www.Thai-aec.com (วันที่ค้นข้อมูล : 17 พฤษจิกายน 2557).
การปรับตัวต่อประชาคมอาเซียน .[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.facebook.com/thailandaec (วันที่ค้นข้อมูล : 17
พฤษจิกายน 2557)
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ .[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/ สมาคมประชาชาติแห่ง
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (วันที่ค้นข้อมูล : 17 พฤษจิกายน 2557)
ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน .[ออนไลน์]. http://www.lampangvc.ac.th/lvcasean/page_asean.htm (วันที่ค้นข้อมูล :
18 พฤษจิกายน 2557)
รศ.ดร.ประภัสสร์ เทพชาตรี .[ออนไลน์]. “ ผลกระทบของประชาคมอาเซียนต่อไทย” เข้าถึงได้จาก :
http://www.castu.org/view/id/5331934db4f2d3b378000003 (วันที่ค้นข้อมูล : 18 พฤษจิกายน 2557).
สุทัศน์ สังคะพันธ์ ,ศิริทรัพย์ สังคะพันธ์ (2556) . "อาณาจักรอาเซียน" . กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์อมริทร์,
ภาคผนวก
ธงอาเซียน
Kingdom of Thailand (ราชอาณาจักรไทย)
Socialist Republic of Vietnam (สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม)
Republic of the Philippines (สาธารณรัฐฟิลิปปินส์)
Republic of the Union of Myanmar (สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า)
Kingdom of Cambodia (ราชอาณาจักรกัมพูชา)
Lao People’s Democratic Republic (สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว )
Republic of Singapore (สาธารณรัฐสิงคโปร์)
Malaysia (มาเลเซีย)
Brunei Darussalam (บรูไน ดารุสซาลาม)
Republic of Indonesia (สาธารณรัฐอินโดนีเซีย)
คาชี้แจง แบบสอบถาม
1.โปรดเติมเครื่องหมาย  และกรอกข้อความให้สมบูรณ์
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
1. เพศ  ชาย  หญิง
2. สถานะ
 นักศึกษา  อาจารย์  บุคลากร  ประชาชนทั่วไป  โปรดระบุ ……………………
3. สังกัดคณะ/สานัก /สถาบัน /หน่วยงาน ………………………………………………………………………………….…
4. วุฒิการศึกษา ต่ากว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี
5. อายุ ต่ากว่า 20 ปี -40 ปี ปีขึ้นไป
ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจต่อโครงการ
ระดับ 5 = มากที่สุดหรือดีมาก 4 = มากหรือดี 3 = ปานกลางหรือพอใช้ 2 = น้อยหรือต่ากว่ามาตรฐาน 1 = น้อยที่สุดหรือต้องปรับปรุงแก้ไข
รายการ
ความคิดเห็น
มากที่สุด
(5)
มาก
(4)
ปานกลาง
(3)
น้อย
(2)
น้อยที่สุด
(1)
1.ประชาคมอาเซียนมีประโยชน์ต่อประเทศไทยมากแค่ไหน
2. ด้านการศึกษาจะดีขึ้นมากแค่ไหน
3. ด้านเศรษฐกิจในประเทศจะดีขึ้นมากแค่ไหน
4. ส่งผลต่อการคมมาคมภายในประเทศมากแค่ไหน
5. สภาพสังคมจะดีขึ้นกว่าเดิม
6. ปัญหาการว่างงานเยอะขึ้นมากแค่ไหน
7. ความพึงพอใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
8. ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
9. การดาเนินชีวิตประจาวันจะสะดวกสบายกว่าเดิม
10. อนาคตของอาเซียนจะพัฒนามากแค่ไหน
แบบสอบถามประชาคมอาเซียนกับคนไทย
โรงเรียนประชาบารุง(อุทิตกิจจาทร)

โครงงานวิชา Is2

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
Nontagan Lertkachensri
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
พัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
Bio Beau
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
พัน พัน
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
Sattawat Backer
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
sukanya5729
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
thnaporn999
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
 

La actualidad más candente (20)

โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงาน
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

Destacado

Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2
พัน พัน
 
โครงงาน Is2
โครงงาน Is2โครงงาน Is2
โครงงาน Is2
kessara61977
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
Sasiyada Promsuban
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
พัน พัน
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
Bangk Thitisak
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
พัน พัน
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
Sasiyada Promsuban
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
พัน พัน
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
Aekapoj Poosathan
 

Destacado (19)

Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2
 
Isโครงการหมาน้อยร้อยฝันแก้ไข2
Isโครงการหมาน้อยร้อยฝันแก้ไข2Isโครงการหมาน้อยร้อยฝันแก้ไข2
Isโครงการหมาน้อยร้อยฝันแก้ไข2
 
โครงงาน Is2
โครงงาน Is2โครงงาน Is2
โครงงาน Is2
 
Is2
Is2Is2
Is2
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียนวัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
 
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหารความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
 
ดนตรีกับเยาวชนไทย
ดนตรีกับเยาวชนไทยดนตรีกับเยาวชนไทย
ดนตรีกับเยาวชนไทย
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

Similar a โครงงานวิชา Is2

Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunity
siripon25
 
ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]
ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]
ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]
Chatuporn Chanruang
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
tomodachi7016
 
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนการเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
AkarimA SoommarT
 
Overall asean
Overall aseanOverall asean
Overall asean
i_cavalry
 
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013
stiu
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AECความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
Mudhita Ubasika
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
Mudhita Ubasika
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
sompriaw aums
 

Similar a โครงงานวิชา Is2 (20)

ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์
 
Asean m3
Asean m3Asean m3
Asean m3
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunity
 
ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]
ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]
ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
 
1.หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการอาเซียน
1.หน่วยการเรียนรู้ที่ 1  พัฒนาการอาเซียน1.หน่วยการเรียนรู้ที่ 1  พัฒนาการอาเซียน
1.หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการอาเซียน
 
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนการเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
Overall asean
Overall aseanOverall asean
Overall asean
 
คู่มือครู
คู่มือครูคู่มือครู
คู่มือครู
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
 
OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยน
 
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013
 
Asean
AseanAsean
Asean
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AECความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
 

โครงงานวิชา Is2

  • 1. ประชาคมอาเซียนกับประชาชนไทย นายกฤษณะ ศริวรสกุล เลขที่ 7 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา I30202 การสื่อสารและการนาเสนอ (Communication and presentation) ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557โรงเรียนประชาบารุง อาเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12
  • 2. (ก) ชื่อเรื่อง : ประชาคมอาเซียนกับประชาชนไทย ผู้จัดทา : นายกฤษณะ ศริวรสกุล ที่ปรึกษา : อาจารย์ สุเทพ เรืองคล้าย ปีการศึกษา : 2557 บทคัดย่อ การดาเนินชีวิตของคนไทยเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน มีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นแนวทางการศึกษาในการใช้ ชีวิตในสังคมเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เช่น ด้านเศรษฐกิจ การศึกษา อาชีพและการทางาน สภาพสังคม เป็นต้น โดยการหาข้อมูลในเรื่องประชาคมอาเซียนหา คาตอบ และ ความคิดเห็นต่างๆจากหลายๆกระทู้ หาข้อมูลเพิ่มเติมจาก ข่าว หนังสือพิมพ์ และอินเทอร์เน็ตเมื่อหาข้อมูลเสร็จสรรพก็นาข้อมูลมาจัดทาแบบสอบถามเพื่อ ประเมินผล ผลสรุปพบว่าประชาชนส่วนใหญ่นั่น ส่วนใหญ่พึงพอใจกับการที่ประชาคมอาเซียนเข้ามาสู่ประเทศไทย โดยเฉพาะในข้อ ประชาคมอาเซียนมีประโยชน์ต่อประเทศไทยมากแค่ไหน ด้านการศึกษาจะดีขึ้นมากแค่ไหน ด้าน เศรษฐกิจในประเทศจะดีขึ้นมากแค่ไหน ส่งผลต่อการคมนาคมภายในประเทศมากแค่ไหน ปัญหาการว่างงานเยอะขึ้น มากแค่ไหน เป็นข้อที่ประชาชนส่วนใหญ่ให้ข้อสรุปไว้ว่า “มาก” นอกจากนั้นหัวข้อ สภาพสังคมจะดีขึ้นกว่าเดิม ความ พึงพอใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน การดาเนินชีวิตประจาวันจะสะดวกสบาย กว่าเดิม อนาคตของอาเซียนจะพัฒนามากแค่ไหน เป็นหัวข้อที่ประชาชน 30 คนให้ข้อสรุปไว้ว่า “ปานกลาง”
  • 3. (ข) กิตติกรรมประกาศ รายงานฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ต้องขอขอบพระคุณ คุณครูสุเทพ เรืองคล้าย ครูผู้สอนที่ให้ความรู้ และคาแนะนา ตรวจทานและแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ด้วยความเอาใจใส่ทุกขั้นตอน เพื่อให้รายงานฉบับนี้สมบูรณ์ที่สุด และขอขอบคุณ นายสมหมาย กรดเต็ม ผู้อานวยการ โรงเรียนประชาบารุง ที่ได้ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ใน โรงเรียนที่เอื้อต่อการค้นคว้า ขอขอบคุณคุณครูโรงเรียนประชาบารุง ที่ได้ฝึกสอนได้ให้คาแนะนาในการจัดทารายงานฉบับนี้ที่ไม่ได้ กล่าวนาม ขอขอบคุณพระคุณครอบครัวผู้จัดทา ที่อยู่เบื้องหลังในความสาเร็จ ได้ให้ความช่วยเหลือและให้กาลังใจ ตลอดมา กฤษณะ ศริวรสุกล
  • 4. (ค) สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญตาราง ง บทที่ 1 บทนา 1 ความเป็นมา 1 วัตถุประสงค์ 1 ขอบเขต 1 ประโยชน์ที่ได้รับ 1 บทที่ 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2 บทที่ 3 วิธีดาเนินงาน 11 บทที่ 4 ผลการศึกษาค้นคว้า 12 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 14 บรรณานุกรม 15 ภาคผนวก 16
  • 5. (ง) สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1. ตารางแสดงเวลาการดาเนินงาน……………………………………………………………………… 1 2 .ตารางสรุปผลแบบสารวจและแบบสอบถาม................................................................ 11 3 .ตารางสรุปผลค่าเฉลี่ยจากแบบสอบถาม...................................................................... 12
  • 6. บทที่ 1 บทนา ความเป็นมา จากความคิดของกระผม เมื่อมีประชาคมอาเซียน เข้ามาในประเทศไทยต้องมีการเปลี่ยนแปลงการ ดาเนินชีวิตเป็นอย่างแน่นอน กระผมจึงอย่างรู้ว่าเปลี่ยนแปลงเช่นไร และมีวิธีการเตรียมรับมือกับประชาคมอาเซียน อย่างไร เมื่อทราบถึงวิธีการรับมือแล้ว จึงสามารถที่จะนามาปรับใช้ในชีวิตประจาวันของเราได้ โครงงานนี้จะมีความสาคัญต่อผู้ที่ต้องการทราบถึงการปรับตัวต่อประชาคมอาเซียน พร้อมทั้งข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนได้เป็นอย่างดี และยังรวบรวมข้อมูลต่างๆไว้ในรายงานฉบับนี้ รายงานนี้สามารถเป็น แนวทางในกรปรับตัวต่อประชาคมอาเซียน ทราบถึงปัญหาของประชาคมอาเซียนที่กาลังจะมาถึงนี้ได้ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาการดาเนินชีวิตของคนไทยเมื่อประชาคมอาเซียนเข้าสู่ประเทศไทย 2.เพื่อเตรียมตัวรับมือกับประชาคมอาเซียน 3. เพื่อศึกษาปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ขอบเขต สถานที่ : โรงเรียนประชาบารุง ระยะเวลา : ใช้เวลาดาเนินการทั้งสิ้น ประมาณ 1 เดือน โดยให้นาเสนอเป็นตารางดังนี้ ตารางแสดงเวลาการดาเนินงาน ที่ ภาระงานที่ต้องดาเนินการหรือปฏิบัติ จานวน (วัน) 1 วางแผน 5 2 สืบค้นข้อมูล 8 3 จัดทาวิเคราะห์ผล 8 4 สรุปผล 9 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทราบถึงการดาเนินชีวิตของคนไทยเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2. ทราบถึงวิธีการเตรียมตัวพร้อมรับมือกับประชาคมอาเซียน 3. ทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้นเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และวิธีการปรับตัวต่อประชาคมอาเซียน
  • 7. บทที่ 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาเรื่อง การดาเนินชีวิตของคนไทย เมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน กลุ่มผู้จัดทาได้รวบรวมแนวคิด ทฤษฎีและหลักการต่าง ๆ จากเอกสารที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ ประวัติโดยสังเขป AEC เป็นการพัฒนามาจากการเป็น สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (The Association of South East Asian Nations : ASEAN) ก่อตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม 2510 โดยมีประเทศผู้ก่อตั้งแรกเริ่ม 5 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ต่อมาในปี 2527 บรูไน ก็ได้เข้าเป็นสมาชิก ตามด้วย 2538 เวียดนาม ก็เข้าร่วมเป็นสมาชิก ต่อมา 2540 ลาวและพม่า เข้าร่วม และปี 2542 กัมพูชา ก็ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกลาดับที่ 10 ทาให้ปัจจุบันอาเซียนเป็นกลุ่มเศรษฐกิจภูมิภาค ขนาดใหญ่ มีประชากร รวมกันเกือบ 500 ล้านคนจากนั้นในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 9 ที่อินโดนีเซีย เมื่อ 7 ต.ค. 2546 ผู้นาประเทศสมาชิกอาเซียนได้ตกลงกันที่จะจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งประกอบด้วย3 เสาหลัก คือ 1.ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic Community: AEC) 2.ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (Socio-Cultural Pillar) 3.ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (Political and Security Pillar) คาขวัญของอาเซียน คือ “One Vision, One Identity, One Community.” หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งอัต ลักษณ์ หนึ่งประชาคม ปัจจุบันประเทศสมาชิกอาเซียน รวม 10 ประเทศได้แก่ ไทย พม่า มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม ลาว กัมพูชา บรูไน ประชาคมอาเซียน เป็นเป้าหมายของการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อเพิ่มอานาจต่อรอง และขีดความสามารถการแข่งขันของอาเซียนในเวทีระหว่างประเทศในทุกด้าน รวมถึงความสามารถในการรับมือกับ ปัญหาใหม่ ๆ ในระดับโลกที่ส่งผลกระทบมาถึงภูมิภาคอาเซียน เช่น ภาวะโลกร้อน การก่อการร้าย หรือกล่าวอีกนัย หนึ่งคือ การเป็นประชาคมอาเซียน คือการทาให้ประเทศสมาชิกอาเซียนเป็น “ครอบครัวเดียวกัน” ที่มีความแข็งแกร่ง และมีภูมิต้านทานที่ดี โดยสมาชิกในครอบครัวมีสภาพความอยู่ที่ดี ปลอดภัย และสามารถทามาค้าขายได้อย่างสะดวก มากยิ่งขึ้น แรงผลักดันสาคัญที่ทาให้ผู้นาประเทศสมาชิกอาเซียนตกลงกันจัดตั้งประชาคมอาเซียน อันถือเป็นการปรับปรุงตัวครั้ง ใหญ่และวางรากฐานของการพัฒนาของอาเซียน คือ สภาพแวดล้อมระหว่างประเทศที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งในด้าน การเมือง เศรษฐกิจและสังคม ที่ทาให้อาเซียนต้องเผชิญกับความท้าทายใหม่ ๆ เช่น โรคระบาด อาชญากรรมข้ามชาติ ภัยพิบัติธรรมชาติ และปัญหาสิ่งแวดล้อม ภาวะโลกร้อน และความเสี่ยงที่อาเซียนอาจจะไม่สามารถแข่งขันทาง เศรษฐกิจได้กับประเทศอื่น ๆ โดยเฉพาะจีนและอินเดีย ซึ่งมีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างก้าวกระโดด
  • 8. วัตถุประสงค์ในการก่อตั้งประชาคมอาเซียน ประชาคม อาเซียน ก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เริ่มแรกเพื่อสร้างสันติภาพในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ อันนา มาซึ่งเสถียรภาพทางการเมือง และความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และเมื่อการค้าระหว่าง ประเทศในโลกมีแนวโน้มกีดกันการค้ารุนแรงขึ้น ทาให้อาเซียนได้หันมามุ่งเน้นกระชับและขยายความร่วมมือด้าน เศรษฐกิจการค้า ระหว่างกันมากขึ้น วัตถุประสงค์หลักที่กาหนดไว้ในปฏิญญาอาเซียน (The ASEAN Declaration) มี 7 ประการ ดังนี้ 1. ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคมและวัฒนธรรม 2. ส่งเสริมการมีเสถียรภาพ สันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค 3. ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์ และด้านการบริหาร 4. ส่งเสริมความร่วมมือซึ่งกันและกันในการฝึกอบรมและการวิจัย 5. ส่งเสริมความร่วมมือในด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม การค้า การคมนาคม การสื่อสาร และปรับปรุง มาตรฐานการดารงชีวิต 6. ส่งเสริมการมีหลักสูตรการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 7. ส่งเสริมความร่วมมือกับองค์กรระดับภูมิภาคและองค์กรระหว่างประเทศ ประเทศ 10 ประเทศของอาเซียน มี 1. บรูไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam) ประเทศบรูไน มีชื่อเป็นทางการว่า "เนการาบรูไนดารุสซาลาม" มีเมือง "บันดาร์เสรีเบกาวัน"เป็นเมือง หลวง ถือเป็นประเทศที่มีขนาดไม่ใหญ่นัก เพราะมีพื้นที่ประมาณ 5,765 ตารางกิโลเมตร ปกครองด้วยระบบสม บูรณาญาสิทธิราช โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มีประชากร 381,371 คน (ข้อมูลปี พ.ศ.2550) โดยประชากร เกือบ 70% นับถือศาสนาอิสลาม และใช้ภาษามาเลย์เป็นภาษาราชการ ธงชาติบรูไน ลักษณะของธงชาติมีพื้นสีเหลือง โดยมีแถบสีขาว และสีดา พาดตามแนวทแยงมุมจากด้านคันธง จรดปลายธง ซึ่งแถบสีขาวอยู่ด้านบน แถบสีดาอยู่ด้านล่าง ขณะที่กลางธงนั้น มีตราแผ่นดินของบรูไนประทับอยู่ ซึ่งสี ต่าง ๆ มีความหมาย ดังนี้ สีเหลือง หมายถึง กษัตริย์ สีขาว และสีดา หมายถึง มุขมนตรี สาเหตุที่ธงชาติบรูไนใช้สีเหลืองสื่อถึงกษัตริย์นั้น เนื่องจากธงประจาพระองค์ของสุลต่านแห่งบรูไน ใช้ธงพื้นสีเหลือง 2. ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) เมืองหลวงคือ กรุงพนมเปญ เป็นประเทศที่มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศไทยทางทิศเหนือ และทิศ ตะวันตก มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร หรือขนาดประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศไทย มีประชากร 14 ล้านคน (ข้อมูลปี พ.ศ.2550) โดยประชากรกว่า 80% อาศัยอยู่ในชนบท 95% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ใช้ภาษาเขมร เป็นภาษาราชการ แต่ก็มีหลายคนที่พูดภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส และเวียดนามได้
  • 9. ธงชาติกัมพูชา ลักษณะผืนธงแบ่งตามแนวยาวเป็น 3 ริ้ว โดยริ้วตรงกลางจะเป็นสีแดง กว้าง 2 ส่วน มี รูปปราสาทหินนครวัดสามยอดสีขาวอยู่บริเวณกึ่งกลาง ขณะที่ริ้วด้านนอกทั้ง 2 ด้าน มีสีน้าเงิน และกว้างริ้วละ 1 ส่วนเท่า ๆ กัน โดยสีต่าง และสัญลักษณ์ต่าง ๆ ของธง มีความหมาย ดังนี้ สีน้าเงิน หมายถึง กษัตริย์ สีแดง หมายถึง ชาติ ส่วนปราสาทนครวัดสีขาว หมายถึง สันติภาพ 3. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) เมืองหลวงคือ จาการ์ตา ถือเป็นประเทศหมู่เกาะขนาดใหญ่ที่สุดในโลก โดยมีพื้นที่ 1,919,440 ตาราง กิโลเมตร และมีประชากรมากถึง 240 ล้านคน (ข้อมูลปี พ.ศ.2553) โดย 61% อาศัยอยู่บนเกาะชวา ส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาอิสลาม และใช้ภาษา Bahasa Indonesia เป็นภาษาราชการ ธงชาติอินโดนีเซีย พื้นธงแบ่งเป็นสองส่วนตามแนวนอน โดยสีต่าง ๆ ของธง มีความหมาย ดังนี้ สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญ และอิสรภาพ สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ยุติธรรม 4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว - สปป ลาว (Lao People’s Democratic Republic) เมืองหลวงคือ เวียงจันทน์ ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก โดยประเทศลาวมีพื้นที่ประมาณ ครึ่งหนึ่งของประเทศไทย คือ 236,800 ตารางกิโลเมตร พื้นที่กว่า 90% เป็นภูเขาและที่ราบสูง และไม่มีพื้นที่ส่วนใด ติดทะเล ปัจจุบัน ปกครองด้วยระบอบสังคมนิยม โดยมีประชากร 6.4 ล้านคน ใช้ภาษาลาวเป็นภาษาหลัก แต่ก็มีคนที่ พูดภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาฝรั่งเศสได้ ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ธงชาติลาว ลักษณะผืนธงแบ่งตามแนวยาวออกเป็น 3 ส่วน โดยแถบตรงกลางจะเป็นสีน้าเงิน กว้าง 2 ส่วน มีพระจันทร์ทรงกลมสีขาวอยู่กึ่งกลาง ขณะที่แถบด้านนอกทั้ง 2 ด้าน มีสีแดง และกว้างริ้วละ 1 ส่วน เท่า ๆ กัน โดยสีต่าง ๆ ของธง มีความหมาย ดังนี้ สีแดง หมายถึง เลือดแห่งการต่อสู้เพื่ออิสรภาพของชาวลาว สีน้าเงิน หมายถึง ความมั่งคั่งอุดมสมบูรณ์ของชาติ พระจันทร์สีขาว หมายถึงเอกภาพของ สาเหตุที่มีดวงจันทร์ทรงกลมอยู่ตรงกลาง เนื่องจากเพื่อเป็นสัญลักษณ์สื่อถึงดวงจันทร์ลอยเด่นเหนือลาน้าโขง 5. มาเลเซีย (Malaysia) เมืองหลวงคือ กรุงกัวลาลัมเปอร์ เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในเขตศูนย์สูตร แบ่งเป็นมาเลเซียตะวันตก คาบสมุทรมลายู และมาเลเซียตะวันออก ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว ทั้งประเทศมีพื้นที่ 329,758 ตารางกิโลเมตร จานวนประชากร 26.24 ล้านคน นับถือศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจาชาติ ใช้ภาษา Bahasa Melayu เป็นภาษา ราชการ ธงชาติมาเลเซีย มีแถบสีแดงสลับสีขาวรวม 14 แถบ แต่ละแถบมีความกว้างเท่ากัน ที่มุมธงด้านคันธงมี รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีน้าเงินกว้าง 8 ใน 14 ส่วนของผืนธงด้านกว้าง และยาวกึ่งหนึ่งของผืนธงด้านยาว ภายในรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้าดังกล่าว มีเครื่องหมายพระจันทร์เสี้ยว และดาว 14 แฉก ซึ่งสี และสัญลักษณ์ ต่าง ๆ มีความหมาย ดังนี้
  • 10. แถบริ้วสีแดง และสีขาว ทั้ง 14 ริ้ว หมายถึง สถานะอันเสมอภาคของรัฐสมาชิกทั้ง 13 รัฐ ภายในประเทศ มาเลเซีย ดาว 14 แฉก หมายถึง ความเป็นเอกภาพในหมู่รัฐดังกล่าวทั้งหมด พระจันทร์เสี้ยว หมายถึง ศาสนาอิสลามอันเป็นศาสนาประจาชาติ สีเหลืองในพระจันทร์เสี้ยว และดาว 14 แฉก สื่อถึง ผู้เป็นประมุขแห่งสหพันธรัฐ สีน้าเงิน หมายถึง ความสามัคคีของชาวมาเลเซีย 6. สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า (Republic of the Union of Myanmar) มีเมืองหลวงคือ เนปิดอ ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันออก โดยทั้งประเทศมีพื้นที่ประมาณ 678,500 ตารางกิโลเมตร ประชากร 48 ล้านคน กว่า 90% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท หรือหินยาน และใช้ ภาษาพม่าเป็นภาษาราชการ ธงชาติพม่า ได้แบ่งตามความยาวออกเป็น 3 ส่วน และมีความกว้างเท่า ๆ กัน โดยแต่ละส่วน มีสีที่ แตกต่างกัน ไล่จากบนลงล่าง คือ สีเหลือง สีเขียว และสีแดง ขณะที่กึ่งกลางธงมีรูปดาว 5 แฉก สีขาวขนาดใหญ่ ซึ่งสี และสัญลักษณ์ ต่างๆ มีความหมาย ดังนี้ สีเขียว หมายถึง สันติภาพ ความสงบ และความอุดมสมบูรณ์ของพม่า สีเหลือง หมายถึง ความสามัคคี สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญ ความเข้มแข็ง เด็ดขาด ดาวสีขาว หมายถึง สหภาพอันมั่นคงเป็นเอกภาพ 7. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines) เมืองหลวงคือ กรุงมะนิลา ประกอบด้วยเกาะขนาดต่าง ๆ รวม 7,107 เกาะ โดยมีพื้นที่ดิน 298.170 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 92 ล้านคน (ข้อมูลปี พ.ศ.2553) ส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ และเป็นประเทศที่มี ประชากรนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกเป็นอันดับ 4 ของโลก มีการใช้ภาษาในประเทศมากถึง 170 ภาษา แต่ใช้ภาษาอังกฤษ และภาษาตากาลอก เป็นภาษาราชการ ธงชาติฟิลิปปินส์ ด้านต้นธงเป็นรูปสามเหลี่ยมสีขาว เป็นเครื่องหมายแทนความเสมอภาค และภราดร ภาพ ซึ่งภายในสามเหลี่ยมสีขาว ประกอบด้วย ดวงอาทิตย์รัศมี 8 แฉก ล้อมด้วยดาว 5 แฉก จานวน 3 ดวง และ ตั้งอยู่ตามมุมของรูปสามเหลี่ยม ซึ่งสัญลักษณ์ทั้งหมด ล้วนเป็นสีทอง ส่วนด้านที่เหลือของธง ได้แบ่งครึ่งตามความยาว โดยแถบบนมีสีน้าเงิน และแถบล่างมีสีแดง ทั้งนี้ หากแถบทั้งสองสีดังกล่าว ได้มีการสลับตาแหน่งกัน คือ แถบสีแดงอยู่ด้านบน แถบสีน้าเงินอยู่ ด้านล่าง แสดงว่า ขณะนั้นประเทศฟิลิปปินส์กาลังอยู่ในภาวะสงคราม ส่วนสี และสัญลักษณ์ ต่างๆ มีความหมาย ดังนี้ สีน้าเงิน หมายถึง สันติภาพ สัจจะ และความยุติธรรม สีแดง หมายถึง ความรักชาติ และความมีคุณค่า ดวงอาทิตย์มีรัศมี 8 แฉก หมายถึง 8 จังหวัดแรกของประเทศ ที่มีความพยายาม ในการเรียกร้องเอกราช จากประเทศสเปน กระทั่งเกิดการปฏิวัติในปี พ.ศ. 2439 ดาวสามดวง หมายถึง การแบ่งพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของประเทศออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ ๆ ได้แก่ เกาะลู ซอน เกาะมินดาเนา และหมู่เกาะวิสายัน
  • 11. 8. สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore) เมืองหลวงคือ กรุงสิงคโปร์ ตั้งอยู่บนตาแหน่งยุทธศาสตร์ที่เป็นศูนย์กลางคมนาคมทางเรือของอาเซียน จึงเป็นประเทศที่มีการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจมากที่สุดในย่านนี้ แม้จะมีพื้นที่ราว 699 ตารางกิโลเมตรเท่านั้น มี ประชากร 4.48 ล้านคน ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ แต่มีภาษามาเลย์เป็นภาษาประจาชาติ ปัจจุบันใช้การ ปกครองแบบสาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีสภาเดียว) ธงชาติสิงคโปร์ ประกอบด้วยแถบสองสีแบ่งครึ่งกลางธง แถบสีแดงอยู่ด้านบน แถบสีขาวอยู่ด้านล่าง ที่ มุมด้านบนของคันธง เป็นรูปพระจันทร์เสี้ยว ถัดจากรูปดังกล่าวมีดาว 5 แฉก จานวน 5 ดวง เรียงเป็นรูปห้าเหลี่ยม ด้านเท่า โดยรูปพระจันทร์เสี้ยว และดาว 5 แฉก ต่างมีสีขาว ซึ่งสี และสัญลักษณ์ ต่างๆ มีความหมาย ดังนี้ สีแดง หมายถึง ภราดรภาพ และความเสมอภาคของมนุษย์โดยทั่วหน้า สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ และความดีงามที่แพร่หลาย และคงอยู่ตลอดกาล รูปพระจันทร์เสี้ยว ซึ่งเป็นจันทร์เสี้ยวข้างขึ้น หมายถึง ความเป็นชาติใหม่ที่ถือกาเนิดขึ้น ดาว 5 ดวง หมายถึง อุดมคติ 5 ประการของชาติ ได้แก่ ประชาธิปไตย สันติภาพ ความก้าวหน้า ความ ยุติธรรม และความเสมอภาค 9. ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) เมืองหลวงคือกรุงเทพมหานคร มีพื้นที่ 513,115.02 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย 77 จังหวัด มี ประชากร 65.4 ล้านคน (ข้อมูลปี พ.ศ.2553) ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ และใช้ภาษาไทยเป็นภาษาราชการ ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นองค์ประมุขของประเทศ ธงชาติไทย ประกอบด้วย 3 สีหลัก ได้แก่ สีแดง สีขาว และสีน้าเงิน มีการแบ่งเป็นริ้วจานวน 5 แถบ ซึ่ง แถบในสุดเป็นสีน้าเงิน ถัดมาด้านนอกทั้งด้านบน ด้านล่าง เป็นสีขาว และสีแดงตามลาดับ ทั้งนี้ แถบสีน้าเงินมีขนาด ใหญ่กว่าแถบสีอื่นเป็น 2 เท่า ส่วนสีต่าง ๆ มีความหมาย ดังนี้ สีแดง หมายถึง ชาติ สีขาว หมายถึง ศาสนา สีน้าเงิน หมายถึง พระมหากษัตริย์ อย่างไรก็ตาม มีการเรียกชื่อธงนี้ว่า ธงไตรรงค์ (ไตร = สาม, รงค์ = สี) เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์ "เครื่องหมายแห่งไตรรงค์" ไว้เมื่อ พ.ศ. 2464 โดย สีแดง หมายถึง เลือดอันยอมพลีให้แก่ชาติ สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์แห่งพระพุทธศาสนา และธรรมะ สีน้าเงิน หมายถึง สีส่วนพระองค์ขององค์พระมหากษัตริย์ แม้นิยามดังกล่าวจะไม่ใช่คาอธิบายที่ทรงประกาศใช้อย่างเป็นทางการ แต่ทั้งสามสิ่งนี้คืออุดมการณ์รัฐที่พระองค์ ทรงปลูกฝัง เพื่อให้คนไทยเกิดสานึกความเป็นชาตินิยมมาตลอด 10. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam) เมืองหลวงคือ กรุงฮานอย มีพื้นที่ 331,689 ตารางกิโลเมตร จากการสารวจถึงเมื่อปี พ.ศ.2553 มี ประชากรประมาณ 88 ล้านคน ประมาณ 25% อาศัยอยู่ในเขตเมือง ส่วนใหญ่ร้อยละ 70 นับถือศาสนาพุทธนิกาย มหายาน ที่เหลือนับถือศาสนาคริสต์ ปัจจุบัน ปกครองด้วยระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์
  • 12. ธงชาติเวียดนาม พื้นธงเป็นสีแดงล้วน ตรงกึ่งกลางมีรูปดาว 5 แฉก สีเหลืองทอง เป็นที่เข้าใจกันทั่วไปว่า หมายถึงชนชั้นต่าง ๆ ในสังคมเวียดนาม คือ นักปราชญ์ ชาวนา ช่างฝีมือ พ่อค้า และทหาร ส่วนสีต่าง ๆ มีความหมาย ดังนี้ สีแดง หมายถึง การต่อสู้เพื่อกู้เอกราชของชาวเวียดนาม สีเหลือง หมายถึง ชาวเวียดนาม อย่างไรก็ตาม ภายหลังการรวมชาติเวียดนามในปี พ.ศ. 2519 ความหมายในธงได้มีการอธิบายใหม่ในทางการเมืองว่า สีแดง หมายถึง การปฏิวัติโดยชนชั้นกรรมาชีพ ดาวสีทอง หมายถึง การชี้นาของพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม [อาเซียน 10 ประเทศ .[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http ://www.Thai-aec.com (วันที่ค้นข้อมูล : 17 พฤษจิกายน 2557). ] สุทัศน์ สังคะพันธ์ ,ศิริทรัพย์ สังคะพันธ์ (2556) . "อาณาจักรอาเซียน" . กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์อมริทร์ ผลกระทบของประชาคมอาเซียนต่อไทย ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community : APSC) นั้น เรื่อง สาคัญคือ ความร่วมมือในด้านสิทธิมนุษยชน และความร่วมมือในประเด็นความมั่นคงในรูปแบบใหม่ ได้แก่ อาชญากรรมข้ามชาติ การค้ามนุษย์ข้ามชาติ การค้ายาเสพติดข้ามชาติ และปัญหาภัยพิบัติ เป็นต้น สาหรับผลกระทบ ของ APSC ต่อไทยนั้น ในด้านความร่วมมือสิทธิมนุษยชน ผลกระทบในเชิงบวกคือ ความร่วมมือในอาเซียนในการ ส่งเสริมประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน จะเพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ผลกระทบในเชิงลบ คือ แม้ว่าจะมีความ ร่วมมือในด้านนี้มากขึ้น แต่ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนก็คงจะเพิ่มมากขึ้นด้วย ซึ่งโยงไปถึงเรื่องการค้ามนุษย์ การ กดขี่แรงงานต่างด้าว นอกจากนั้น ยังอาจจะเกิดปัญหาเรื่องการย้ายถิ่นฐานของคนในภูมิภาค ซึ่งอาจจะนาไปสู่ปัญหา อื่นๆ ตามมา สาหรับประเด็นความมั่นคงในรูปแบบใหม่นั้น ผลกระทบในเชิงบวกคือ ความร่วมมือในการจัดการกับปัญหา เหล่านี้จะเพิ่มมากขึ้น อาทิ มีการกาหนดมาตรการด้านการค้ามนุษย์ การกาหนดมาตรการเพื่อให้อาเซียนปลอดยาเสพ ติด และกลไกแก้ไขข้อพิพาทโดยสันติวิธี อย่างไรก็ตาม ผลกระทบในเชิงลบได้แก่ ไทยจะต้องเผชิญกับปัญหาความ มั่นคงรูปแบบใหม่และความท้าทายข้ามแดนมากขึ้น เช่น อาชญากรรมข้ามชาติ การค้ามนุษย์ เครือข่ายการค้ายาเสพ ติดข้ามชาติ และอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ การเคลื่อนย้ายแรงงานโดยเสรี อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อ ความสงบสุข และความมั่นคงภายในประเทศ ปัญหาจากกลุ่มก่อการร้าย และอาชญากรรมข้ามชาติ แสวงประโยชน์ จากการเปิดและเคลื่อนย้ายเสรี ทาให้การป้องกันและปราบปรามมีความยุ่งยากและซับซ้อนมากขึ้น ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน สาหรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) นั้น เน้นการทาให้ อาเซียนเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว โดยมีการเปิดเสรีใน 5 ด้านด้วยกัน คือ การเปิดเสรีการค้าสินค้า การเปิดเสรี การค้าภาคบริการ การเปิดเสรีด้านการลงทุน การเปิดเสรีการเคลื่อนย้ายเงินทุน และการเปิดเสรีการเคลื่อนย้าย แรงงานมีฝีมือ
  • 13. ภาพรวม สาหรับผลกระทบในภาพรวมนั้น ผลกระทบในเชิงบวกคือ เมื่อเกิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ขึ้น จะทาให้ตลาดมีขนาดใหญ่และหลากหลาย สามารถรองรับผลผลิตที่มีคุณภาพแตกต่างกัน ประชาชนมี ทางเลือกสินค้าและบริการมากขึ้น ความร่วมมือและปฏิสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างไทยกับประเทศสมาชิกอาเซียน มากขึ้น และไทยจะกลายเป็นศูนย์กลางทางด้านเศรษฐกิจของอาเซียน โดยเฉพาะในสาขาที่ไทยมีความได้เปรียบและ พร้อม อย่างไรก็ตาม ผลกระทบในเชิงลบของ AEC ต่อไทย คือ การแข่งขันทางการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว จะเพิ่มขึ้นในอาเซียน และเกิดการแข่งขันเพื่อเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ ระหว่างไทยกับประเทศสมาชิกอาเซียน ด้วยกันเอง สาหรับผลกระทบในภาพรวมนั้น ผลกระทบในเชิงบวกคือ เมื่อเกิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ขึ้น จะทาให้ตลาดมีขนาดใหญ่และหลากหลาย สามารถรองรับผลผลิตที่มีคุณภาพแตกต่างกัน ประชาชนมีทางเลือก สินค้าและบริการมากขึ้น ความร่วมมือและปฏิสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างไทยกับประเทศสมาชิกอาเซียนมากขึ้น และไทยจะกลายเป็นศูนย์กลางทางด้านเศรษฐกิจของอาเซียน โดยเฉพาะในสาขาที่ไทยมีความได้เปรียบและพร้อม อย่างไรก็ตาม ผลกระทบในเชิงลบของ AEC ต่อไทย คือ การแข่งขันทางการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว จะ เพิ่มขึ้นในอาเซียน และเกิดการแข่งขันเพื่อเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ ระหว่างไทยกับประเทศสมาชิกอาเซียนด้วยกัน เอง การเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี ผลกระทบในเชิงบวกต่อไทย ที่สาคัญมี 3 ประการ คือ - สินค้าที่ไทยมีความ ได้เปรียบ เช่น น้าตาล ผัก และผลไม้กระป๋อง อาหารแช่แข็ง กระดาษและสิ่งพิมพ์ ยานยนต์และชิ้นส่วน เครื่องจักร เนื้อสัตว์แปรรูป เครื่องสาอาง ผลิตภัณฑ์เหล็ก อัญมณี ข้าว สิ่งทอ ยางพารา และเม็ดพลาสติก จะมีโอกาสส่งออกไป ยังตลาดอาเซียนมากขึ้น การมีอานาจต่อรองที่มากขึ้น การรวมตัวกันของประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ ได้ก่อให้เกิดตลาดในภูมิภาค ที่มี ประชากรกว่า 600 ล้านคน การรวมตัวเป็นประชาคมจึงทาให้เกิดอานาจการต่อรองทางการค้ากับกลุ่มเศรษฐกิจใน ภูมิภาคอื่นๆ เป็นการกระตุ้นให้ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมหรือ SME ต้องเร่งพัฒนาฝีมือ ตลอดทั้งสินค้า และบริการ ให้ได้คุณภาพมาตรฐาน พร้อมที่จะต่อสู้ในการค้าการบริการในระดับระหว่างประเทศ อย่างไรก็ตาม ผลกระทบในเชิงลบ จากการเปิดเสรีการค้าสินค้าใน AEC ต่อไทย ที่สาคัญคือ สินค้าที่ไทยเสียเปรียบและไม่พร้อมที่จะ แข่งขันกับประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นๆ อาทิ ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลังและแป้งมัน และอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ อาจ ประสบปัญหาในการแข่งขันกับต่างประเทศ ดังนั้น ธุรกิจที่ไม่พร้อมและเสียเปรียบ อาจประสบปัญหาถึงขั้นต้องปิด กิจการ การเคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี สาหรับผลกระทบในเชิงบวกต่อไทยคือ ธุรกิจบริการด้านการศึกษานานาชาติ ภาพยนตร์ ธุรกิจการจัดประชุม (MICE) การท่องเที่ยว บริการสุขภาพ สปาและนวดแผนไทย และบริการโทรคมนาคม จะมีความได้เปรียบ และมีโอกาสขยายธุรกิจไปในอาเซียนมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ผลกระทบในเชิงลบต่อไทยคือ ธุรกิจ บริการที่ไทยเสียเปรียบและไม่พร้อมในการแข่งขัน อาทิ ธุรกิจบริการโลจิส ติกส์ และธุรกิจการให้บริการก่อสร้าง อาจจะประสบปัญหาถึงขั้นต้องปิดกิจการ เนื่องจากความไม่พร้อมของระบบโครงสร้างพื้นฐาน บุคลากร และ เทคโนโลยี การเคลื่อนย้ายการลงทุนเสรี สาหรับผลกระทบในเชิงบวกคือ การเคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรีในอาเซียน จะ ทาให้ธุรกิจไทยมีโอกาสมากขึ้น ในการย้ายฐานการผลิต และการลงทุนไปยังประเทศอาเซียน นอกจากนี้ เนื่องจาก ขนาดของประชากรที่มีมากกว่า 600 ล้านคน และการที่อาเซียนจะเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว จะเป็นแรงจูงใจ
  • 14. ให้ประเทศนอกอาเซียนสนใจมาลงทุนในภูมิภาคอาเซียนและในไทยมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ผลกระทบในเชิงลบก็มี โดยเฉพาะจะมีการลงทุนจากธุรกิจของประเทศสมาชิกอาเซียนเข้ามาในไทยมากขึ้น ทาให้เกิดการแข่งขันสูงขึ้น การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี สาหรับผลกระทบในเชิงบวกต่อไทยคือ แรงงานมีฝีมือของไทยจะมีโอกาสทางานใน ประเทศสมาชิกอาเซียนมากขึ้น นอกจากนี้ ไทยจะมีแรงงานมีฝีมือที่มาจากประเทศสมาชิกอาเซียน มาช่วยในการ พัฒนาและขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยเพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ผลกระทบในเชิงลบคือ แม้ว่าจะยังไม่มีการเปิดเสรีแรงงานไร้ฝีมือ แต่จากการที่มีการเคลื่อนย้ายบุคคล ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนง่ายขึ้น อาจทาให้ปัญหาแรงงานไร้ฝีมือผิดกฎหมายในไทยเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ การ เปิดเสรีแรงงานมีฝีมือ จะมีแรงงานจากประเทศสมาชิกอาเซียนเข้ามาแข่งขันในตลาดแรงงานในไทยมากขึ้น ซึ่งจะมีผล ต่อการประกอบอาชีพของคนไทย ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน สาหรับประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC) นั้น เรื่อง สาคัญคือ ความร่วมมือในการพัฒนามนุษย์ การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม ความยุติธรรมและสิทธิทางสังคม ด้าน สิ่งแวดล้อม และการสร้างอัตลักษณ์อาเซียน การพัฒนามนุษย์ เรื่องสาคัญคือ ความร่วมมือในด้านการศึกษาระหว่างประเทศอาเซียน ซึ่งจะส่งผลกระทบ ในเชิงบวกต่อไทยคือ ประชาชนคนไทยมีโอกาสในการเรียนรู้เกี่ยวกับประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียนมากขึ้น รวมทั้ง สถานศึกษามีการปรับตัวเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน นอกจากนี้ แรงงานในประเทศไทยจะมีโอกาสในการพัฒนา ตนเอง เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันกับแรงงานในประเทศอาเซียนอื่นๆ อย่างไรก็ตาม ผล กระทบในเชิงลบต่อ ไทยคือ ประเทศไทยจะต้องปรับตัวเพื่อรองรับการกาหนดมาตรฐานแรงงานของอาเซียน ซึ่งอาจมีความแตกต่างจาก มาตรฐานที่ใช้อยู่ภายในประเทศ การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม ผลกระทบในเชิงบวกต่อไทยคือ ภาครัฐจะให้ความสาคัญกับสวัสดิการสังคมมากขึ้น เพื่อให้เป็นไปตามกรอบความร่วมมือของประชาคมอาเซียน นอกจากนี้ จะมีความร่วมมือในการคุ้มครองและ สวัสดิการสังคมเพิ่มมากขึ้นระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งจะเป็นผลดีต่อไทย อย่างไรก็ตาม ผลกระทบในเชิงลบ คือ การรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนอาจส่งผลให้ปัญหาสังคมในด้านต่างๆ เพิ่มมากขึ้น และประเทศไทยจะต้องมี ภาระค่าใช้จ่ายด้านสวัสดิการสังคมเพิ่มขึ้น ความยุติธรรมและสิทธิทางสังคม ผลกระทบในเชิงบวกคือ ความร่วมมือในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิ และสวัสดิการสาหรับ สตรี เด็ก ผู้สูงอายุ และผู้พิการ จะเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะมีความร่วมมือเพิ่มมากขึ้น แต่ ปัญหาในการละเมิดสิทธิและสวัสดิการ กลุ่มคนเหล่านี้ อาจจะเพิ่มตามไปด้วย ด้านสิ่งแวดล้อม ผลกระทบในเชิงบวกคือ ความร่วมมือในการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศสมาชิก อาเซียนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะทาให้การจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมในประเทศไทยมีแนวโน้มดีขึ้น แต่ผลกระทบในเชิงลบคือ แม้ว่าจะมีความร่วมมือเพิ่มมากขึ้น แต่ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมอาจจะเพิ่มขึ้นตามไปด้วย โดยเฉพาะปัญหาจากมลพิษ ของเสียข้ามแดน
  • 15. การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน ผลกระทบในเชิงบวกคือ ความร่วมมือด้านวัฒนธรรมระหว่างไทยกับประเทศ สมาชิกอาเซียนเพิ่มมากขึ้น และความพยายามในการแสวงหา และสร้างอัตลักษณ์อาเซียนเพิ่มมากขึ้น แต่สาหรับ ผลกระทบในเชิงลบคือ ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการสร้างอัตลักษณ์อาเซียนว่า จะทาให้อัตลักษณ์ของไทยถูกกลืนไป ดังนั้น ความเข้าใจผิดดังกล่าวอาจนาไปสู่กระแสการต่อต้านความพยายามในการสร้างอัตลักษณ์อาเซียนร่วมกัน [รศ.ดร.ประภัสสร์ เทพชาตรี .[ออนไลน์]. “ ผลกระทบของประชาคมอาเซียนต่อไทย” เข้าถึงได้จาก : http://www.castu.org/view/id/5331934db4f2d3b378000003 (วันที่ค้นข้อมูล : 17 พฤษจิกายน 2557).]
  • 16. บทที่ 3 วิธีศึกษาค้นคว้า วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการดาเนินชีวิตของคนไทยเมื่อประชาคมอาเซียนเข้าสู่ประเทศไทย 2. เพื่อเตรียมตัวรับมือกับประชาคมอาเซียน 3. เพื่อศึกษาปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ประชาการกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ผู้ปกครองของนักเรียนชั้น ม. 5 และ ม.6 โรงเรียนประชาบารุง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสอบถาม(Questionnaire) ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูลโดยการทบทวนแนวคิดทฤษฎีและผล งานวิจัยที่เกี่ยวข้องแล้วนามาปรับปรุงใช้ให้เหมาะสมกับการศึกษาวิจัยใน ครั้งนี้แบ่งเนื้อหาของคาถามออกเป็น 2 ส่วนดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถามเช่น เพศ อายุ ส่วนที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน การเตรียมตัวรับมือกับประชาคมอาเซียน การเก็บรวบรวมข้อมูล 1.กาหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา 2.นามารวบรวมข้อมูล 3.ตรวจสอบข้อมูล 4.วิเคราะห์ข้อมูล 5.เรียบเรียงและเสนอ การวิเคราะห์ข้อมูล หลังจากเก็บข้อมูลครบถ้วนแล้ว ผู้วิจัยได้นามาดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ 1. นาแบบสอบถามทั้งหมดมาตรวจสอบความสมบูรณ์และคัดเลือกแบบสอบถามที่มีความสมบูรณ์เพียง พอที่จะมาประมวลผลได้ 2. นาไปประมวลผล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) เพื่อใช้บรรยายลักษณะข้อมูลที่เก็บมาได้ โดยใช้ค่าสถิติในการ วิเคราะห์ ได้แก่ การแจกแจงความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation)
  • 17. บทที่4 ผลการศึกษาค้นคว้า ในการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการดาเนินชีวิตของคนไทย เมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เมื่อได้ข้อมูลที่แน่นอน แล้วนาข้อมูลมาทาเป็นแบบสอบถาม โดยแบบสอบถามจานวน 30 ชุดนี้ เราจะให้กับผู้ปกครองของนักเรียนชั้น ม. 5 และ ม.6 โรงเรียนประชาบารุง จานวน 30 คน เป็นผู้ตอบแบบสอบถาม หลังจากนั้นก็นาข้อมูลจากแบบสอบถามที่ ได้มานั้นมาหาค่าเฉลี่ย ผลปรากฏว่า ดังตาราง ตารางสรุปผลแบบสารวจและแบบสอบถาม รายการ ความคิดเห็น ค่าเฉลี่ย ผลสรุปมากที่สุด (5) มาก (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) น้อยที่สุด (1) 1.ประชาคมอาเซียนมีประโยชน์ต่อประเทศไทยมากแค่ ไหน 12 12 6 - - 4.2 มาก 2.ด้านการศึกษาจะดีขึ้นมากแค่ไหน 6 13 8 3 - 3.73 มาก 3. ด้านเศรษฐกิจในประเทศจะดีขึ้นมากแค่ไหน 8 14 6 2 - 3.93 มาก 4. ส่งผลต่อการคมมาคมภายในประเทศมากแค่ไหน 10 14 6 - - 4.13 มาก 5. สภาพสังคมจะดีขึ้นกว่าเดิม 4 10 12 14 - 3.43 ปาน กลาง 6. ปัญหาการว่างงานเยอะขึ้นมากแค่ไหน 12 11 7 - - 4.16 มาก 7. ความพึงพอใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 3 6 14 7 - 3.16 ปาน กลาง 8. ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 3 9 10 7 1 3.2 ปาน กลาง 9. การดาเนินชีวิตประจาวันจะสะดวกสบายกว่าเดิม - 9 10 11 - 2.93 ปาน กลาง 10. อนาคตของอาเซียนจะพัฒนามากแค่ไหน 2 9 11 7 1 3.13 ปาน กลาง
  • 18. ตารางสรุปผลค่าเฉลี่ยจากแบบสอบถาม จากตารางได้ข้อสรุปว่าประชาชนส่วนใหญ่นั่น ส่วนใหญ่พึงพอใจกับการที่ประชาคมอาเซียนเข้ามาสู่ประเทศ ไทย โดยเฉพาะในข้อ ประชาคมอาเซียนมีประโยชน์ต่อประเทศไทยมากแค่ไหน ด้านการศึกษาจะดีขึ้นมากแค่ไหน ด้านเศรษฐกิจในประเทศจะดีขึ้นมากแค่ไหน ส่งผลต่อการคมนาคมภายในประเทศมากแค่ไหน ปัญหาการว่างงาน เยอะขึ้นมากแค่ไหน เป็นข้อที่ประชาชนส่วนใหญ่ให้ข้อสรุปไว้ว่า “มาก” นอกจากนั่นหัวข้อ สภาพสังคมจะดีขึ้น กว่าเดิม ความพึงพอใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน การดาเนินชีวิตประจาวันจะ สะดวกสบายกว่าเดิม อนาคตของอาเซียนจะพัฒนามากแค่ไหน เป็นหัวข้อที่ประชาชน 30 คนให้ข้อสรุปไว้ว่า "ปาน กลาง" ค่าเฉลี่ย ความหมาย 4.50 – 5.00 มากที่สุด 3.50 – 4.49 มาก 2.50 – 3.49 ปานกลาง 1.50 – 2.49 น้อย 1.00 – 1.49 น้อยที่สุด
  • 19. บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผลการประเมิน จากตารางได้ข้อสรุปว่าประชาชนส่วนใหญ่นั่น ส่วนใหญ่พึงพอใจกับการที่ประชาคมอาเซียนเข้ามาสู่ ประเทศไทย โดยเฉพาะในข้อ ประชาคมอาเซียนมีประโยชน์ต่อประเทศไทยมากแค่ไหน ด้านการศึกษาจะดีขึ้นมากแค่ ไหน ด้านเศรษฐกิจในประเทศจะดีขึ้นมากแค่ไหน ส่งผลต่อการคมนาคมภายในประเทศมากแค่ไหน ปัญหาการ ว่างงานเยอะขึ้นมากแค่ไหน เป็นข้อที่ประชาชนส่วนใหญ่ให้ข้อสรุปไว้ว่า “มาก” นอกจากนั่นหัวข้อ สภาพสังคมจะดี ขึ้นกว่าเดิม ความพึงพอใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน การดาเนินชีวิตประจาวันจะ สะดวกสบายกว่าเดิม อนาคตของอาเซียนจะพัฒนามากแค่ไหน เป็นหัวข้อที่ประชาชน 30 คนให้ข้อสรุปไว้ว่า “ปาน กลาง” ปัญหาและอุปสรรคในการค้นคว้า - ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา - การประเมินผลงานชิ้นนี้สามารถนาไปต่อยอดได้อีก เช่น นาแบบประเมินไปทดสอบเกี่ยวกับประชาคม อาเซียน กับประชาชนทั่วประเทศ
  • 20. อ้างอิง อาเซียน 10 ประเทศ .[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http ://www.Thai-aec.com (วันที่ค้นข้อมูล : 17 พฤษจิกายน 2557). การปรับตัวต่อประชาคมอาเซียน .[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.facebook.com/thailandaec (วันที่ค้นข้อมูล : 17 พฤษจิกายน 2557) สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ .[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/ สมาคมประชาชาติแห่ง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (วันที่ค้นข้อมูล : 17 พฤษจิกายน 2557) ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน .[ออนไลน์]. http://www.lampangvc.ac.th/lvcasean/page_asean.htm (วันที่ค้นข้อมูล : 18 พฤษจิกายน 2557) รศ.ดร.ประภัสสร์ เทพชาตรี .[ออนไลน์]. “ ผลกระทบของประชาคมอาเซียนต่อไทย” เข้าถึงได้จาก : http://www.castu.org/view/id/5331934db4f2d3b378000003 (วันที่ค้นข้อมูล : 18 พฤษจิกายน 2557). สุทัศน์ สังคะพันธ์ ,ศิริทรัพย์ สังคะพันธ์ (2556) . "อาณาจักรอาเซียน" . กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์อมริทร์,
  • 22. ธงอาเซียน Kingdom of Thailand (ราชอาณาจักรไทย) Socialist Republic of Vietnam (สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม) Republic of the Philippines (สาธารณรัฐฟิลิปปินส์)
  • 23. Republic of the Union of Myanmar (สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า) Kingdom of Cambodia (ราชอาณาจักรกัมพูชา) Lao People’s Democratic Republic (สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ) Republic of Singapore (สาธารณรัฐสิงคโปร์)
  • 24. Malaysia (มาเลเซีย) Brunei Darussalam (บรูไน ดารุสซาลาม) Republic of Indonesia (สาธารณรัฐอินโดนีเซีย)
  • 25. คาชี้แจง แบบสอบถาม 1.โปรดเติมเครื่องหมาย  และกรอกข้อความให้สมบูรณ์ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 1. เพศ  ชาย  หญิง 2. สถานะ  นักศึกษา  อาจารย์  บุคลากร  ประชาชนทั่วไป  โปรดระบุ …………………… 3. สังกัดคณะ/สานัก /สถาบัน /หน่วยงาน ………………………………………………………………………………….… 4. วุฒิการศึกษา ต่ากว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี 5. อายุ ต่ากว่า 20 ปี -40 ปี ปีขึ้นไป ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจต่อโครงการ ระดับ 5 = มากที่สุดหรือดีมาก 4 = มากหรือดี 3 = ปานกลางหรือพอใช้ 2 = น้อยหรือต่ากว่ามาตรฐาน 1 = น้อยที่สุดหรือต้องปรับปรุงแก้ไข รายการ ความคิดเห็น มากที่สุด (5) มาก (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) น้อยที่สุด (1) 1.ประชาคมอาเซียนมีประโยชน์ต่อประเทศไทยมากแค่ไหน 2. ด้านการศึกษาจะดีขึ้นมากแค่ไหน 3. ด้านเศรษฐกิจในประเทศจะดีขึ้นมากแค่ไหน 4. ส่งผลต่อการคมมาคมภายในประเทศมากแค่ไหน 5. สภาพสังคมจะดีขึ้นกว่าเดิม 6. ปัญหาการว่างงานเยอะขึ้นมากแค่ไหน 7. ความพึงพอใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 8. ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 9. การดาเนินชีวิตประจาวันจะสะดวกสบายกว่าเดิม 10. อนาคตของอาเซียนจะพัฒนามากแค่ไหน แบบสอบถามประชาคมอาเซียนกับคนไทย โรงเรียนประชาบารุง(อุทิตกิจจาทร) 