SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 2
ข้อเข่าเสื่อมหรือโรคข้อเข่าเสื่อมเป็นภาวะที่
ข้อเข่าผ่านการใช้งานมาเป็นเวลานาน เกิดการ
เสื่อมของข้อ ทาให้มีการงอกของกระดูกเวลาเดิน
จะเจ็บข้อ มีการผิดรูปของข้อเข่า โรคข้อเข่าเสื่อม
มักพบในผู้สูงอายุ มักเกิดจากการเสื่อมสภาพตาม
ธรรมชาติ ของกระดูก และ กระดูกอ่อนผิวข้อ
 ปวดข้อเข่า รู้สึกเมื่อย ตึงที่น่องและข้อพับเข่า
 รู้สึกว่าข้อเข่าขัดๆ เคลื่อนไหวข้อได้ไม่เต็มที่
 มีเสียงดังในข้อ เวลาขยับเคลื่อนไหวข้อเข่า
 ข้อเข่าบวม มีน้าในข้อ
 เข่าคดผิดรูปร่าง หรือ เข่าโก่ง
 อายุ อายุมากมีโอกาสเป็นมากเนื่องจากอายุ
การใช้งานมาก
 เพศหญิงจะเป็นโรคเข่าเสื่อมมากกว่าผู้ชาย 2
เท่า
 น้าหนัก ยิ่งน้าหนักตัวมากข้อเข่าจะเสื่อมเร็ว
 การใช้ข้อเข่า ผู้ที่นั่งยองๆ นั่งขัดขัดสมาธิ
หรือนั่งพับเพียบนานๆจะพบข้อเข่าเสื่อมเร็ว
 การได้รับบาดเจ็บบริเวณข้อเข่า ผู้ที่ได้รับ
อุบัติเหตุจะเกิดข้อเข่าเสื่อมได้
 ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและกระดูก ผู้ที่
ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอและได้รับ
แคลเซียมในปริมาณที่พอเพียงจะชะลอการ
เสื่อมของเข่า
 การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในชีวิตประจาวัน
 ทากายภาพบาบัด
 การกินยาแก้ปวดลดการอักเสบ
 การผ่าตัด เพื่อจัดแนวกระดูกใหม่
 การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม
ในปัจจุบันยังไม่สามารถรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม
ให้หายขาดได้ จุดมุ่งหมายในการรักษาทุกวิธีก็คือ
ลดอาการปวด ทาให้เคลื่อนไหวข้อได้ดีขึ้น ป้องกัน
หรือแก้ไขการผิดรูปร่างของข้อ เพื่อให้ผู้ป่วย
สามารถดาเนินชีวิตประจาวันหรือทางานได้เป็น
ปกติ
แนวทางการรักษาปัจจัยที่ทาให้เกิดข้อเข่าเสื่อม
อาการที่สาคัญ
โรคข้อเข่าเสื่อม
1. เมื่อมีอาการปวดเข่าจากข้อเสื่อม ควรใช้
กระเป๋าน้าร้อนประคบ รอบๆเข่า นาน 15 -
30 นาที วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น
2. ลดน้าหนักตัว เพราะจะทาให้เข่าแบกรับ
น้าหนักน้อยลง การเสื่อมของเข่าก็จะช้าลง
3. ไม่ควรนั่งพับเพียบ นั่งขัดสมาธิ นั่งคุกเข่า นั่ง
ยองๆ เพราะท่าดังกล่าวจะทาให้ข้อเข่าเสียด
สีกันและเสื่อมเร็วขึ้น
4. ควรนั่งถ่ายบนโถนั่งชักโครก หรือ ใช้เก้าอี้ที่มี
รูตรงกลาง วาง ไว้เหนือคอ ควรทาที่จับ
บริเวณด้านข้างโถนั่ง เพื่อใช้จับพยุงตัว เวลา
จะลงนั่งหรือจะลุกขึ้นยืน
5. ที่นอนบนเตียง ควรมีความสูงระดับเข่า ซึ่ง
เมื่อนั่งห้อยขาที่ขอบเตียงแล้วฝ่าเท้าจะแตะ
พื้นพอดี ไม่ควรนอนบนพื้นเพราะต้องงอเข่า
เวลาจะนอนหรือ จะลุกขึ้น ทาให้ผิวข้อเสียดสี
กันมากขึ้น
6. หลีกเลี่ยงการยืนหรือนั่งในท่าเดียวนาน ๆ ถ้า
จาเป็นควรเปลี่ยนท่าหรือขยับ เหยียด-งอ ข้อ
เข่าอยู่เรื่อยๆ
7. ไม่ควรเดินบนทางเดินที่ขรุขระเพราะจะทาให้
น้าหนักตัว ลงไปที่เข่าเพิ่มมากขึ้น และอาจจะ
เกิดอุบัติเหตุหกล้มได้ง่าย
8. ควรใช้ไม้เท้าช่วยพยุงตัว เวลาเดิน ซึ่งจะช่วย
รับน้าหนักตัว ทาให้เดินได้มั่นคง และเจ็บ
น้อยลง
9. ออกกาลังกล้ามเนื้อเข่าเป็นประจา เพื่อให้
กล้ามเนื้อ และเอ็นรอบเข่าแข็งแรง เพิ่มความ
ทนทานในการใช้งาน ช่วยป้องกันและลด
ความพิการที่อาจเกิดขึ้นกับข้อเข่า
การบริหารเข่า
ที่มา : นพ.พนมกร ดิษฐสุวรรณ์
ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ
โรคข้อเข่าเสื่อม
Osteoarthritis of the Knee
วิธีการดูแลรักษาตนเอง
สารพันปัญหา
กระดูก ไขข้อ ข้อต่อ เอ็น

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กOzone Thanasak
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuipiyarat wongnai
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานjinchuta7
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุSiwaporn Khureerung
 
Pain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesPain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesAphisit Aunbusdumberdor
 
กายภาพบำบัดในความดันโลหิตสูง(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในความดันโลหิตสูง(รพ.ทัพทัน)กายภาพบำบัดในความดันโลหิตสูง(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในความดันโลหิตสูง(รพ.ทัพทัน)Sureerut Physiotherapist
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจWan Ngamwongwan
 

La actualidad más candente (20)

คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
 
Pain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesPain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nurses
 
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
 
Ppt.DLP
Ppt.DLPPpt.DLP
Ppt.DLP
 
กายภาพบำบัดในความดันโลหิตสูง(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในความดันโลหิตสูง(รพ.ทัพทัน)กายภาพบำบัดในความดันโลหิตสูง(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในความดันโลหิตสูง(รพ.ทัพทัน)
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจ
 

Destacado

Lifestyle and Knee Osteoarthritis
Lifestyle and Knee OsteoarthritisLifestyle and Knee Osteoarthritis
Lifestyle and Knee OsteoarthritisThira Woratanarat
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคข้อเข่าเสื่อม
คู่มือการดูแลตนเอง โรคข้อเข่าเสื่อมคู่มือการดูแลตนเอง โรคข้อเข่าเสื่อม
คู่มือการดูแลตนเอง โรคข้อเข่าเสื่อมUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือเข่าเสื่อม(Ptจ.อุทัยธานี)
คู่มือเข่าเสื่อม(Ptจ.อุทัยธานี)คู่มือเข่าเสื่อม(Ptจ.อุทัยธานี)
คู่มือเข่าเสื่อม(Ptจ.อุทัยธานี)Sureerut Physiotherapist
 
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม OA knee Guideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม OA knee Guidelineการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม OA knee Guideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม OA knee GuidelineAiman Sadeeyamu
 
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)Sureerut Physiotherapist
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าอำพร มะนูรีม
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลUtai Sukviwatsirikul
 
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผลแผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผลPreeyanush Rodthongyoo
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
แนวทางปฏิบัติในผู้ป่วยอาการปวดหลัง
แนวทางปฏิบัติในผู้ป่วยอาการปวดหลังแนวทางปฏิบัติในผู้ป่วยอาการปวดหลัง
แนวทางปฏิบัติในผู้ป่วยอาการปวดหลังmettapracharak
 
เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559
เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559
เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559Thira Woratanarat
 
Foods and common musculokeletal problems
Foods and common musculokeletal problemsFoods and common musculokeletal problems
Foods and common musculokeletal problemsThira Woratanarat
 
แจ้งอัตราค่าบริการสาธารณสุข
แจ้งอัตราค่าบริการสาธารณสุขแจ้งอัตราค่าบริการสาธารณสุข
แจ้งอัตราค่าบริการสาธารณสุขChuchai Sornchumni
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
นโยบายหลักประกันสุขภาพในการดูแลผู้ป่วยปฐมภูมิ
นโยบายหลักประกันสุขภาพในการดูแลผู้ป่วยปฐมภูมินโยบายหลักประกันสุขภาพในการดูแลผู้ป่วยปฐมภูมิ
นโยบายหลักประกันสุขภาพในการดูแลผู้ป่วยปฐมภูมิChuchai Sornchumni
 
ท่าทางกับปัญหาปวดหลัง(รพ.ทัพทัน)
ท่าทางกับปัญหาปวดหลัง(รพ.ทัพทัน)ท่าทางกับปัญหาปวดหลัง(รพ.ทัพทัน)
ท่าทางกับปัญหาปวดหลัง(รพ.ทัพทัน)Sureerut Physiotherapist
 

Destacado (20)

Lifestyle and Knee Osteoarthritis
Lifestyle and Knee OsteoarthritisLifestyle and Knee Osteoarthritis
Lifestyle and Knee Osteoarthritis
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคข้อเข่าเสื่อม
คู่มือการดูแลตนเอง โรคข้อเข่าเสื่อมคู่มือการดูแลตนเอง โรคข้อเข่าเสื่อม
คู่มือการดูแลตนเอง โรคข้อเข่าเสื่อม
 
คู่มือเข่าเสื่อม(Ptจ.อุทัยธานี)
คู่มือเข่าเสื่อม(Ptจ.อุทัยธานี)คู่มือเข่าเสื่อม(Ptจ.อุทัยธานี)
คู่มือเข่าเสื่อม(Ptจ.อุทัยธานี)
 
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม OA knee Guideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม OA knee Guidelineการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม OA knee Guideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม OA knee Guideline
 
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
 
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
 
เข่าเสื่อม
เข่าเสื่อมเข่าเสื่อม
เข่าเสื่อม
 
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผลแผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
แนวทางปฏิบัติในผู้ป่วยอาการปวดหลัง
แนวทางปฏิบัติในผู้ป่วยอาการปวดหลังแนวทางปฏิบัติในผู้ป่วยอาการปวดหลัง
แนวทางปฏิบัติในผู้ป่วยอาการปวดหลัง
 
Lifestyle and spine
Lifestyle and spineLifestyle and spine
Lifestyle and spine
 
เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559
เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559
เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559
 
Foods and common musculokeletal problems
Foods and common musculokeletal problemsFoods and common musculokeletal problems
Foods and common musculokeletal problems
 
แจ้งอัตราค่าบริการสาธารณสุข
แจ้งอัตราค่าบริการสาธารณสุขแจ้งอัตราค่าบริการสาธารณสุข
แจ้งอัตราค่าบริการสาธารณสุข
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
 
นโยบายหลักประกันสุขภาพในการดูแลผู้ป่วยปฐมภูมิ
นโยบายหลักประกันสุขภาพในการดูแลผู้ป่วยปฐมภูมินโยบายหลักประกันสุขภาพในการดูแลผู้ป่วยปฐมภูมิ
นโยบายหลักประกันสุขภาพในการดูแลผู้ป่วยปฐมภูมิ
 
ท่าทางกับปัญหาปวดหลัง(รพ.ทัพทัน)
ท่าทางกับปัญหาปวดหลัง(รพ.ทัพทัน)ท่าทางกับปัญหาปวดหลัง(รพ.ทัพทัน)
ท่าทางกับปัญหาปวดหลัง(รพ.ทัพทัน)
 

Más de Nattha Namm

แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวNattha Namm
 
ธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6Aธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6ANattha Namm
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟNattha Namm
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวNattha Namm
 
ดินถล่ม
ดินถล่มดินถล่ม
ดินถล่มNattha Namm
 
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปNattha Namm
 
สงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนามสงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนามNattha Namm
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนNattha Namm
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางNattha Namm
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Nattha Namm
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยNattha Namm
 
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยาตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยาNattha Namm
 
ใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้นใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้นNattha Namm
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 

Más de Nattha Namm (14)

แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
ธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6Aธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6A
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟ
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
ดินถล่ม
ดินถล่มดินถล่ม
ดินถล่ม
 
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
 
สงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนามสงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนาม
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมน
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัย
 
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยาตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
 
ใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้นใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้น
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 

แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม

  • 1. ข้อเข่าเสื่อมหรือโรคข้อเข่าเสื่อมเป็นภาวะที่ ข้อเข่าผ่านการใช้งานมาเป็นเวลานาน เกิดการ เสื่อมของข้อ ทาให้มีการงอกของกระดูกเวลาเดิน จะเจ็บข้อ มีการผิดรูปของข้อเข่า โรคข้อเข่าเสื่อม มักพบในผู้สูงอายุ มักเกิดจากการเสื่อมสภาพตาม ธรรมชาติ ของกระดูก และ กระดูกอ่อนผิวข้อ  ปวดข้อเข่า รู้สึกเมื่อย ตึงที่น่องและข้อพับเข่า  รู้สึกว่าข้อเข่าขัดๆ เคลื่อนไหวข้อได้ไม่เต็มที่  มีเสียงดังในข้อ เวลาขยับเคลื่อนไหวข้อเข่า  ข้อเข่าบวม มีน้าในข้อ  เข่าคดผิดรูปร่าง หรือ เข่าโก่ง  อายุ อายุมากมีโอกาสเป็นมากเนื่องจากอายุ การใช้งานมาก  เพศหญิงจะเป็นโรคเข่าเสื่อมมากกว่าผู้ชาย 2 เท่า  น้าหนัก ยิ่งน้าหนักตัวมากข้อเข่าจะเสื่อมเร็ว  การใช้ข้อเข่า ผู้ที่นั่งยองๆ นั่งขัดขัดสมาธิ หรือนั่งพับเพียบนานๆจะพบข้อเข่าเสื่อมเร็ว  การได้รับบาดเจ็บบริเวณข้อเข่า ผู้ที่ได้รับ อุบัติเหตุจะเกิดข้อเข่าเสื่อมได้  ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและกระดูก ผู้ที่ ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอและได้รับ แคลเซียมในปริมาณที่พอเพียงจะชะลอการ เสื่อมของเข่า  การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในชีวิตประจาวัน  ทากายภาพบาบัด  การกินยาแก้ปวดลดการอักเสบ  การผ่าตัด เพื่อจัดแนวกระดูกใหม่  การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม ในปัจจุบันยังไม่สามารถรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม ให้หายขาดได้ จุดมุ่งหมายในการรักษาทุกวิธีก็คือ ลดอาการปวด ทาให้เคลื่อนไหวข้อได้ดีขึ้น ป้องกัน หรือแก้ไขการผิดรูปร่างของข้อ เพื่อให้ผู้ป่วย สามารถดาเนินชีวิตประจาวันหรือทางานได้เป็น ปกติ แนวทางการรักษาปัจจัยที่ทาให้เกิดข้อเข่าเสื่อม อาการที่สาคัญ โรคข้อเข่าเสื่อม
  • 2. 1. เมื่อมีอาการปวดเข่าจากข้อเสื่อม ควรใช้ กระเป๋าน้าร้อนประคบ รอบๆเข่า นาน 15 - 30 นาที วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น 2. ลดน้าหนักตัว เพราะจะทาให้เข่าแบกรับ น้าหนักน้อยลง การเสื่อมของเข่าก็จะช้าลง 3. ไม่ควรนั่งพับเพียบ นั่งขัดสมาธิ นั่งคุกเข่า นั่ง ยองๆ เพราะท่าดังกล่าวจะทาให้ข้อเข่าเสียด สีกันและเสื่อมเร็วขึ้น 4. ควรนั่งถ่ายบนโถนั่งชักโครก หรือ ใช้เก้าอี้ที่มี รูตรงกลาง วาง ไว้เหนือคอ ควรทาที่จับ บริเวณด้านข้างโถนั่ง เพื่อใช้จับพยุงตัว เวลา จะลงนั่งหรือจะลุกขึ้นยืน 5. ที่นอนบนเตียง ควรมีความสูงระดับเข่า ซึ่ง เมื่อนั่งห้อยขาที่ขอบเตียงแล้วฝ่าเท้าจะแตะ พื้นพอดี ไม่ควรนอนบนพื้นเพราะต้องงอเข่า เวลาจะนอนหรือ จะลุกขึ้น ทาให้ผิวข้อเสียดสี กันมากขึ้น 6. หลีกเลี่ยงการยืนหรือนั่งในท่าเดียวนาน ๆ ถ้า จาเป็นควรเปลี่ยนท่าหรือขยับ เหยียด-งอ ข้อ เข่าอยู่เรื่อยๆ 7. ไม่ควรเดินบนทางเดินที่ขรุขระเพราะจะทาให้ น้าหนักตัว ลงไปที่เข่าเพิ่มมากขึ้น และอาจจะ เกิดอุบัติเหตุหกล้มได้ง่าย 8. ควรใช้ไม้เท้าช่วยพยุงตัว เวลาเดิน ซึ่งจะช่วย รับน้าหนักตัว ทาให้เดินได้มั่นคง และเจ็บ น้อยลง 9. ออกกาลังกล้ามเนื้อเข่าเป็นประจา เพื่อให้ กล้ามเนื้อ และเอ็นรอบเข่าแข็งแรง เพิ่มความ ทนทานในการใช้งาน ช่วยป้องกันและลด ความพิการที่อาจเกิดขึ้นกับข้อเข่า การบริหารเข่า ที่มา : นพ.พนมกร ดิษฐสุวรรณ์ ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ โรคข้อเข่าเสื่อม Osteoarthritis of the Knee วิธีการดูแลรักษาตนเอง สารพันปัญหา กระดูก ไขข้อ ข้อต่อ เอ็น