SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 7
Descargar para leer sin conexión
สงครามเวียดนามเกิดขึ้นอย่างไร
รวบรวมข้อมูล
เวียดนามเคยป็นเมืองขึ้นของจีนสมัยโบราณกว่าร้อยปี จึงรับ
อิทธิพลความเชื่อลัทธิขงจื๊อและวัฒนธรรมจีนมาผสมผสานกับวัฒนธรรม
พื้นเมืองของตน ต่อมาในคริสต์สตวรรษที่ 18-19 ฝรั่งเศสขยายอานาจมา
ยึดครองเวียดนาม กัมพูชาและลาว รวมเรียกว่าอินโดจีนฝรั่งเศส ต่อมาได้
มีขบวนการชาตินิยมเรียกร้องเอกราชแต่ถูกฝรั่งเศสปราบปรามอย่าง
รุนแรง ผู้คนเสียชีวิตจานวนมาก แต่มีผู้นาคนสาคัญที่สามารถนา
ความสาเร็จมาให้ขบวนการชาตินิยมเวียดนามหรือเวียดมินห์ คือ โฮชิมินห์
ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง กองกาลังชาตินิยมเวียดมินห์ให้การสนับสนุนฝ่ายสัมพันธมิตร
โดยหวังจะได้เอกราชเป็นการตอบแทน แต่ฝรั่งเศสไม่ยินยอมและกลับมาครอบครองอินโดจีนอีกครั้งหลัง
สงครามโลก ทาให้เกิดการสู้รบกันตั้งแต่ ค.ศ. 1946 และสิ้นสุดลงในค.ศ 1954 เมื่อฝรั่งเศสแพ้ในสมรภูมิ
เดียนเบียนฟู มีการทาสัญญาสงบศึกที่ปารีส ฝรั่งเศสถอนตัวจากอินโดจีน มีผลให้ประเทศเวียดนาม ลาว
กัมพูชาได้รับเอกราช และกาหนดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปเพื่อรวมเวียดนาม แต่ขณะที่ยังไม่มีการเลือกตั้ง ให้
แบ่งเวียดนามเป็นสองส่วนที่เส้นขนานที่ 17 เวียดนามเหนือนาโดยโฮชิมินห์ ศูนย์กลางอยู่ที่ฮานอยและ
เวียดนามใต้ นาโดยกษัตริย์เบาได๋ ศูนย์กลางอยู่ที่ไซ่ง่อน
การแทรกแซงของสหรัฐเริ่มต้นต่างจากการเข้าสู่สงครามเกาหลี เนื่องจากปัญหาการเลือกตั้ง
ประธานาธิบดีและรวมชาติเวียดนาม เพราะเกรงว่าชาวเวียดนามจะเลือกโฮชิมินห์ ซึ่งเป็นวีรบุรุษกู้ชาติ
เวียดนามทั้งสองส่วนมีวิถีชีวิตต่างกันและนิยมความคิดทางการเมืองไม่ตรงกัน เวียดนามเหนือส่วนใหญ่
เป็นเกษตรกรยากจน เสียเปรียบเจ้าของที่ดิน จึงนิยมคอมมิวนิสต์ ทั้งยังได้รับความช่วยเหลือจากสหภาพ
โซเวียตและจีนคอมมิวนิสต์ ตั้งแต่รบกับฝรั่งเศส สื่งที่สาคัญคือ ความนิยมในตัววีรบุรุษ ผู้นาขบวนการ
ชาตินิยมคือ โฮชิมินห์ หากมีการเลือกตั้งประชาชนทั่วไปมีแนวโน้มจะเลือกโฮชิมินห์ วีรบุรุษของตน โดยไม่
สนใจลัทธิการเมือง สหรัฐจึงเข้ามาสนับสนุนเวียดนามใต้แทนฝรั่งเศส เพื่อสกัดกั้นไม่ให้มีการเลือกตั้งทั่วไป
เพราะเกรงว่าผู้นิยมคอมมิวนิสต์จะได้ชัยชนะและทาให้เวียดนามเป็น
คอมมิวนิสต์ การยกเลิกการเลือกตั้งประธานาธิบดีทาให้เวียดนาม
เหนือประกาศสงครามกับเวียดนามใต้อีกครั้ง เพื่อใช้กาลังรวม
เวียดนามเป็นประเทศเดียวกัน สหรัฐมีความเชื่อฤษฎีโดมิโน คือ เมื่อ
ชาติหนึ่งเป็นคอมมิวนิสต์ ชาติที่อยู่ใก้ลเคียงจะถูกคุกคามและตกอยู่
ในอิทธิพลคอมมิวนิสต์ด้วย เช่นเดียวกับสภาพการณ์ที่เกิดขึ้นใน
ยุโรปตะวันออก จึงเข้ามาปกป้องประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
มิให้เป็นไปตามนโยบายวาทะทรูแมนและแผนการมาร์แชล
สหรัฐอเมริกาเริ่มส่งที่ปรึกษาทางทหารและส่งอาวุธยุทธปกรณ์ เพื่อพัฒนากองทัพให้กับเวียดนาม
ใต้ ตั้งแต่สมัยประธานาธิบดีไอเซ็นเฮาว์และประธานาธิบดีจอห์น เอฟ เคเนดี ต่อมาเมื่อเคเนดีเสียชีวิตจาก
การลอบสังหารที่ดัลลัส เท็กซัส รองประธานาธิบดีจอห์นสันได้รับตาแหน่งผู้นาสหรัฐแทน ได้ส่งกาลังพลนับ
แสนคนพร้อมอาวุธที่มีประสิทธิภาพสูง เข้ามาสกัดกั้นการคุกคามของคอมมิวนิสต์ในเวียดนาม ทาให้
สงครามเวียดนามขยายตัวและรุนแรงมากขึ้น นับแต่ ค.ศ. 1965 เป็นต้นมา
ฝ่ายคอมมิวนิสต์เวียดนามเหนือมีกองทัพเวียด
มินห์ สาหรับการรบเต็มรูปแบบและมีขบวนการเวียดกง
เป็นประชาชนทั่วไปที่นิยมคอมมิวนิสต์หรือถูกบังคับให้เป็น
คอมมิวนิสต์ ปฏิบัติการแทรกซึมและบ่อนทาลายอยู่ทั่วไป
ในเวียดนามใต้ ทาให้ยากต่อการปราบปราม และทาให้สื่อ
ต่าง ๆเสนอภาพเสมือนทหารสหรัฐรังแกประชาชน
เวียดนามที่อ่อนแอกว่า
ในช่วงแรกของสงคราม เวียดนามเหนือได้ใช้ยุทธวิธียก
กาลังทาสงครามเต็มรูปแบบกับกองทัพสหรัฐ บุกเข้ามาใต้เส้น
ขนานที่ 17 และสังหารประชาชนอย่างโหดเหี้ยม แม้จะไม่ได้ชัย
ชนะแต่ทาให้ชาวเวียดนามใต้เกิดความเกรงกลัวอานาจของ
คอมมิวนิสต์เวียดนามเหนืออย่างมาก จึงมักยอมเข้ากับ
เวียดนามในฐานะกองกาลังเวียดกง ปฏิบัติการแทรกซึม บ่อน
ทาลายในเวียดนามใต้
สหรัฐและพันธมิตรในองค์การ SEATO ได้ระดมความร่วมมือทางทหารเข้าไปรบในเวียดนามแต่ไม่
ประสบความสาเร็จมากนัก เพราะส่วนใหญ่เวียดนามเหนือและเวียดกงรบแบบกองโจร ลอบวางระเบิดและ
ซุ่มโจมตี ทาให้ทหารเวียดนามใต้และทหารนาวิกโยธินสหรัฐเสียชีวิตจานวนมาก จึงใช้การปราบปราม
อย่างรุนแรง เช่น ยิงทิ้งผู้ที่คาดว่าเป็นเวียดกง การเผาทาลายหมู่บ้าน ตลอกจนการทิ้งระเบิดปูพรมตามจุด
ยุทธศาสตร์ต่าง ๆ เช่น เมืองท่าและชายแดนเวียดนาม-กัมพูชา เพื่อตัดเส้นทางการลาเลียงทหารและอาวุธ
จากเวียดนามเหนือสู่เวียดนามใต้ผ่านทางกัมพูชา ทาให้เกิดความเสียหายต่อพลเรือนจานวนมหาศาล
ส่งผลให้ทั่วโลกประณามการกระทาของสหรัฐ
CIA ของสหรัฐยังเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการปฏิวัติเปลี่ยนผู้นารัฐบาลเวียดนามใต้บ่อยครั้ง แต่ในที่สุดก็
ไม่สามารถแก้ปัญหาการคอรับชั่นในรัฐบาลที่ตั้งขึ้นได้ ทาให้งบประมาณที่สหรัฐ
ให้ไปปรับปรุงกองทัพหรือพัฒนาชนบท กลับไปตกอยู่ในมือของข้าราชการ
ระดับสูงและนายทหารของเวียดนามใต้ การรบในเวียดนามซึ่งทาให้สหรัฐ
สูญเสียทหารจานวนมาก เพราะไม่คุ้นเคยกับภูมิประเทศและมีความกดดันจาก
การเผชิญกับเวียดกงที่รบในประเทศตนเอง ยากต่อการเอาชนะ
คนหนุ่มสาวในสหรัฐจึงเดินขบวนเรียกร้องสันติภาพทั่วประเทศ เรียกร้องให้ถอนทหารจากสงคราม
เวียดนาม เมื่อมีการเลือกตั้ง ประธานาธิบดีจอห์นสันจึงไม่ลงสมัครอีก ทาให้นิกสันซึ่งเสนอนโยบายถอน
ทหารสหรัฐออกจากเวียดนามและลดบทบาททางทหารทั่วโลกได้รับ
ชนะการเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีคนต่อมา นิกสันจึงเจรจากับจีน
สนับสนุนโยบายจีนเดียวแลกกับการให้จีนยอมรับการถอนทหารจาก
เวียดนามตั้งแต่ ค.ศ. 1973 หลังจากนั้นสหรัฐได้ตกลงถอนทหารจน
สิ้นสุดในเดือนเมษายน 1975 กองทัพเวียดนามเหนือเข้ายึดครองไซ
ง่อนได้สาเร็จและเปลี่ยนชื่อเมืองเป็น โฮชิมินห์ซิตี

วิพากษ์สาเหตุและหลักฐาน
ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ขบวนการเวียดมินห์ ได้ถือกาเนิดขึ้น โดย โฮจิมินห์ เป็นผู้นา
ระยะแรก การดาเนินการนั้น เพียงเพื่อหวังว่าจะขับไล่ญี่ปุ่นออกจากประเทศไปเท่านั้น แต่ในปี ค.ศ.1944
พวกเวียดมินห์ได้ตั้งกองบัญชาการกองโจรขึ้นโดยได้รับการสนับสนุนกาลังและอาวุธจากสหรัฐอเมริกา แต่
กาลังการรบของเวียดมินห์นั้นยังเป็นกองกาลังเล็กๆ ยังไม่สามารถที่จะไปต่อต้านพวกญี่ปุ่นได้

ต่อมาใน

ค.ศ. 1945 สถานการณ์เริ่มเปลี่ยนแปลงไป คือ ญี่ปุ่นได้ปลดอาวุธและขังทหารฝรั่งเศสประจาอินโดจีน จึง
เป็นเหตุทาให้ฝรั่งเศสนั้นเสียศักดิ์ศรีไปมาก เพราะขณะเกิดเรื่องนี้ ญี่ปุ่นกาลังจะแพ้สงคราม ซึ่งเท่ากับเป็น
การเปิดโอกาสให้ชาวเวียดนามกลุ่มต่างๆ ที่ดิ้นรนเพื่อเป็นเอกราช ได้เริ่มดาเนินการทันที ซึ่งผู้นานั้นก็คือ
ซึ่งเคยเป็นจักรพรรดิแคว้นอันนัม ได้สถาปนาตนเองขึ้นเป็น "จักรพรรดิแห่งเวียดนาม" และต่อมาทาให้กลุ่ม
ของสมเด็จพระจักรพรรดิเบาได๋ มีความหวังยิ่งขึ้น คือ นายพลเดอโกลล์ ได้กล่าวคลุมเครือว่าอยากให้
เวียดนามปกครองตนเอง ซึ่งทาให้พวกชาตินิยมในเวียดนามต่างก็มีความหวังในเรื่องเอกราชโดยสันติวิธี
ยิ่งขึ้นไปอีก แต่เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในเวลาต่อมาได้ทาลายความหวังลงไป เพราะกลุ่มเวียดมินห์ได้สั่งให้
ประชาชนต่อต้านญี่ปุ่น แต่คาสั่งนี้มีเจตนาแอบแฝง ไว้เพื่อหวังผลอีกทางหนึ่ง โดยมีเจตนาหาทางป้องกัน
ไม่ให้ฝรั่งเศสกลับมามีอานาจในเวียดนามอีก

พ่อชาวเวียดนามอุ้มลูกชายตัวเองที่ถูกยิงด้วยใจสลาย
ท่ามกลางสายตาของทหารมองลงมาจากรถทหารอย่างน่า
เวทนา ที่บริเวณหมู่บ้านแห่งหนึ่งใกล้กับชายแดนกัมพูชา

ทหารชาวเวียดนามใต้ใช้อาวุธ ทาร้ายร่างกายชาวนาที่ถูกกล่าวหาว่า ให้
ข้อมูลบิดเบือนแก่ทหารรัฐบาล เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของกอง
กาลังเวียดกง (Viet Cong)

30 มีนาคม 1965 ชาวเวียดนามถูกเป็นเป้าโจมตี
จากแรงระเบิดบนถนนแห่งหนึ่งนอกสถานทูตสหรัฐ
เมืองไซ่ง่อน

เดือนมิถุนายน 1965 ชาวบ้านชาวเวียดนาม ต้อง
หลบหนีการต่อสู้ และโจมตีของทหารฝ่ายรัฐบาล
เสียงปืนและเสียงระเบิดทาให้พวกเขาต้องกอดกัน
ด้วยความหวาดผวา
27 พฤศจิกายน 1965 ภาพทหาอเมริกัน และทหาร
เวียดนามนอนเสียชีวิตเป็นรายทาง จากการต่อสู้กับ
กองกาลังเวียดกง ทหารรายหนึ่งต้องให้ผ้าปิดจมูก
เนื่องจากซากศพส่งกลิ่นเหม็น

ธันวาคม 1965

นายทหารอเมริกัน ปกป้องเด็ก

นักเรียนชาวเวียดนามระหว่างเดินทางกลับบ้าน ที่
หมู่บ้านแห่งหนึ่งในเมืองเบน แคท

มกราคม 1966 เด็กชาวเวียดนาม 2 คนจ้องทหาร
อเมริกันที่กาลังถืออาวุธ เอ็ม 79 โดยมีแม่ของพวกเขา
กอดลูกๆเอาไว้ ป้องกันการโจมตีขากบรรดาทหารเวีย
ดกงที่เปิดฉากยิงในพื้นที่เบาไทร

มกราคม 1966 แววตาของชาวบ้านบ่งบอกได้เป็น
อย่างดีถึงความทุกข์เศร้า เด็กและผู้หญิงต้องหลบอยู่
ในคลองโคลน ระหว่างการต่อสู้กันอย่างรุนแรงกับ
กองกาลังเวียดกง
เมษายน 1969 หญิงรายหนึ่งคร่าครวญร่างสามีไร้ลม
หายใจ ที่ถูกพบเสียชีวิต พร้อมกับร่างอีก 47 ศพ ที่
Hue ประเทศเวียดนาม
Picture: Horst Faas/AP

ตีความ
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ยุติลง โฮจิมินห์ผู้นาฝ่ายคอมมิวนิสต์เวียดนามประกาศไม่ยอมขึ้นกับ
ฝรั่งเศส และได้นากาลังเข้าต่อสู้กับฝรั่งเศสเป็นเวลาถึง ๙ ปี โดยไม่มีฝ่ายใดได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาด
และ ภายหลังจากที่พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามสามารถโจมตีป้อมปราการสาคัญของฝรั่งเศสที่เดียนเบียน
ฟู ูแตก ในวันที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๗ จึงได้มีการเจรจาระหว่างฝรั่งเศส และคอมมิวนิสต์เวียดนาม
ผลที่สุดได้มีการลงนามใน “อนุสัญญาเจนีวา พ.ศ.๒๔๙๗ ” ที่กรุงเจนีวาประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เมื่อวันที่
๒๗ ่กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๙๗ โดยแบ่งแยกประเทศเวียดนามออกเป็น ๒ ส่วน คือ เวียดนามเหนือและ
เวียดนามใต้โดยยึดเส้นขนานที่ ๑๗ องศาเหนือเป็นเส้นแบ่งเขตเวียดนามเหนือ ซึ่งมีการปกครองระบอบ
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์ ภายใต้การนาของโฮจิมินห์พยายามที่จะรวมเวียดนามทั้งสองส่วนเข้าด้วยกัน จึงส่ง
กาลังกองโจรเวียดกงก่อกวนและแทรกซึมเข้าไปในเวียดนามใต้อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๙๘ โดยแฝง
เข้าไปในลักษณะผู้ลี้ภัยและผู้อพยพ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1nidthawann
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง Sherry Srwchrp
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21Pannaray Kaewmarueang
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์kingkarn somchit
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่Watermalon Singha
 
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )EarnEarn Twntyc'
 
โครงงาน เรื่อง Adobe Photoshop CC
โครงงาน เรื่อง Adobe Photoshop CCโครงงาน เรื่อง Adobe Photoshop CC
โครงงาน เรื่อง Adobe Photoshop CCZnackiie Rn
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2Taraya Srivilas
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Kannaree Jar
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนNattha Namm
 
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลางประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลางRose Mary
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Suksawat Sanong
 

La actualidad más candente (20)

สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
 
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
โครงงาน เรื่อง Adobe Photoshop CC
โครงงาน เรื่อง Adobe Photoshop CCโครงงาน เรื่อง Adobe Photoshop CC
โครงงาน เรื่อง Adobe Photoshop CC
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมน
 
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลางประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 

Más de Nattha Namm

แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวNattha Namm
 
ธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6Aธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6ANattha Namm
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟNattha Namm
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวNattha Namm
 
ดินถล่ม
ดินถล่มดินถล่ม
ดินถล่มNattha Namm
 
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปNattha Namm
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางNattha Namm
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Nattha Namm
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยNattha Namm
 
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อมแผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อมNattha Namm
 
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยาตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยาNattha Namm
 
ใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้นใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้นNattha Namm
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 

Más de Nattha Namm (13)

แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
ธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6Aธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6A
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟ
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
ดินถล่ม
ดินถล่มดินถล่ม
ดินถล่ม
 
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัย
 
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อมแผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
 
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยาตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
 
ใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้นใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้น
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 

สงครามเวียดนาม

  • 1. สงครามเวียดนามเกิดขึ้นอย่างไร รวบรวมข้อมูล เวียดนามเคยป็นเมืองขึ้นของจีนสมัยโบราณกว่าร้อยปี จึงรับ อิทธิพลความเชื่อลัทธิขงจื๊อและวัฒนธรรมจีนมาผสมผสานกับวัฒนธรรม พื้นเมืองของตน ต่อมาในคริสต์สตวรรษที่ 18-19 ฝรั่งเศสขยายอานาจมา ยึดครองเวียดนาม กัมพูชาและลาว รวมเรียกว่าอินโดจีนฝรั่งเศส ต่อมาได้ มีขบวนการชาตินิยมเรียกร้องเอกราชแต่ถูกฝรั่งเศสปราบปรามอย่าง รุนแรง ผู้คนเสียชีวิตจานวนมาก แต่มีผู้นาคนสาคัญที่สามารถนา ความสาเร็จมาให้ขบวนการชาตินิยมเวียดนามหรือเวียดมินห์ คือ โฮชิมินห์ ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง กองกาลังชาตินิยมเวียดมินห์ให้การสนับสนุนฝ่ายสัมพันธมิตร โดยหวังจะได้เอกราชเป็นการตอบแทน แต่ฝรั่งเศสไม่ยินยอมและกลับมาครอบครองอินโดจีนอีกครั้งหลัง สงครามโลก ทาให้เกิดการสู้รบกันตั้งแต่ ค.ศ. 1946 และสิ้นสุดลงในค.ศ 1954 เมื่อฝรั่งเศสแพ้ในสมรภูมิ เดียนเบียนฟู มีการทาสัญญาสงบศึกที่ปารีส ฝรั่งเศสถอนตัวจากอินโดจีน มีผลให้ประเทศเวียดนาม ลาว กัมพูชาได้รับเอกราช และกาหนดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปเพื่อรวมเวียดนาม แต่ขณะที่ยังไม่มีการเลือกตั้ง ให้ แบ่งเวียดนามเป็นสองส่วนที่เส้นขนานที่ 17 เวียดนามเหนือนาโดยโฮชิมินห์ ศูนย์กลางอยู่ที่ฮานอยและ เวียดนามใต้ นาโดยกษัตริย์เบาได๋ ศูนย์กลางอยู่ที่ไซ่ง่อน
  • 2. การแทรกแซงของสหรัฐเริ่มต้นต่างจากการเข้าสู่สงครามเกาหลี เนื่องจากปัญหาการเลือกตั้ง ประธานาธิบดีและรวมชาติเวียดนาม เพราะเกรงว่าชาวเวียดนามจะเลือกโฮชิมินห์ ซึ่งเป็นวีรบุรุษกู้ชาติ เวียดนามทั้งสองส่วนมีวิถีชีวิตต่างกันและนิยมความคิดทางการเมืองไม่ตรงกัน เวียดนามเหนือส่วนใหญ่ เป็นเกษตรกรยากจน เสียเปรียบเจ้าของที่ดิน จึงนิยมคอมมิวนิสต์ ทั้งยังได้รับความช่วยเหลือจากสหภาพ โซเวียตและจีนคอมมิวนิสต์ ตั้งแต่รบกับฝรั่งเศส สื่งที่สาคัญคือ ความนิยมในตัววีรบุรุษ ผู้นาขบวนการ ชาตินิยมคือ โฮชิมินห์ หากมีการเลือกตั้งประชาชนทั่วไปมีแนวโน้มจะเลือกโฮชิมินห์ วีรบุรุษของตน โดยไม่ สนใจลัทธิการเมือง สหรัฐจึงเข้ามาสนับสนุนเวียดนามใต้แทนฝรั่งเศส เพื่อสกัดกั้นไม่ให้มีการเลือกตั้งทั่วไป เพราะเกรงว่าผู้นิยมคอมมิวนิสต์จะได้ชัยชนะและทาให้เวียดนามเป็น คอมมิวนิสต์ การยกเลิกการเลือกตั้งประธานาธิบดีทาให้เวียดนาม เหนือประกาศสงครามกับเวียดนามใต้อีกครั้ง เพื่อใช้กาลังรวม เวียดนามเป็นประเทศเดียวกัน สหรัฐมีความเชื่อฤษฎีโดมิโน คือ เมื่อ ชาติหนึ่งเป็นคอมมิวนิสต์ ชาติที่อยู่ใก้ลเคียงจะถูกคุกคามและตกอยู่ ในอิทธิพลคอมมิวนิสต์ด้วย เช่นเดียวกับสภาพการณ์ที่เกิดขึ้นใน ยุโรปตะวันออก จึงเข้ามาปกป้องประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ มิให้เป็นไปตามนโยบายวาทะทรูแมนและแผนการมาร์แชล สหรัฐอเมริกาเริ่มส่งที่ปรึกษาทางทหารและส่งอาวุธยุทธปกรณ์ เพื่อพัฒนากองทัพให้กับเวียดนาม ใต้ ตั้งแต่สมัยประธานาธิบดีไอเซ็นเฮาว์และประธานาธิบดีจอห์น เอฟ เคเนดี ต่อมาเมื่อเคเนดีเสียชีวิตจาก การลอบสังหารที่ดัลลัส เท็กซัส รองประธานาธิบดีจอห์นสันได้รับตาแหน่งผู้นาสหรัฐแทน ได้ส่งกาลังพลนับ แสนคนพร้อมอาวุธที่มีประสิทธิภาพสูง เข้ามาสกัดกั้นการคุกคามของคอมมิวนิสต์ในเวียดนาม ทาให้ สงครามเวียดนามขยายตัวและรุนแรงมากขึ้น นับแต่ ค.ศ. 1965 เป็นต้นมา
  • 3. ฝ่ายคอมมิวนิสต์เวียดนามเหนือมีกองทัพเวียด มินห์ สาหรับการรบเต็มรูปแบบและมีขบวนการเวียดกง เป็นประชาชนทั่วไปที่นิยมคอมมิวนิสต์หรือถูกบังคับให้เป็น คอมมิวนิสต์ ปฏิบัติการแทรกซึมและบ่อนทาลายอยู่ทั่วไป ในเวียดนามใต้ ทาให้ยากต่อการปราบปราม และทาให้สื่อ ต่าง ๆเสนอภาพเสมือนทหารสหรัฐรังแกประชาชน เวียดนามที่อ่อนแอกว่า ในช่วงแรกของสงคราม เวียดนามเหนือได้ใช้ยุทธวิธียก กาลังทาสงครามเต็มรูปแบบกับกองทัพสหรัฐ บุกเข้ามาใต้เส้น ขนานที่ 17 และสังหารประชาชนอย่างโหดเหี้ยม แม้จะไม่ได้ชัย ชนะแต่ทาให้ชาวเวียดนามใต้เกิดความเกรงกลัวอานาจของ คอมมิวนิสต์เวียดนามเหนืออย่างมาก จึงมักยอมเข้ากับ เวียดนามในฐานะกองกาลังเวียดกง ปฏิบัติการแทรกซึม บ่อน ทาลายในเวียดนามใต้ สหรัฐและพันธมิตรในองค์การ SEATO ได้ระดมความร่วมมือทางทหารเข้าไปรบในเวียดนามแต่ไม่ ประสบความสาเร็จมากนัก เพราะส่วนใหญ่เวียดนามเหนือและเวียดกงรบแบบกองโจร ลอบวางระเบิดและ ซุ่มโจมตี ทาให้ทหารเวียดนามใต้และทหารนาวิกโยธินสหรัฐเสียชีวิตจานวนมาก จึงใช้การปราบปราม อย่างรุนแรง เช่น ยิงทิ้งผู้ที่คาดว่าเป็นเวียดกง การเผาทาลายหมู่บ้าน ตลอกจนการทิ้งระเบิดปูพรมตามจุด ยุทธศาสตร์ต่าง ๆ เช่น เมืองท่าและชายแดนเวียดนาม-กัมพูชา เพื่อตัดเส้นทางการลาเลียงทหารและอาวุธ จากเวียดนามเหนือสู่เวียดนามใต้ผ่านทางกัมพูชา ทาให้เกิดความเสียหายต่อพลเรือนจานวนมหาศาล ส่งผลให้ทั่วโลกประณามการกระทาของสหรัฐ
  • 4. CIA ของสหรัฐยังเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการปฏิวัติเปลี่ยนผู้นารัฐบาลเวียดนามใต้บ่อยครั้ง แต่ในที่สุดก็ ไม่สามารถแก้ปัญหาการคอรับชั่นในรัฐบาลที่ตั้งขึ้นได้ ทาให้งบประมาณที่สหรัฐ ให้ไปปรับปรุงกองทัพหรือพัฒนาชนบท กลับไปตกอยู่ในมือของข้าราชการ ระดับสูงและนายทหารของเวียดนามใต้ การรบในเวียดนามซึ่งทาให้สหรัฐ สูญเสียทหารจานวนมาก เพราะไม่คุ้นเคยกับภูมิประเทศและมีความกดดันจาก การเผชิญกับเวียดกงที่รบในประเทศตนเอง ยากต่อการเอาชนะ คนหนุ่มสาวในสหรัฐจึงเดินขบวนเรียกร้องสันติภาพทั่วประเทศ เรียกร้องให้ถอนทหารจากสงคราม เวียดนาม เมื่อมีการเลือกตั้ง ประธานาธิบดีจอห์นสันจึงไม่ลงสมัครอีก ทาให้นิกสันซึ่งเสนอนโยบายถอน ทหารสหรัฐออกจากเวียดนามและลดบทบาททางทหารทั่วโลกได้รับ ชนะการเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีคนต่อมา นิกสันจึงเจรจากับจีน สนับสนุนโยบายจีนเดียวแลกกับการให้จีนยอมรับการถอนทหารจาก เวียดนามตั้งแต่ ค.ศ. 1973 หลังจากนั้นสหรัฐได้ตกลงถอนทหารจน สิ้นสุดในเดือนเมษายน 1975 กองทัพเวียดนามเหนือเข้ายึดครองไซ ง่อนได้สาเร็จและเปลี่ยนชื่อเมืองเป็น โฮชิมินห์ซิตี วิพากษ์สาเหตุและหลักฐาน ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ขบวนการเวียดมินห์ ได้ถือกาเนิดขึ้น โดย โฮจิมินห์ เป็นผู้นา ระยะแรก การดาเนินการนั้น เพียงเพื่อหวังว่าจะขับไล่ญี่ปุ่นออกจากประเทศไปเท่านั้น แต่ในปี ค.ศ.1944 พวกเวียดมินห์ได้ตั้งกองบัญชาการกองโจรขึ้นโดยได้รับการสนับสนุนกาลังและอาวุธจากสหรัฐอเมริกา แต่ กาลังการรบของเวียดมินห์นั้นยังเป็นกองกาลังเล็กๆ ยังไม่สามารถที่จะไปต่อต้านพวกญี่ปุ่นได้ ต่อมาใน ค.ศ. 1945 สถานการณ์เริ่มเปลี่ยนแปลงไป คือ ญี่ปุ่นได้ปลดอาวุธและขังทหารฝรั่งเศสประจาอินโดจีน จึง เป็นเหตุทาให้ฝรั่งเศสนั้นเสียศักดิ์ศรีไปมาก เพราะขณะเกิดเรื่องนี้ ญี่ปุ่นกาลังจะแพ้สงคราม ซึ่งเท่ากับเป็น การเปิดโอกาสให้ชาวเวียดนามกลุ่มต่างๆ ที่ดิ้นรนเพื่อเป็นเอกราช ได้เริ่มดาเนินการทันที ซึ่งผู้นานั้นก็คือ ซึ่งเคยเป็นจักรพรรดิแคว้นอันนัม ได้สถาปนาตนเองขึ้นเป็น "จักรพรรดิแห่งเวียดนาม" และต่อมาทาให้กลุ่ม ของสมเด็จพระจักรพรรดิเบาได๋ มีความหวังยิ่งขึ้น คือ นายพลเดอโกลล์ ได้กล่าวคลุมเครือว่าอยากให้ เวียดนามปกครองตนเอง ซึ่งทาให้พวกชาตินิยมในเวียดนามต่างก็มีความหวังในเรื่องเอกราชโดยสันติวิธี ยิ่งขึ้นไปอีก แต่เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในเวลาต่อมาได้ทาลายความหวังลงไป เพราะกลุ่มเวียดมินห์ได้สั่งให้
  • 5. ประชาชนต่อต้านญี่ปุ่น แต่คาสั่งนี้มีเจตนาแอบแฝง ไว้เพื่อหวังผลอีกทางหนึ่ง โดยมีเจตนาหาทางป้องกัน ไม่ให้ฝรั่งเศสกลับมามีอานาจในเวียดนามอีก พ่อชาวเวียดนามอุ้มลูกชายตัวเองที่ถูกยิงด้วยใจสลาย ท่ามกลางสายตาของทหารมองลงมาจากรถทหารอย่างน่า เวทนา ที่บริเวณหมู่บ้านแห่งหนึ่งใกล้กับชายแดนกัมพูชา ทหารชาวเวียดนามใต้ใช้อาวุธ ทาร้ายร่างกายชาวนาที่ถูกกล่าวหาว่า ให้ ข้อมูลบิดเบือนแก่ทหารรัฐบาล เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของกอง กาลังเวียดกง (Viet Cong) 30 มีนาคม 1965 ชาวเวียดนามถูกเป็นเป้าโจมตี จากแรงระเบิดบนถนนแห่งหนึ่งนอกสถานทูตสหรัฐ เมืองไซ่ง่อน เดือนมิถุนายน 1965 ชาวบ้านชาวเวียดนาม ต้อง หลบหนีการต่อสู้ และโจมตีของทหารฝ่ายรัฐบาล เสียงปืนและเสียงระเบิดทาให้พวกเขาต้องกอดกัน ด้วยความหวาดผวา
  • 6. 27 พฤศจิกายน 1965 ภาพทหาอเมริกัน และทหาร เวียดนามนอนเสียชีวิตเป็นรายทาง จากการต่อสู้กับ กองกาลังเวียดกง ทหารรายหนึ่งต้องให้ผ้าปิดจมูก เนื่องจากซากศพส่งกลิ่นเหม็น ธันวาคม 1965 นายทหารอเมริกัน ปกป้องเด็ก นักเรียนชาวเวียดนามระหว่างเดินทางกลับบ้าน ที่ หมู่บ้านแห่งหนึ่งในเมืองเบน แคท มกราคม 1966 เด็กชาวเวียดนาม 2 คนจ้องทหาร อเมริกันที่กาลังถืออาวุธ เอ็ม 79 โดยมีแม่ของพวกเขา กอดลูกๆเอาไว้ ป้องกันการโจมตีขากบรรดาทหารเวีย ดกงที่เปิดฉากยิงในพื้นที่เบาไทร มกราคม 1966 แววตาของชาวบ้านบ่งบอกได้เป็น อย่างดีถึงความทุกข์เศร้า เด็กและผู้หญิงต้องหลบอยู่ ในคลองโคลน ระหว่างการต่อสู้กันอย่างรุนแรงกับ กองกาลังเวียดกง เมษายน 1969 หญิงรายหนึ่งคร่าครวญร่างสามีไร้ลม หายใจ ที่ถูกพบเสียชีวิต พร้อมกับร่างอีก 47 ศพ ที่ Hue ประเทศเวียดนาม
  • 7. Picture: Horst Faas/AP ตีความ ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ยุติลง โฮจิมินห์ผู้นาฝ่ายคอมมิวนิสต์เวียดนามประกาศไม่ยอมขึ้นกับ ฝรั่งเศส และได้นากาลังเข้าต่อสู้กับฝรั่งเศสเป็นเวลาถึง ๙ ปี โดยไม่มีฝ่ายใดได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาด และ ภายหลังจากที่พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามสามารถโจมตีป้อมปราการสาคัญของฝรั่งเศสที่เดียนเบียน ฟู ูแตก ในวันที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๗ จึงได้มีการเจรจาระหว่างฝรั่งเศส และคอมมิวนิสต์เวียดนาม ผลที่สุดได้มีการลงนามใน “อนุสัญญาเจนีวา พ.ศ.๒๔๙๗ ” ที่กรุงเจนีวาประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เมื่อวันที่ ๒๗ ่กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๙๗ โดยแบ่งแยกประเทศเวียดนามออกเป็น ๒ ส่วน คือ เวียดนามเหนือและ เวียดนามใต้โดยยึดเส้นขนานที่ ๑๗ องศาเหนือเป็นเส้นแบ่งเขตเวียดนามเหนือ ซึ่งมีการปกครองระบอบ สังคมนิยมคอมมิวนิสต์ ภายใต้การนาของโฮจิมินห์พยายามที่จะรวมเวียดนามทั้งสองส่วนเข้าด้วยกัน จึงส่ง กาลังกองโจรเวียดกงก่อกวนและแทรกซึมเข้าไปในเวียดนามใต้อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๙๘ โดยแฝง เข้าไปในลักษณะผู้ลี้ภัยและผู้อพยพ