SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 16
บทเรียนที่ 6 การสร้างเนื้อหาบทความ
การเข้าจัดการบทความ
การเข้าถึงห้าเว็บเพจสาหรับจัดการบทความของเว็บไซต์ สามารถทาได้ 2 วิธี
ด้วยกันคือ
วิธีที่ 1 คลิกเมนู Content > Article Manager
วิธีที่ 2 คลอกไอคอน Article Manager ที่แผงควบคุมหลัก
จากนั้นจะเข้าสู่หน้าเพจสาหรับจัดการบทความของเว็บไซต์เหมือนกัน ดัง
รูป
^ หน้าเพจสาหรับจัดการบทความ
สาหรบรายละเอียดของแถบเครื่องมือในหน้าเพจการจัดการ
บทความ มีดังนี้
การสร้างบทความใหม่
การสร้างบทความใหม่เพื่อเผยแพรบนเว็บไซต์ สามารถทาได้โดยคลิก
เมนู Content > Article Manager > Add New Article
จากนั้นจะพบหน้าเว็บเพจ Article Manager : Add New Article ซึ่งมีราละเอียดใน
แต่ละส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 คือ ราละเอียดของบทความ
ส่วนที่ 2 คือ เครื่องมือ TinyMCE Editor (รายละเอียดเพิ่มเติมใน Chapter 07)
ส่วนที่ 3 คือ กาหนดคุณสมบติของบทความ
ส่วนที่ 4 คือ กาหนดสิทธิ์การใช้งานบทความ
สาหรับในส่วนที่ 1 รายละเอียดของบทความ มีรายละเอียดดังนี้
ขั้นตอนการสร้างบทความใหม่
คลิกเมนู Content > Article manager > Add Article (หรือคลิกปุ่ม Article
Article Manager บนแผงไอคอนลัด แล้วคลิกปุ่ม New บนแถบเครื่องมือ เพื่อ
เพื่อสร้างบทความใหม่
จากนั้นจะเข้าสู่หน้าเว็บเพจ Article Manager : Add New Article ให้กาหนด
กาหนดรายละเอียดต่างๆ ในส่วนของ Detail
ให้กาหนดค่าคุณสมบัติต่างๆ ในส่วนของ Publishing Options, Articles
Options
ให้คลิกปุ่ม Save & Close บนแถบเครื่องมือ
Tips
วิธีการเขียนบทความใหม่ข้างต้น เป็นการเขียนบทความจากทางด้านหลัง
ด้านหลัง (Backeand) ของเว็บไซต์ ซึ่งผู้ดูแลเว็บไซต์หรือผู้ใช้งานในกลุ่มผู้เขียน
(Author, Editor, Publisher) สามารถเขียนบทความจากทางด้านหน้า (Frontend)
จากนั้นให้แก้ไขรายละเอียดบทความได้ตามต้องการ
เมื่อเสร็จแล้วให้คลิกปุ่ม Save & Close1
ซ่อน/แสดงบทความ
บทความที่สร้างขึ้น หากไม่ต้องการเผยแพร่หรือต้องการเผยแพร่
เว็บไซต์ ก็สามารถทาได้โดยคลิกไอคอน ถูก ในคอลัมน์ Status ของบทความ
บทความนั้นเมื่อไม่ต้องการเผยแพร่บทความ หรือคลิกไอคอน เมื่อต้องการ
ต้องการเผยแพร่บทความได้อีกวิธีหนึ่งคือ คลิกเลือกบทความนั้นแล้วคลิกปุ่ม
ปุ่ม Publish เมื่อต้องการเผยแพร่บทความ หรือคลิกปุ่ม Unpublish เมื่อไม่
ต้องการเผยแพร่บทความ
การลบบทความ
เนื้อหาบทความที่ไม่ได้ใช้งานแล้ว สามารถลบออกได้ซึ่งการลบจะมีอยู่ 2
ขั้นตอนคือ ขั้นตอนแรกจะเป็นการลบแบบชั่วคราวแล้วเก็บไว้ในถังขยะโดยใช้ปุ่ม Trash
Trash และขั้นตอนที่สองจะเป็นการลบออกจากระบบโดใช้ปุ่ม Empty trash ซึ่งการลบทั้ง
ลบทั้ง 2 ขั้นตอนสามารถทาได้ง่ายๆ ดังนี้
ลบเนื้อหาแบบชั่วคราว (Trash)
คลิกเลือกบทความที่ต้องการลบ
คลิกปุ่ม Trash บทแถบเครื่องมือ
ลบเนื้อหาออกจากระบบ (empty trash)
คลิกเลือก Trashed ที่ช่อง Select Status
คลิกเลือกบทความที่ต้องการลบทิ้งออกจากระบบ
คลิกปุ่ม Empty trash บนแถบเครื่องมือ
การนาบทความที่ลบกลับมาใช้งาน
บทความที่ลบแบบชั่วคราวนั้น เราสามารถกู้บทความที่ถูกลบ
ลบไปแล้วกลับคืนมาเผยแพร่ต่อบนเว็บไซต์ได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
คลิกเลือก Trashed ที่ช่อง Select Status
คลิกไอคอน ถังขยะติดลบ ในช่อง Status ของบทความที่ต้องการนามาเผยแพร่
กาหนด/ย้ายหมดหมู่ให้กับบทความ
การกาหนดหมวดหมู่ให้กับบทความมีความสาคัญอย่างมาก หากเรา
กาหนดหมวดหมู่บทความเป็นประเภท Uncategorised บทความก็จะไม่ถูก
ถูกเผยแพร่ถึงแม้จะกาหนดสถานะการเผยแพร่ (Published) ดังนั้นหากต้องการ
ต้องการกาหนดหมวดหมู่ให้กับบทความเพื่อเผยแพร่บนเว็บไซต์ สามารถทาได้
ทาได้โดยคลิกเลือกหมวดหมู่บทความในช่อง Category
ควบคุมการแสดงส่วนประกอบต่างๆ ในบทความ
บทความที่เผยแพร่บนเว็บไซต์ จะประกอบด้วย
ส่วนประกอบต่างๆ เช่น ชื่อบทความ รายละเอียด หมวดหมู่
บทความ วันเวลาที่เผยแพร่ ชื่อผู้เขียนบทความ ไอคอนสาหรับ
ไอคอนอีเมล์ ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งส่วนปะกอบเหล่านี้ได้จากการตั้งค่า
คุณสมบัติของแต่ละบทความ โดยเริ่มแรกเมื่อสร้างบทความใหม่
จะตั้งค่าเป็นแบบ Use Global คือเผิดใช้งานตามค่าที่ตั้งไว้ใน
ระบบหลัก แต่เราสามารถตั้งค่าให้แสดง (Show) หรือไม่แสดง
(Hide) ได้ตามต้องการ

Más contenido relacionado

Más de Nakharin Inphiban

หน่วยที่ 5 การจัดการหมวดหมู่บทความ
หน่วยที่ 5 การจัดการหมวดหมู่บทความหน่วยที่ 5 การจัดการหมวดหมู่บทความ
หน่วยที่ 5 การจัดการหมวดหมู่บทความNakharin Inphiban
 
บทเรียนที่ 3 บท 4
บทเรียนที่ 3 บท 4บทเรียนที่ 3 บท 4
บทเรียนที่ 3 บท 4Nakharin Inphiban
 
บทเรียนที่ 2 การใช้งานระบบจัดการ
บทเรียนที่ 2  การใช้งานระบบจัดการบทเรียนที่ 2  การใช้งานระบบจัดการ
บทเรียนที่ 2 การใช้งานระบบจัดการNakharin Inphiban
 
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!Nakharin Inphiban
 
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!Nakharin Inphiban
 
บทเรียนที่ 3 การปรับเปลี่ยนหน้าเว็บไซต์ด้วยเทมเพลต
บทเรียนที่ 3 การปรับเปลี่ยนหน้าเว็บไซต์ด้วยเทมเพลตบทเรียนที่ 3 การปรับเปลี่ยนหน้าเว็บไซต์ด้วยเทมเพลต
บทเรียนที่ 3 การปรับเปลี่ยนหน้าเว็บไซต์ด้วยเทมเพลตNakharin Inphiban
 

Más de Nakharin Inphiban (7)

บท 7
บท 7บท 7
บท 7
 
หน่วยที่ 5 การจัดการหมวดหมู่บทความ
หน่วยที่ 5 การจัดการหมวดหมู่บทความหน่วยที่ 5 การจัดการหมวดหมู่บทความ
หน่วยที่ 5 การจัดการหมวดหมู่บทความ
 
บทเรียนที่ 3 บท 4
บทเรียนที่ 3 บท 4บทเรียนที่ 3 บท 4
บทเรียนที่ 3 บท 4
 
บทเรียนที่ 2 การใช้งานระบบจัดการ
บทเรียนที่ 2  การใช้งานระบบจัดการบทเรียนที่ 2  การใช้งานระบบจัดการ
บทเรียนที่ 2 การใช้งานระบบจัดการ
 
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
 
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
 
บทเรียนที่ 3 การปรับเปลี่ยนหน้าเว็บไซต์ด้วยเทมเพลต
บทเรียนที่ 3 การปรับเปลี่ยนหน้าเว็บไซต์ด้วยเทมเพลตบทเรียนที่ 3 การปรับเปลี่ยนหน้าเว็บไซต์ด้วยเทมเพลต
บทเรียนที่ 3 การปรับเปลี่ยนหน้าเว็บไซต์ด้วยเทมเพลต
 

บทเรียนที่ 6 การสร้างเนื้อหาบทความ