SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 30
กระดาษใยสับปะรด
ผู้ให้ความรู้ 
นางวิรัตน์ จันเลน (ป้ารัตน์) 
ที่อยู่ 207 ม.10 ซ.ป่าซาง 
วิวัฒน์ ต.นางแล อ.เมือง 
จ.เชียงราย 
เบอร์โทร 085-6189915
ใบสับปะรดมีเส้นใยปริมาณมากพอควรเมื่อ 
เปรียบเทียบกับต้นปอสา ซึ่งนา มาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ 
หัตถกรรมกระดาษสาที่นิยมอยู่ในปัจจุบัน ดังนั้น ใบ 
สับปะรดจึงสามารถนามาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์กระดาษ 
หัตถกรรมได้เช่นกันโดยใช้เทคนิคกรรมวิธีการผลิต 
เช่นเดียวกับการผลิตกระดาษสา
สับปะรดพันธ์ุนางแล หรือพันธ์ุน้า ผึ้ง 
มีผู้กล่าวว่าพันธุ์น้า ผึ้งนี้นา มา จากประเทศศรีลังกาบางท่านก็ 
กล่าวว่านามาจากมณฑลยูนนานของจีนแต่จาก ลักษณะต่างๆ ไม่ 
ว่าจะเป็นลักษณะของต้น ใบ ดอก และผล จะคล้ายคลึงกันพันธุ์ 
ปัตตาเวียมาก จึงอาจเป็นพันธุ์ย่อย หรือกลายพันธุ์มาจาก พันธุ์ 
ปัตตาเวีย มีปลูกมากที่ ต.นางแล อ.เมือง จ.เชียงราย เนื่องจากมีรส 
หวานจัดเป็นที่นิยมของตลาด
ลักษณะการปลูก 
 สมัยก่อนปลูกสับปะรดแบบเป็นย่อมๆ 
 แต่ปัจจุบันเปลี่ยนมาปลูกเป็นแนวยาว 
 ส่วนใหญ่ชาวนางแลจะปลูกสับปะรดเป็นหลัก แต่ละครอบครัวจะ 
ปลูกกันประมาณ 3-5 ไร่ 
 1 ไร่ สามารถปลูกได้ 8.000 ต้น 
1 ไร่ สามารถทา รายได้ 12.000 บาท
 เมื่อปี พ.ศ.2525 ก็ได้เริ่มมีการรวมกลุ่มและก่อตั้งสหกรณ์ 
 ปี พ.ศ.2548-2552 ก็ได้เริ่มชักชวนดึงแขกเข้ามาเยี่ยมชมผลงาน 
ปี พ.ศ.2557 เริ่มมีเครื่องมือช่วยเรื่องกระบวนการทา ต่างๆ 
 ปัจจุบันก็มีชาวต่างชาติให้ความสนใจเป็นอย่างมา และเข้ามาดูงาน 
อยู่เรื่อยๆ
จากนั้นก็มีนักท่องเที่ยวก็เข้ามาชมสวนสับปะรดด้วยและก็ยังไง 
หน่วยงานและภาครัฐต่างๆเข้ามาช่วยสุดท้ายเทศบาลตา บลนางแล 
ก็เข้ามาช่วยจึงได้จดทะเบียนลิขสิทธ์ิสับปะรดเป็นพันธุ์นางแลจาก 
พันธุ์น้า ผึ้ง 
ปัจจุบันก็มีกลุ่มผู้สนใจเข้ามาศึกษาดูงานตลอด อย่างเช่น นักศึกษา 
จากมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ,มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เป็น 
ต้น
กระบวนการผลิต 
กระดาษใยสับปะรด ใช้กระบวนการผลิตเดียวกับ 
การผลิตกระดาษสา โดยใช้แรงงานคน อุปกรณ์และ 
เครื่องมือต่าง ๆ จากวัสดุที่หาได้ในท้องถิ่นเป็นหลัก ซึ่ง 
มีขั้นตอนการผลิตดังนี้ คือ
การผลิตกระดาษใยสับปะรด ใช้เทคโนโลยีการผลิต 
อุปกรณ์และเครื่องมือจากวัสดุที่หาได้ในท้องถิ่นเป็นหลัก จัดเป็น 
อุตสาหกรรมและหัตถกรรมในครัวเรือน โดยเทคนิคการผลิต 
กระดาษใยสับปะรด มีดังนี้
1.การต้มเยื่อ 
การต้มเยื่อแต่ละครั้ง ใช้ใบสับปะรด 14 กิโลกรัม โซดาไฟ 1 
กิโลกรัมน้า ประมาณ 18 ลิตร ต้มด้วยกะทะขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 36 
นิ้ว เป็นเวลา 3-4 ชั่วโมง ถ้าต้องการฟอกนาเยื่อเติมผงคลอรีน หรือ 
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 100 กรัม ผสมให้เข้ากันทิ้งไว้ประมาณ 15 
นาที ล้างให้สะอาดเติมสีย้อมผ้า 1 ซอง แล้วนา ไปผลิตเป็นแผ่นกระดาษ 
ได้ 20 แผ่น ขนาดของกระดาษ 55x80 เซนติเมตร
2.การล้างใบสับปะรดในน้า 
ก่อนนา ใบสับปะรดไปแช่หรือล้างน้า ควรเลือกและตัดแต่งส่วนที่สกปรก 
มากหรือเป็นเชื้อราที่ไม่สามารถล้างออกด้วยน้า ได้ทิ้งไปเพื่อให้ได้กระดาษที่มี 
คุณภาพดี การล้างใบสับปะรดให้ล้างด้วยน้า สะอาดเพื่อให้เศษดิน ทราย และสิ่ง 
สกปรกต่าง ๆ ที่ติดมาหลุดร่วงออกไป วิธีการล้างที่ดีควรแช่ไว้พักหนึ่งก่อน 
เพื่อให้สิ่งสกปรกต่าง ๆ อ่อนตัวและล้างออกได้โดยง่าย หากมีบ่อล้างหรือ 
ภาชนะแช่อื่น ๆ เพียงพอ อาจแช่น้า ไว้ข้ามคืนแล้วค่อยล้างออกก็ได้
3.การต้มใบสับปะรดด้วยโซดาไฟ 
การต้มด้วยโซดาไฟ (โซเดียมไฮดรอกไซด์ ) ที่มีฤทธ์ิเป็นด่าง 
จะทา ให้ใบสับปะรด เปื่อยยุ่ยเมื่อนา ไปตีเยื่อจะแตกตัวได้ดี การดู 
ว่าใบสับปะรดที่ต้มได้ที่หรือยังสามารถทดสอบได้ด้วยการใช้มือ 
บีบดูหากใบสับปะรดนิ่มเละโดยง่ายแสดงว่าต้มได้ที่แล้วให้ตัก 
ขึ้นพักไว้ก่อนเพื่อให้คลายตัวแล้วจึงนา ไปล้างน้า สะอาดต่อไป 
การต้มใบสับปะรด น้า ต้มที่ผสมโซดาไฟที่เหลือจากการต้มใบ 
สับปะรดครั้งที่ 1 สามารถใช้ในการต้มใบสับปะรดครั้งที่ 2 และ 3 
ได้
โดยไม่ต้องเปลี่ยนน้า ในการต้ม เพียงใส่โซดาไฟเพิ่ม 
จา นวน 3 ใน 5 ส่วนของการต้มครั้งแรกและเติมน้า ทดแทนน้า 
ที่สูญเสียไปกับการต้มก็สามารถใช้ต้มได้ดีเช่นเดียวกับการต้ม 
ครั้งแรก การต้มในครั้งที่ 2 และ 3 จะประหยัดเวลาและ 
เชื้อเพลิงในการต้ม เนื่องจากน้า ต้มนั้นมีความร้อนอยู่แล้ว ข้อ 
ควรระวังในการต้มใบสับปะรดด้วยโซฟาไฟ คือ การใช้ 
อัตราส่วนของโซดาไฟสูงเกินไปจะทา ลายเยื่อใบสับปะรดที่มี 
ความบางเยื่อที่ได้จะเละเป็นผงละเอียดเล็ก ๆ
และลอดตะแกรงที่ใช้ทา เป็นแผ่นกระดาษ 
นอกจากนั้นอุณหภูมิของการต้มเป็นสิ่งสา คัญต้องรักษา 
อุณหภูมิของการต้มให้สม่า เสมอประมาณ 100 องศา 
เซลเซียส ตลอดระยะเวลาของการต้ม หากอุณหภูมิต่า กว่า 
จะทา ให้การเปื่อยยุ่ยของเยื่อเนิ่นนานออกไปมากกว่า 
ระยะเวลาที่กา หนดได้ทา ให้เสียเวลาและเสียเชื้อเพลิงใน 
การต้ม
4.ล้างด้วยน้า สะอาด 
นา เยื่อที่ผ่านการต้มมาล้างโซดาไฟออกให้หมดด้วยน้า สะอาด 2 - 3 
ครั้ง เยื่อที่ล้างด้วยโซดาไฟไม่หมดอาจทา ให้กระดาษมีคุณภาพไม่ดี 
กรอบแห้งเมื่อเก็บไว้นาน ๆ เยื่อที่ได้จากการต้มจะมีลักษณะเปื่อยยุ่ยและ 
ไม่เป็นชิ้นเป็นเส้น เช่น เยื่อปอสา การล้างเยื่อสับปะรดจึงต้องใช้ถุงผ้าตา 
ข่ายไนล่อนตาถี่ชนิดเดียวกับที่ใช้ตะแกรง หล่อกระดาษใส่ และล้างอีกที 
หนึ่งเพื่อรักษาเยื่อไว้ไม่ให้เสียไปกับน้า ที่ใช้ล้าง การระบายน้า ของเยื่อไม่ 
ดีเท่าปอสา จึงต้องใช้วิธีการเหยียบให้น้า ระบายร่วมกับการล้างเยอื่
5.การฟอกขาวเยื่อ 
การฟอกขาว จะใช้วิธีการฟอกขาวด้วยการต้มด้วยไฮโดรเจน 
เปอร์ออกไซด์ เข้มข้น 50% และโซเดียมซิลิเกต ในอัตราส่วน 
ไฮโดรเจน-เปอร์ออกไซด์ 10%, โซเดียมซิลิเกต 5% ของน้า หนัก 
เยื่อใบสับปะรด หลังการต้มด้วยโซดาไฟ คือ ใช้ไฮโดรเจนเปอร์ 
ออกไซด์ 100 กรัม โซเดียมซิลิเกต 50 กรัมต่อน้า หนักเยื่อใบ 
สับปะรด หลังการต้มที่ใช้ในการผลิต 1 กิโลกรัม ใส่ลงในน้า ที่ 
ใช้ในการต้มประมาณ 5 ลิตร
เมื่อน้า เริ่มร้อนแต่ยังไม่เดือด โดยสังเกตได้จากน้า เริ่มมี 
ไอลอยที่บริเวณผิวหน้าและมีเสียงร้องของน้า จึงเติม 
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ลงไปก่อนและใช้ไม้กวนละลาย 
แล้วจึงเติมโซเดียมซิลิเกตลงไป แล้วใช้ไม้กวนละลายให้ 
เข้ากัน (ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์จะเป็นตัวทา ปฏิกิริยาใน 
การฟอกขาวเยื่อ แต่มีคุณสมบัติที่ระเหยไปในอากาศได้ 
โดยง่าย ส่วนโซเดียมซิลิเกตจะช่วยรั้งเปรียบเสมือนกับ 
ฉนวนกั้นไม่ให้ไฮโดรเจน-เปอร์ออกไซด์ระเหยไป 
โดยง่าย)
ใส่เยื่อใบสับปะรดลงต้มที่อุณหภูมิประมาณ 80 - 90 
องศาเซลเซียส ใช้เวลาในการต้มประมาณ 20-30 นาที 
ระหว่างการต้มใช้ไม้กวนเป็นระยะ ๆ เพื่อให้เยื่อพลิกไป 
พลิกมาเพื่อให้ได้สัมผัสและรับสารเคมีในการฟอกอย่าง 
ทั่วถึง
การฟอกเยื่อขาว อาจใช้การฟอกขาว ด้วยการแช่น้า ผสม 
คลอรีนทา ได้เป็นเวลาประมาณ 12 ชั่วโมง แต่มีข้อเสีย คือ 
คลอรีนเป็นสารเคมีที่มีฤทธ์ิตกค้างนานสลายตัวตาม 
ธรรมชาติได้ยาก น้า ผสมคลอรีนที่เหลือจากการฟอกขาว 
หากไม่มีการบา บัดที่ดีจะเป็นผลเสียต่อสภาพแวดล้อมได้ ซึ่ง 
ต่างจากไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ที่สามารถสลายตัวได้ง่าย 
กว่าล้างด้วยน้า สะอาด จากนั้นนา เยื่อที่ผ่านการฟอกขาวมา 
ล้างด้วยน้า สะอาดประมาณ 2-3 ครั้ง เพื่อให้หมดจากสารเคมี 
ที่ใช้ในการฟอกขาว
6.การย้อมสี 
เป็นขั้นตอนที่ต้องการกระดาษสีหากไม่ใช้การผลิตกระดาษ 
สีสามารถข้ามขั้นตอนนี้สู่การทา แผ่นกระดาษได้เลย การย้อมสี 
เยื่อสับปะรดนี้ใช้การย้อมสีที่เรียกว่า การย้อมเย็นโดยใช้สี 
ประเภท Reactive หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า “สีซอง” สี 
ประเภทนี้ราคาถูกใช้ได้ผลดี จากการทดลองกับเยื่อจากใบ 
สับปะรดทา ให้ลดต้นทุนการผลิตได้ดี การย้อมสีเยื่อกระดาษ 
จากใบสับปะรดมีขั้นตอนการย้อมเช่นเดียวกับการย้อมสี 
เส้นด้ายฝ้าย โดยมีขั้นตอนการย้อม ดังนี้
วิธีการย้อม 
ตวงน้า ตามที่กา หนด จากนั้นนา สีตามต้องการละลายใน 
น้า อุ่น (ปริมาณพอสมควรที่จะละลายสีได้หมด) นา มาเทลงใน 
น้า ที่ตวงได้ การตวงน้า ครั้งแรกควรปรับลดตามปริมาณน้า อุ่นที่ 
ใช้ผสมสีด้วย คนให้สีเข้ากับน้า จึงนา เยื่อกระดาษจากใบ 
สับปะรด (อาจเป็นเยื่อที่ผ่านการฟอกขาวหรือเยื่อที่ไม่ฟอกขาวก็ 
ได้) ลงคลุกกับน้า สีโดยใช้มือคลุกพลิกไปพลิกมาจนสีจับเยอื่ 
กระดาษสม่า เสมอกัน ใส่เกลือ 100 กรัม คนและคลุกเคล้ากับเยอื่ 
กระดาษให้ทั่วกับเยื่อกระดาษให้ทั่วกันตั้งทิ้งไว้25 นาที
หลังจากนั้นเติมเกลือส่วนที่เหลือ 100 กรัม กับโซดา 
แอช 100 กรัม ลงไปคลุกกับเยื่อกระดาษจนทั่วอีกครั้ง 
หนึ่ง ตั้งทิ้งไว้ 1 ชั่วโมง จากนั้นจึงนา มาล้างด้วยน้า 
สะอาดหลาย ๆ ครั้ง จนเห็นว่าสีส่วนเกินไม่ละลาย 
ออกมากับน้า แล้ว จึงได้เยื่อกระดาษจากใบสับปะรดย้อม 
สีพร้อมทา แผ่นต่อไปเยื่อกระดาษจากใบสับปะรดที่ใช้ใน 
การย้อมสีสามารถใช้ได้ทั้งเยื่อที่ไม่ผ่านการฟอกขาวเยอื่ 
และเยื่อที่ผ่านการฟอกขาวแล้วล้างด้วยน้า สะอาด
ล้างเยื่อที่ผ่านการย้อมสีแล้วด้วยน้า สะอาดประมาณ 2 
ครั้ง เพื่อกา จัดสีส่วนเกินออกไปให้หมด ทดสอบหลังการ 
ล้างด้วยน้า สะอาดแล้วด้วยการบีบเยื่อดูหากน้า ไหล 
ออกมาจากเยื่อเป็นน้า ใสสะอาดแสดงว่าล้างสะอาดดีแล้ว 
แต่ถ้ายังมีสีปนออกมาอยู่ต้องล้างต่อให้สะอาด เยอื่ที่ล้าง 
ไม่สะอาดจะมีผลต่อการตกสีของกระดาษได้
7.การทา แผ่นกระดาษ 
การทา แผ่นกระดาษ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “การหล่อ 
กระดาษ” การทา แผ่นกระดาษจากใบสับปะรดนี้จะทา 
แผ่นกระดาษด้วยวิธีที่เรียกว่า “การแตะกระดาษ” ด้วยการนาเยื่อ 
มาปั้นเป็นก้อนบีบน้า ออกพอประมาณ ชั่งให้ได้น้า หนักตามที่ 
ต้องการ (กระดาษมาตรฐาน คือ 55 x 80 เซนติเมตร น้า หนักเยื่อ 
เปียก 3 ขีด หรือ 300 กรัม)
ละลายก้อนเยื่อลงในตะแกรงที่ลอยอยู่ในน้า ในอ่าง แตะกระดาษ 
ใช้มือกระจายให้ทั่วเยื่อตะแกรง การที่จะให้เยื่อกระจายตัวสม่า เสมอ 
ทั่วทั้งแผ่นด้วยการใช้ฝ่ามือหรือหลังมือตีน้า เบาๆ ทั่วทั้งแผ่น จึง 
เรียกว่า “การแตะ” จากนั้นค่อย ๆ ยกตะแกรงขึ้นตรง ๆ เพื่อไม่ให้เยอื่ 
กระดาษเลื่อนตัวไปทางใดทางหนึ่ง แล้วจึงวางตะแกรงบนรางไม้ที่ 
วางเรียงกันสองอันในแนวราบเพื่อให้กระดาษหมดน้า พักหนึ่งจึงยก 
ออกไปตากต่อไป
8.การตากกระดาษ 
นาตะแกรงกระดาษไปตากแดด ประมาณ 1 ชั่วโมง จึงนาเข้า 
ตากในร่มหรือในที่มีแดดราไร ที่มีอากาศถ่ายเทได้ดี และ 
หลีกเลี่ยงที่มีลมแรงหรือลมกรรโชก การตากด้วยการหันหลัง 
ตะแกรงพิงกันทา มุมประมาณ 60 องศา เช่นเดียวกับการตาก 
กระดาษสา สาเหตุที่ต้องผึ่งกระดาษในสถานที่ร่ม โปร่งที่มีอากาศ 
ถ่ายเทได้ดีเพราะกระดาษสับปะรด
มีการหดตัวสูง การตากในที่แดดจัดมาก ๆ จะทา ให้ 
กระดาษหดตัวอย่างรวดเร็ว และหลุดออกจากตะแกรง 
ยับย่นไม่เรียบร้อยทา ให้กระดาษไม่ได้คุณภาพ หาก 
ต้องการกระดาษหน้าเรียบเมื่อตากกระดาษจนหมดแล้ว 
ใช้ขันอลูมิเนียมขนาดเล็กที่มีน้า หนักเบา ขอบมนไม่มีคม 
ขัดลูบผิวหนังของกระดาษเบา ๆ จนหน้าเรียบทั่วแผ่น
9) การลอกกระดาษออกจากตะแกรง 
เมื่อกระดาษแห้งสนิทดีแล้วจึงลอกกระดาษออกจากตะแกรง 
ด้วยการแกะกระดาษไปที่มุมใดมุมหนึ่งแล้วใช้มืออีกข้างหนึ่งสอด 
เข้าไปใต้กระดาษดันให้กระดาษหลุดจนตลอดทั้งแผ่นก็จะได้ 
กระดาษจากใบสับปะรดพร้อมใช้งาน 
กระดาษใบสับปะรดที่ผลิตมีคุณภาพกระดาษที่หนาทา ให้มี 
ข้อจา กัดในการนา ไปใช้ประโยชน์อยู่มากโดยเฉพาะเมื่อเทียบกับ 
กระดาษสา กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร
จึงนา เอากระดาษที่ผลิตได้ไปทา เป็นผลิตภัณฑ์ของใช้ของที่ 
ระลึกรูปแบบต่าง ๆ เช่น กล่องใส่ของหลายขนาดรูปร่างต่าง ๆ 
เช่น สี่เหลี่ยมวงรีหัวใจประดับด้วยดอกไม้ใบไม้ลวดลายเล็ก ๆ 
กล่องใส่กระดาษโน๊ต กรอบรูป กระดาษห่อของขวัญ กล่องใส่ 
ทิชชู ที่คั่นหนังสือ กล่องบุหงา สมุดโน๊ต และพวงกุญแจ เป็นต้น

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
Aon Narinchoti
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
Rock Rockie
 
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
พัน พัน
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
Jariya Jaiyot
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
Natthaphong Messi
 
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
Jintana Kujapan
 
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับ
Wanlop Chimpalee
 
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรโครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
Pornthip Nabnain
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
thnaporn999
 

La actualidad más candente (20)

เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
 
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
The criticism of art
The criticism of artThe criticism of art
The criticism of art
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
 
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
 
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับ
 
การเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลายการเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลาย
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
 
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรโครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
 
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 

กระดาษใยสับปะรด

  • 2. ผู้ให้ความรู้ นางวิรัตน์ จันเลน (ป้ารัตน์) ที่อยู่ 207 ม.10 ซ.ป่าซาง วิวัฒน์ ต.นางแล อ.เมือง จ.เชียงราย เบอร์โทร 085-6189915
  • 3. ใบสับปะรดมีเส้นใยปริมาณมากพอควรเมื่อ เปรียบเทียบกับต้นปอสา ซึ่งนา มาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ หัตถกรรมกระดาษสาที่นิยมอยู่ในปัจจุบัน ดังนั้น ใบ สับปะรดจึงสามารถนามาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์กระดาษ หัตถกรรมได้เช่นกันโดยใช้เทคนิคกรรมวิธีการผลิต เช่นเดียวกับการผลิตกระดาษสา
  • 4. สับปะรดพันธ์ุนางแล หรือพันธ์ุน้า ผึ้ง มีผู้กล่าวว่าพันธุ์น้า ผึ้งนี้นา มา จากประเทศศรีลังกาบางท่านก็ กล่าวว่านามาจากมณฑลยูนนานของจีนแต่จาก ลักษณะต่างๆ ไม่ ว่าจะเป็นลักษณะของต้น ใบ ดอก และผล จะคล้ายคลึงกันพันธุ์ ปัตตาเวียมาก จึงอาจเป็นพันธุ์ย่อย หรือกลายพันธุ์มาจาก พันธุ์ ปัตตาเวีย มีปลูกมากที่ ต.นางแล อ.เมือง จ.เชียงราย เนื่องจากมีรส หวานจัดเป็นที่นิยมของตลาด
  • 5. ลักษณะการปลูก  สมัยก่อนปลูกสับปะรดแบบเป็นย่อมๆ  แต่ปัจจุบันเปลี่ยนมาปลูกเป็นแนวยาว  ส่วนใหญ่ชาวนางแลจะปลูกสับปะรดเป็นหลัก แต่ละครอบครัวจะ ปลูกกันประมาณ 3-5 ไร่  1 ไร่ สามารถปลูกได้ 8.000 ต้น 1 ไร่ สามารถทา รายได้ 12.000 บาท
  • 6.  เมื่อปี พ.ศ.2525 ก็ได้เริ่มมีการรวมกลุ่มและก่อตั้งสหกรณ์  ปี พ.ศ.2548-2552 ก็ได้เริ่มชักชวนดึงแขกเข้ามาเยี่ยมชมผลงาน ปี พ.ศ.2557 เริ่มมีเครื่องมือช่วยเรื่องกระบวนการทา ต่างๆ  ปัจจุบันก็มีชาวต่างชาติให้ความสนใจเป็นอย่างมา และเข้ามาดูงาน อยู่เรื่อยๆ
  • 7. จากนั้นก็มีนักท่องเที่ยวก็เข้ามาชมสวนสับปะรดด้วยและก็ยังไง หน่วยงานและภาครัฐต่างๆเข้ามาช่วยสุดท้ายเทศบาลตา บลนางแล ก็เข้ามาช่วยจึงได้จดทะเบียนลิขสิทธ์ิสับปะรดเป็นพันธุ์นางแลจาก พันธุ์น้า ผึ้ง ปัจจุบันก็มีกลุ่มผู้สนใจเข้ามาศึกษาดูงานตลอด อย่างเช่น นักศึกษา จากมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ,มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เป็น ต้น
  • 8. กระบวนการผลิต กระดาษใยสับปะรด ใช้กระบวนการผลิตเดียวกับ การผลิตกระดาษสา โดยใช้แรงงานคน อุปกรณ์และ เครื่องมือต่าง ๆ จากวัสดุที่หาได้ในท้องถิ่นเป็นหลัก ซึ่ง มีขั้นตอนการผลิตดังนี้ คือ
  • 9.
  • 10. การผลิตกระดาษใยสับปะรด ใช้เทคโนโลยีการผลิต อุปกรณ์และเครื่องมือจากวัสดุที่หาได้ในท้องถิ่นเป็นหลัก จัดเป็น อุตสาหกรรมและหัตถกรรมในครัวเรือน โดยเทคนิคการผลิต กระดาษใยสับปะรด มีดังนี้
  • 11. 1.การต้มเยื่อ การต้มเยื่อแต่ละครั้ง ใช้ใบสับปะรด 14 กิโลกรัม โซดาไฟ 1 กิโลกรัมน้า ประมาณ 18 ลิตร ต้มด้วยกะทะขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 36 นิ้ว เป็นเวลา 3-4 ชั่วโมง ถ้าต้องการฟอกนาเยื่อเติมผงคลอรีน หรือ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 100 กรัม ผสมให้เข้ากันทิ้งไว้ประมาณ 15 นาที ล้างให้สะอาดเติมสีย้อมผ้า 1 ซอง แล้วนา ไปผลิตเป็นแผ่นกระดาษ ได้ 20 แผ่น ขนาดของกระดาษ 55x80 เซนติเมตร
  • 12. 2.การล้างใบสับปะรดในน้า ก่อนนา ใบสับปะรดไปแช่หรือล้างน้า ควรเลือกและตัดแต่งส่วนที่สกปรก มากหรือเป็นเชื้อราที่ไม่สามารถล้างออกด้วยน้า ได้ทิ้งไปเพื่อให้ได้กระดาษที่มี คุณภาพดี การล้างใบสับปะรดให้ล้างด้วยน้า สะอาดเพื่อให้เศษดิน ทราย และสิ่ง สกปรกต่าง ๆ ที่ติดมาหลุดร่วงออกไป วิธีการล้างที่ดีควรแช่ไว้พักหนึ่งก่อน เพื่อให้สิ่งสกปรกต่าง ๆ อ่อนตัวและล้างออกได้โดยง่าย หากมีบ่อล้างหรือ ภาชนะแช่อื่น ๆ เพียงพอ อาจแช่น้า ไว้ข้ามคืนแล้วค่อยล้างออกก็ได้
  • 13. 3.การต้มใบสับปะรดด้วยโซดาไฟ การต้มด้วยโซดาไฟ (โซเดียมไฮดรอกไซด์ ) ที่มีฤทธ์ิเป็นด่าง จะทา ให้ใบสับปะรด เปื่อยยุ่ยเมื่อนา ไปตีเยื่อจะแตกตัวได้ดี การดู ว่าใบสับปะรดที่ต้มได้ที่หรือยังสามารถทดสอบได้ด้วยการใช้มือ บีบดูหากใบสับปะรดนิ่มเละโดยง่ายแสดงว่าต้มได้ที่แล้วให้ตัก ขึ้นพักไว้ก่อนเพื่อให้คลายตัวแล้วจึงนา ไปล้างน้า สะอาดต่อไป การต้มใบสับปะรด น้า ต้มที่ผสมโซดาไฟที่เหลือจากการต้มใบ สับปะรดครั้งที่ 1 สามารถใช้ในการต้มใบสับปะรดครั้งที่ 2 และ 3 ได้
  • 14. โดยไม่ต้องเปลี่ยนน้า ในการต้ม เพียงใส่โซดาไฟเพิ่ม จา นวน 3 ใน 5 ส่วนของการต้มครั้งแรกและเติมน้า ทดแทนน้า ที่สูญเสียไปกับการต้มก็สามารถใช้ต้มได้ดีเช่นเดียวกับการต้ม ครั้งแรก การต้มในครั้งที่ 2 และ 3 จะประหยัดเวลาและ เชื้อเพลิงในการต้ม เนื่องจากน้า ต้มนั้นมีความร้อนอยู่แล้ว ข้อ ควรระวังในการต้มใบสับปะรดด้วยโซฟาไฟ คือ การใช้ อัตราส่วนของโซดาไฟสูงเกินไปจะทา ลายเยื่อใบสับปะรดที่มี ความบางเยื่อที่ได้จะเละเป็นผงละเอียดเล็ก ๆ
  • 15. และลอดตะแกรงที่ใช้ทา เป็นแผ่นกระดาษ นอกจากนั้นอุณหภูมิของการต้มเป็นสิ่งสา คัญต้องรักษา อุณหภูมิของการต้มให้สม่า เสมอประมาณ 100 องศา เซลเซียส ตลอดระยะเวลาของการต้ม หากอุณหภูมิต่า กว่า จะทา ให้การเปื่อยยุ่ยของเยื่อเนิ่นนานออกไปมากกว่า ระยะเวลาที่กา หนดได้ทา ให้เสียเวลาและเสียเชื้อเพลิงใน การต้ม
  • 16. 4.ล้างด้วยน้า สะอาด นา เยื่อที่ผ่านการต้มมาล้างโซดาไฟออกให้หมดด้วยน้า สะอาด 2 - 3 ครั้ง เยื่อที่ล้างด้วยโซดาไฟไม่หมดอาจทา ให้กระดาษมีคุณภาพไม่ดี กรอบแห้งเมื่อเก็บไว้นาน ๆ เยื่อที่ได้จากการต้มจะมีลักษณะเปื่อยยุ่ยและ ไม่เป็นชิ้นเป็นเส้น เช่น เยื่อปอสา การล้างเยื่อสับปะรดจึงต้องใช้ถุงผ้าตา ข่ายไนล่อนตาถี่ชนิดเดียวกับที่ใช้ตะแกรง หล่อกระดาษใส่ และล้างอีกที หนึ่งเพื่อรักษาเยื่อไว้ไม่ให้เสียไปกับน้า ที่ใช้ล้าง การระบายน้า ของเยื่อไม่ ดีเท่าปอสา จึงต้องใช้วิธีการเหยียบให้น้า ระบายร่วมกับการล้างเยอื่
  • 17. 5.การฟอกขาวเยื่อ การฟอกขาว จะใช้วิธีการฟอกขาวด้วยการต้มด้วยไฮโดรเจน เปอร์ออกไซด์ เข้มข้น 50% และโซเดียมซิลิเกต ในอัตราส่วน ไฮโดรเจน-เปอร์ออกไซด์ 10%, โซเดียมซิลิเกต 5% ของน้า หนัก เยื่อใบสับปะรด หลังการต้มด้วยโซดาไฟ คือ ใช้ไฮโดรเจนเปอร์ ออกไซด์ 100 กรัม โซเดียมซิลิเกต 50 กรัมต่อน้า หนักเยื่อใบ สับปะรด หลังการต้มที่ใช้ในการผลิต 1 กิโลกรัม ใส่ลงในน้า ที่ ใช้ในการต้มประมาณ 5 ลิตร
  • 18. เมื่อน้า เริ่มร้อนแต่ยังไม่เดือด โดยสังเกตได้จากน้า เริ่มมี ไอลอยที่บริเวณผิวหน้าและมีเสียงร้องของน้า จึงเติม ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ลงไปก่อนและใช้ไม้กวนละลาย แล้วจึงเติมโซเดียมซิลิเกตลงไป แล้วใช้ไม้กวนละลายให้ เข้ากัน (ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์จะเป็นตัวทา ปฏิกิริยาใน การฟอกขาวเยื่อ แต่มีคุณสมบัติที่ระเหยไปในอากาศได้ โดยง่าย ส่วนโซเดียมซิลิเกตจะช่วยรั้งเปรียบเสมือนกับ ฉนวนกั้นไม่ให้ไฮโดรเจน-เปอร์ออกไซด์ระเหยไป โดยง่าย)
  • 19. ใส่เยื่อใบสับปะรดลงต้มที่อุณหภูมิประมาณ 80 - 90 องศาเซลเซียส ใช้เวลาในการต้มประมาณ 20-30 นาที ระหว่างการต้มใช้ไม้กวนเป็นระยะ ๆ เพื่อให้เยื่อพลิกไป พลิกมาเพื่อให้ได้สัมผัสและรับสารเคมีในการฟอกอย่าง ทั่วถึง
  • 20. การฟอกเยื่อขาว อาจใช้การฟอกขาว ด้วยการแช่น้า ผสม คลอรีนทา ได้เป็นเวลาประมาณ 12 ชั่วโมง แต่มีข้อเสีย คือ คลอรีนเป็นสารเคมีที่มีฤทธ์ิตกค้างนานสลายตัวตาม ธรรมชาติได้ยาก น้า ผสมคลอรีนที่เหลือจากการฟอกขาว หากไม่มีการบา บัดที่ดีจะเป็นผลเสียต่อสภาพแวดล้อมได้ ซึ่ง ต่างจากไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ที่สามารถสลายตัวได้ง่าย กว่าล้างด้วยน้า สะอาด จากนั้นนา เยื่อที่ผ่านการฟอกขาวมา ล้างด้วยน้า สะอาดประมาณ 2-3 ครั้ง เพื่อให้หมดจากสารเคมี ที่ใช้ในการฟอกขาว
  • 21. 6.การย้อมสี เป็นขั้นตอนที่ต้องการกระดาษสีหากไม่ใช้การผลิตกระดาษ สีสามารถข้ามขั้นตอนนี้สู่การทา แผ่นกระดาษได้เลย การย้อมสี เยื่อสับปะรดนี้ใช้การย้อมสีที่เรียกว่า การย้อมเย็นโดยใช้สี ประเภท Reactive หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า “สีซอง” สี ประเภทนี้ราคาถูกใช้ได้ผลดี จากการทดลองกับเยื่อจากใบ สับปะรดทา ให้ลดต้นทุนการผลิตได้ดี การย้อมสีเยื่อกระดาษ จากใบสับปะรดมีขั้นตอนการย้อมเช่นเดียวกับการย้อมสี เส้นด้ายฝ้าย โดยมีขั้นตอนการย้อม ดังนี้
  • 22. วิธีการย้อม ตวงน้า ตามที่กา หนด จากนั้นนา สีตามต้องการละลายใน น้า อุ่น (ปริมาณพอสมควรที่จะละลายสีได้หมด) นา มาเทลงใน น้า ที่ตวงได้ การตวงน้า ครั้งแรกควรปรับลดตามปริมาณน้า อุ่นที่ ใช้ผสมสีด้วย คนให้สีเข้ากับน้า จึงนา เยื่อกระดาษจากใบ สับปะรด (อาจเป็นเยื่อที่ผ่านการฟอกขาวหรือเยื่อที่ไม่ฟอกขาวก็ ได้) ลงคลุกกับน้า สีโดยใช้มือคลุกพลิกไปพลิกมาจนสีจับเยอื่ กระดาษสม่า เสมอกัน ใส่เกลือ 100 กรัม คนและคลุกเคล้ากับเยอื่ กระดาษให้ทั่วกับเยื่อกระดาษให้ทั่วกันตั้งทิ้งไว้25 นาที
  • 23. หลังจากนั้นเติมเกลือส่วนที่เหลือ 100 กรัม กับโซดา แอช 100 กรัม ลงไปคลุกกับเยื่อกระดาษจนทั่วอีกครั้ง หนึ่ง ตั้งทิ้งไว้ 1 ชั่วโมง จากนั้นจึงนา มาล้างด้วยน้า สะอาดหลาย ๆ ครั้ง จนเห็นว่าสีส่วนเกินไม่ละลาย ออกมากับน้า แล้ว จึงได้เยื่อกระดาษจากใบสับปะรดย้อม สีพร้อมทา แผ่นต่อไปเยื่อกระดาษจากใบสับปะรดที่ใช้ใน การย้อมสีสามารถใช้ได้ทั้งเยื่อที่ไม่ผ่านการฟอกขาวเยอื่ และเยื่อที่ผ่านการฟอกขาวแล้วล้างด้วยน้า สะอาด
  • 24. ล้างเยื่อที่ผ่านการย้อมสีแล้วด้วยน้า สะอาดประมาณ 2 ครั้ง เพื่อกา จัดสีส่วนเกินออกไปให้หมด ทดสอบหลังการ ล้างด้วยน้า สะอาดแล้วด้วยการบีบเยื่อดูหากน้า ไหล ออกมาจากเยื่อเป็นน้า ใสสะอาดแสดงว่าล้างสะอาดดีแล้ว แต่ถ้ายังมีสีปนออกมาอยู่ต้องล้างต่อให้สะอาด เยอื่ที่ล้าง ไม่สะอาดจะมีผลต่อการตกสีของกระดาษได้
  • 25. 7.การทา แผ่นกระดาษ การทา แผ่นกระดาษ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “การหล่อ กระดาษ” การทา แผ่นกระดาษจากใบสับปะรดนี้จะทา แผ่นกระดาษด้วยวิธีที่เรียกว่า “การแตะกระดาษ” ด้วยการนาเยื่อ มาปั้นเป็นก้อนบีบน้า ออกพอประมาณ ชั่งให้ได้น้า หนักตามที่ ต้องการ (กระดาษมาตรฐาน คือ 55 x 80 เซนติเมตร น้า หนักเยื่อ เปียก 3 ขีด หรือ 300 กรัม)
  • 26. ละลายก้อนเยื่อลงในตะแกรงที่ลอยอยู่ในน้า ในอ่าง แตะกระดาษ ใช้มือกระจายให้ทั่วเยื่อตะแกรง การที่จะให้เยื่อกระจายตัวสม่า เสมอ ทั่วทั้งแผ่นด้วยการใช้ฝ่ามือหรือหลังมือตีน้า เบาๆ ทั่วทั้งแผ่น จึง เรียกว่า “การแตะ” จากนั้นค่อย ๆ ยกตะแกรงขึ้นตรง ๆ เพื่อไม่ให้เยอื่ กระดาษเลื่อนตัวไปทางใดทางหนึ่ง แล้วจึงวางตะแกรงบนรางไม้ที่ วางเรียงกันสองอันในแนวราบเพื่อให้กระดาษหมดน้า พักหนึ่งจึงยก ออกไปตากต่อไป
  • 27. 8.การตากกระดาษ นาตะแกรงกระดาษไปตากแดด ประมาณ 1 ชั่วโมง จึงนาเข้า ตากในร่มหรือในที่มีแดดราไร ที่มีอากาศถ่ายเทได้ดี และ หลีกเลี่ยงที่มีลมแรงหรือลมกรรโชก การตากด้วยการหันหลัง ตะแกรงพิงกันทา มุมประมาณ 60 องศา เช่นเดียวกับการตาก กระดาษสา สาเหตุที่ต้องผึ่งกระดาษในสถานที่ร่ม โปร่งที่มีอากาศ ถ่ายเทได้ดีเพราะกระดาษสับปะรด
  • 28. มีการหดตัวสูง การตากในที่แดดจัดมาก ๆ จะทา ให้ กระดาษหดตัวอย่างรวดเร็ว และหลุดออกจากตะแกรง ยับย่นไม่เรียบร้อยทา ให้กระดาษไม่ได้คุณภาพ หาก ต้องการกระดาษหน้าเรียบเมื่อตากกระดาษจนหมดแล้ว ใช้ขันอลูมิเนียมขนาดเล็กที่มีน้า หนักเบา ขอบมนไม่มีคม ขัดลูบผิวหนังของกระดาษเบา ๆ จนหน้าเรียบทั่วแผ่น
  • 29. 9) การลอกกระดาษออกจากตะแกรง เมื่อกระดาษแห้งสนิทดีแล้วจึงลอกกระดาษออกจากตะแกรง ด้วยการแกะกระดาษไปที่มุมใดมุมหนึ่งแล้วใช้มืออีกข้างหนึ่งสอด เข้าไปใต้กระดาษดันให้กระดาษหลุดจนตลอดทั้งแผ่นก็จะได้ กระดาษจากใบสับปะรดพร้อมใช้งาน กระดาษใบสับปะรดที่ผลิตมีคุณภาพกระดาษที่หนาทา ให้มี ข้อจา กัดในการนา ไปใช้ประโยชน์อยู่มากโดยเฉพาะเมื่อเทียบกับ กระดาษสา กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร
  • 30. จึงนา เอากระดาษที่ผลิตได้ไปทา เป็นผลิตภัณฑ์ของใช้ของที่ ระลึกรูปแบบต่าง ๆ เช่น กล่องใส่ของหลายขนาดรูปร่างต่าง ๆ เช่น สี่เหลี่ยมวงรีหัวใจประดับด้วยดอกไม้ใบไม้ลวดลายเล็ก ๆ กล่องใส่กระดาษโน๊ต กรอบรูป กระดาษห่อของขวัญ กล่องใส่ ทิชชู ที่คั่นหนังสือ กล่องบุหงา สมุดโน๊ต และพวงกุญแจ เป็นต้น