SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 3
Descargar para leer sin conexión
การเขียนเซต
การเขียนเซตอาจเขียนได้2 แบบดังนี้
1. แบบแจกแจงสมาชิก เขียนสมาชิกทุกตัวของเซตลงในเครื่องหมายวงเล็บปีกกา “{ }” และใช้
เครื่องหมายจุลภาค ( , ) คั่นระหว่างสมาชิกแต่ละตัว เช่น
เซตของจานวนเซตที่น้อยกว่า 5 เขียนแทนด้วย { 1, 2, 3, 4 }
โดยทั่วไปจะแทนเซตด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ เช่น A, B, C และแทน
สมาชิกของเซตด้วยตัวพิมพ์เล็ก เช่น a, b และ c เช่น
A = { a, b, c } จะแทนเซต A ซึ่งมีสมาชิก 3 ตัวได้แก่ a, b และ c
ในการเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิกนั้นจะใช้จุดสามจุด “…” เพื่อแสดงว่ามีสมาชิกตัว
อื่นๆ ซึ่งเป็นที่เข้าใจกันทั่วไปว่ามีอะไรบ้างอยู่ในเซตนั้น ตัวอย่างเช่น { 1, 2, 3, … , 9}
สัญลักษณ์ ... แสดงว่ามี 4, 5, 6, 7 และ 8 เป็นสมาชิกของเซตนั้นด้วย
การเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก นิยมเขียนสมาชิกแต่ละตัวเพียงครั้งเดียวเท่านั้น
ตัวอย่างเช่น
ให้ D เป็นเซตของเลขโดดที่อยู่ในจานวน 121 เขียนเซต D แบบแจกแจงสมาชิกได้ดังนี้
D = { 1, 2 }
2. แบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก ใช้ตัวแปรเขียนแทนสมาชิกแล้วบรรยายสมบัติของสมาชิกที่
อยู่ในรูปของตัวแปร เช่น
A = { x | x เป็นชื่อวันในสัปดาห์ }
อ่านว่า A เป็นเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิก x โดยที่ x เป็นชื่อวันในหนึ่งสัปดาห์
เครื่องหมาย “ | ” แทนคาว่า โดยที่
กาหนดให้ A = { 2, 1/2 } จะเห็นว่า 2 และ 1/2 ต่างก็เป็นสมาชิกของเซต A คาว่า “เป็น
สมาชิกของ” หรือ “อยู่ใน” เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ “ ∈ ” เช่น
2 เป็นสมาชิกของเซต A หรือ 2 อยู่ในเซต A เขียนแทนด้วย 2 ∈ A
คาว่า “ไม่เป็นสมาชิกของ” เขียนแทนด้วย “∉” เช่น
1/3 ไม่เป็นสมาชิกของเซต A หรือ 1/3 ไม่อยู่ในเซต A เขียนแทนด้วย 1/3 ∉ A
ถ้าให้ I เป็นเซตของจานวนเต็ม จะได้2 ∈ I แต่ 1/2 ∉ I
เซตที่ไม่มีสมาชิก เรียกว่า เซตว่าง ( empty set หรือ noll set )
เซตว่างเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ “{ }” หรือ “∅” (∅ เป็นอักษรกรีกตรงกับคา
ภาษาอังกฤษว่า phi ) ตัวอย่างเช่น
ให้ B = { x | x เป็นจานวนจริง และ x + 1 = x }จะได้ว่า B = ∅
เซตจากัดและเซตอนันต์ ( Finite and infinite sete )
เซตที่มีจานวนสมาชิกเท่ากับจานวนเต็มบวกใดๆ หรือศูนย์เรียกว่า เซตจากัด
ตัวอย่างของเซตจากัด เช่น
{ 1, 2, 3, … , 20 }
เซตของชื่อจังหวัดในประเทศไทยที่มีคาว่า “นคร”
เซตที่ไม่ใช่เซตจากัดเรียกว่า เซตอนันต์
ตัวอย่างของเซตอนันต์เช่น
{ 1, 2, 3, … }
{ 1, 1/2 , 1/4 , 1/8 , …}
ข้อตกลงเกี่ยวกับเซต
1) เซตว่างเป็นเซตจากัด
2) เซตของจานวนที่มักจะกล่าวถึงเสมอ และใช้กันทั่วๆ ไป มีดังนี้
I+
เป็นเซตของจานวนเต็มบวก หรือ I+
= { 1, 2, 3,… }
I–
เป็นเซตของจานวนเต็มลบ หรือ I–
= { -1, -2, -3, … }
I เป็นเซตของจานวนเต็ม หรือ I = { 0, -1, 1, -2, 2, … }
N เป็นเซตของจานวนนับ หรือ N = { 1, 2, 3, … }
เซตที่เท่ากัน ( equal set or identical sets )
กาหนดให้ A = { 0, 1, 2, 3 } และ B = { 1, 0, 3, 2 } เซตทั้งสองนี้มีสมาชิกเหมือนกันทุก
ตัวแม้ลาดับของสมาชิกจะต่างกันก็ถือว่าเซตทั้งสองคือเซตเดียวกัน หรือกล่าวได้ว่า เซต A
เท่ากับ เซต B เขียนแทนด้วย A = B
เซต A เท่ากับ เซต B หมายถึง สมาชิกทุกตัวของเซต A เป็นสมาชิก
ของเซต B และ สมาชิกทุกตัวของเซต B เป็นสมาชิกของเซต A
เซต A ไม่เท่ากับ เซต B หมายความว่า มีสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งตัวของเซต A สมาชิก
ของเซต B หรือมีสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งตัวของเซต B ที่ไม่ใช่สมาชิกของเซต A เขียนแทนด้วย
A ≠ B เช่น
A = { 1, 2, 3 } และ B = { 1, 2 }
จะเห็นว่า 3 ∈ A แต่ 3 ∉ B
ดังนั้น A ≠ B
ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 1 สสวท.

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตkroojaja
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตPoochai Bumroongta
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซตNuchita Kromkhan
 
สัญลักษณ์ของเซต
สัญลักษณ์ของเซตสัญลักษณ์ของเซต
สัญลักษณ์ของเซตAon Narinchoti
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตตSomrak Sokhuma
 
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทChokchai Taveecharoenpun
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตChokchai Taveecharoenpun
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริงKruGift Girlz
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
เอกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์เอกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์Aon Narinchoti
 
ประเภทของเซต
ประเภทของเซตประเภทของเซต
ประเภทของเซตAon Narinchoti
 

La actualidad más candente (19)

เซต
เซตเซต
เซต
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้นทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
สัญลักษณ์ของเซต
สัญลักษณ์ของเซตสัญลักษณ์ของเซต
สัญลักษณ์ของเซต
 
ผลต่าง
ผลต่างผลต่าง
ผลต่าง
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตต
 
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 
4ชนิดของเซต
4ชนิดของเซต4ชนิดของเซต
4ชนิดของเซต
 
M4 1-เซต
M4 1-เซตM4 1-เซต
M4 1-เซต
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
Set
SetSet
Set
 
เอกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์เอกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์
 
ประเภทของเซต
ประเภทของเซตประเภทของเซต
ประเภทของเซต
 

Similar a การเขียนเซต

หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตจูน นะค่ะ
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตTutor Ferry
 
การเขียนเซต2
การเขียนเซต2การเขียนเซต2
การเขียนเซต2knawarat
 
01ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 2201241001ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 22012410waradakhantee
 
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซตเล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซตteachersaman
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตDecha Sirigulwiriya
 
เซต (Sets)
เซต (Sets)เซต (Sets)
เซต (Sets)Tum Anucha
 
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอนเขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอนNuchy Suchanuch
 
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่ปณพล ดาดวง
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันAon Narinchoti
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ Areeya Onnom
 

Similar a การเขียนเซต (20)

Set1
Set1Set1
Set1
 
Set krupom
Set krupomSet krupom
Set krupom
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
การเขียนเซต2
การเขียนเซต2การเขียนเซต2
การเขียนเซต2
 
01ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 2201241001ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 22012410
 
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซตเล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
 
Set2555
Set2555Set2555
Set2555
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
 
เซต (Sets)
เซต (Sets)เซต (Sets)
เซต (Sets)
 
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอนเขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
 
Set sheet
Set sheetSet sheet
Set sheet
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
Set
SetSet
Set
 
งานนำเสนอSet
งานนำเสนอSetงานนำเสนอSet
งานนำเสนอSet
 
6เอกภพสัมพัทธ์
6เอกภพสัมพัทธ์6เอกภพสัมพัทธ์
6เอกภพสัมพัทธ์
 
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
งาน
งานงาน
งาน
 

Más de Nuchita Kromkhan

1205031717370093 12060822224206
1205031717370093 120608222242061205031717370093 12060822224206
1205031717370093 12060822224206Nuchita Kromkhan
 
1205031717370093 12060822224155
1205031717370093 120608222241551205031717370093 12060822224155
1205031717370093 12060822224155Nuchita Kromkhan
 
สับเซตและพาวเวอร์เซต
สับเซตและพาวเวอร์เซตสับเซตและพาวเวอร์เซต
สับเซตและพาวเวอร์เซตNuchita Kromkhan
 
เอกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์เอกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์Nuchita Kromkhan
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์Nuchita Kromkhan
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์Nuchita Kromkhan
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์Nuchita Kromkhan
 

Más de Nuchita Kromkhan (8)

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
1205031717370093 12060822224206
1205031717370093 120608222242061205031717370093 12060822224206
1205031717370093 12060822224206
 
1205031717370093 12060822224155
1205031717370093 120608222241551205031717370093 12060822224155
1205031717370093 12060822224155
 
สับเซตและพาวเวอร์เซต
สับเซตและพาวเวอร์เซตสับเซตและพาวเวอร์เซต
สับเซตและพาวเวอร์เซต
 
เอกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์เอกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 

การเขียนเซต

  • 1. การเขียนเซต การเขียนเซตอาจเขียนได้2 แบบดังนี้ 1. แบบแจกแจงสมาชิก เขียนสมาชิกทุกตัวของเซตลงในเครื่องหมายวงเล็บปีกกา “{ }” และใช้ เครื่องหมายจุลภาค ( , ) คั่นระหว่างสมาชิกแต่ละตัว เช่น เซตของจานวนเซตที่น้อยกว่า 5 เขียนแทนด้วย { 1, 2, 3, 4 } โดยทั่วไปจะแทนเซตด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ เช่น A, B, C และแทน สมาชิกของเซตด้วยตัวพิมพ์เล็ก เช่น a, b และ c เช่น A = { a, b, c } จะแทนเซต A ซึ่งมีสมาชิก 3 ตัวได้แก่ a, b และ c ในการเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิกนั้นจะใช้จุดสามจุด “…” เพื่อแสดงว่ามีสมาชิกตัว อื่นๆ ซึ่งเป็นที่เข้าใจกันทั่วไปว่ามีอะไรบ้างอยู่ในเซตนั้น ตัวอย่างเช่น { 1, 2, 3, … , 9} สัญลักษณ์ ... แสดงว่ามี 4, 5, 6, 7 และ 8 เป็นสมาชิกของเซตนั้นด้วย การเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก นิยมเขียนสมาชิกแต่ละตัวเพียงครั้งเดียวเท่านั้น ตัวอย่างเช่น ให้ D เป็นเซตของเลขโดดที่อยู่ในจานวน 121 เขียนเซต D แบบแจกแจงสมาชิกได้ดังนี้ D = { 1, 2 } 2. แบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก ใช้ตัวแปรเขียนแทนสมาชิกแล้วบรรยายสมบัติของสมาชิกที่ อยู่ในรูปของตัวแปร เช่น A = { x | x เป็นชื่อวันในสัปดาห์ } อ่านว่า A เป็นเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิก x โดยที่ x เป็นชื่อวันในหนึ่งสัปดาห์ เครื่องหมาย “ | ” แทนคาว่า โดยที่ กาหนดให้ A = { 2, 1/2 } จะเห็นว่า 2 และ 1/2 ต่างก็เป็นสมาชิกของเซต A คาว่า “เป็น สมาชิกของ” หรือ “อยู่ใน” เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ “ ∈ ” เช่น 2 เป็นสมาชิกของเซต A หรือ 2 อยู่ในเซต A เขียนแทนด้วย 2 ∈ A คาว่า “ไม่เป็นสมาชิกของ” เขียนแทนด้วย “∉” เช่น 1/3 ไม่เป็นสมาชิกของเซต A หรือ 1/3 ไม่อยู่ในเซต A เขียนแทนด้วย 1/3 ∉ A ถ้าให้ I เป็นเซตของจานวนเต็ม จะได้2 ∈ I แต่ 1/2 ∉ I
  • 2. เซตที่ไม่มีสมาชิก เรียกว่า เซตว่าง ( empty set หรือ noll set ) เซตว่างเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ “{ }” หรือ “∅” (∅ เป็นอักษรกรีกตรงกับคา ภาษาอังกฤษว่า phi ) ตัวอย่างเช่น ให้ B = { x | x เป็นจานวนจริง และ x + 1 = x }จะได้ว่า B = ∅ เซตจากัดและเซตอนันต์ ( Finite and infinite sete ) เซตที่มีจานวนสมาชิกเท่ากับจานวนเต็มบวกใดๆ หรือศูนย์เรียกว่า เซตจากัด ตัวอย่างของเซตจากัด เช่น { 1, 2, 3, … , 20 } เซตของชื่อจังหวัดในประเทศไทยที่มีคาว่า “นคร” เซตที่ไม่ใช่เซตจากัดเรียกว่า เซตอนันต์ ตัวอย่างของเซตอนันต์เช่น { 1, 2, 3, … } { 1, 1/2 , 1/4 , 1/8 , …} ข้อตกลงเกี่ยวกับเซต 1) เซตว่างเป็นเซตจากัด 2) เซตของจานวนที่มักจะกล่าวถึงเสมอ และใช้กันทั่วๆ ไป มีดังนี้ I+ เป็นเซตของจานวนเต็มบวก หรือ I+ = { 1, 2, 3,… } I– เป็นเซตของจานวนเต็มลบ หรือ I– = { -1, -2, -3, … } I เป็นเซตของจานวนเต็ม หรือ I = { 0, -1, 1, -2, 2, … } N เป็นเซตของจานวนนับ หรือ N = { 1, 2, 3, … } เซตที่เท่ากัน ( equal set or identical sets ) กาหนดให้ A = { 0, 1, 2, 3 } และ B = { 1, 0, 3, 2 } เซตทั้งสองนี้มีสมาชิกเหมือนกันทุก ตัวแม้ลาดับของสมาชิกจะต่างกันก็ถือว่าเซตทั้งสองคือเซตเดียวกัน หรือกล่าวได้ว่า เซต A เท่ากับ เซต B เขียนแทนด้วย A = B เซต A เท่ากับ เซต B หมายถึง สมาชิกทุกตัวของเซต A เป็นสมาชิก ของเซต B และ สมาชิกทุกตัวของเซต B เป็นสมาชิกของเซต A
  • 3. เซต A ไม่เท่ากับ เซต B หมายความว่า มีสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งตัวของเซต A สมาชิก ของเซต B หรือมีสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งตัวของเซต B ที่ไม่ใช่สมาชิกของเซต A เขียนแทนด้วย A ≠ B เช่น A = { 1, 2, 3 } และ B = { 1, 2 } จะเห็นว่า 3 ∈ A แต่ 3 ∉ B ดังนั้น A ≠ B ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 1 สสวท.