SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 22
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 5
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
อ.อรคพัฒร์ บัวลม
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
ความหมายของการบริโภค
การบริโภคในทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง การใช้ประโยชน์จาก
สินค้าและบริการเพื่อสนองความต้องการของมนุษย์รวมถึงการนาสินค้า
และบริการมาใช้ประโยชน์เพื่อการผลิตเป็นสินค้าและบริการอื่นๆ
การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคเป็นการศึกษาพฤติกรรมในการ
ตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าและบริการต่างๆ เพื่อให้ได้รับความพอใจสูงสุด
จากงบประมาณที่มีอยู่อย่างจากัด
ประเภทของการบริโภค
1. การบริโภคสินค้าไม่คงทน (nondurable goods consumption) คือการ
บริโภคสิ่งของชนิดใดชนิดหนึ่งแล้วสิ่งของชนิดนั้นจะสิ้นเปลืองหรือใช้
หมดไป การบริโภคลักษณะนี้เรียกว่า destruction เช่น การบริโภคน้า
อาหาร ยารักษาโรค น้ามันเชื้อเพลิง ฯลฯ
2. การบริโภคสินค้าคงทน (durable goods consumption) คือการบริโภค
สิ่งของอย่างใด อย่างหนึ่งโดยสิ่งของนั้นยังคงใช้ได้อีก การบริโภค
ลักษณะนี้เรียกว่า diminution เช่น การอาศัยบ้านเรือน การใช้รถยนต์ พัด
ลม โทรทัศน์ ฯลฯ อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าสินค้าคงทนเหล่านี้จะใช้แล้ว
ไม่หมดไปในทีเดียว แต่ก็จะค่อยๆสึกหรอไป จนในที่สุดจะไม่สามารถ
นามาใช้ได้อีก
ปัจจัยที่ใช้กาหนดการบริโภค
1. รายได้ของผู้บริโภค
2. ราคาของสินค้าและบริการ
3. ปริมาณเงินหมุนเวียนที่อยู่ในมือ
4. ปริมาณของสินค้าในตลาด
5. การคาดคะเนราคาของสินค้าหรือบริการในอนาคต
6. ระบบการค้าและการชาระเงิน
1. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Utility Theory)
อรรถประโยชน์ หมายถึง ความพอใจของผู้บริโภคที่ได้บริโภค
สินค้าและบริการ ที่เป็นเพียงความรู้สึกไม่สามารถนับได้
ทฤษฎีอรรถประโยชน์
- ความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้าและบริการใน
ขณะหนึ่ง
- สามารถวัดค่าได้
- หน่วย “ยูทิล” (Util)
2. กฎการลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้าย
(The Law of Diminishing Marginal Utility)
อรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม(Marginal Utility : MU) หมายถึง ความ
พอใจที่เพิ่มขึ้น เมื่อได้บริโภคเพิ่มขึ้น 1 หน่วย
ความรู้สึกพึงพอใจจะยิ่งลดลงไปตามลาดับหน่วยที่บริโภคมากขึ้น
MUn = TUn - TUn – 1
MUn = TU
Q
ความพอใจที่เพิ่มขึ้นเมื่อ
ได้รับข้าวเพิ่มขึ้น
จาก 0 เป็น 1 ชาม
- 25
04
43
82
101
-0
ความพอใจ ส่วนเพิ่ม
MU (ยูทิล)
ข้าว(ชาม)
ความพอใจที่เพิ่มขึ้นเมื่อ
ได้รับข้าวเพิ่มขึ้น
จาก 2 เป็น 3 ชาม
3.ตารางอรรถประโยชน์ (Utility Table)
กฎการลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม (MU) มีค่าลดลงเมื่อได้
บริโภคสินค้าเพิ่มขึ้น
อรรถประโยชน์รวม (Total Utility : TU) คือ ผลรวมของ
อรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม (MU) ที่ได้จากการบริโภคสินค้าตั้งแต่หน่วย
แรกถึงหน่วยที่กาลังพิจารณาอยู่
TUn = MU1 + MU2 + MU3 + . . . + MUn
n
TUn =  MUi
i = 1
TU
(ยูทิล)
20
22
22
18
10
0
- 25
04
43
82
101
-0
MU
(ยูทิล)
ข้าว (ชาม)
TU : Total Utility
(อรรถประโยชน์รวม)
MU: Marginal Utility
(อรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม)
10 – 10 = 0
18 – 10 = 8
22 – 18 = 4
22 – 22 = 0
20 – 22 = -2
0 + 10 = 10
10 + 8 = 18
18 + 4 = 22
22 + 0 = 22
22 + (-2) = 20
n
TUn =  MUii = 1
MUn =
TU
Q
(22-18)
(3-2)
= 4
10 + 8 + 4 + 0 + (-2) = 20
เส้นอรรถประโยชน์ (Utility Curve)
20
TU,MU
MU
TU
Q
1
10
0
-2
2 3 4 5 6
ข้าว TU MU
0 0 -
1 10 10
2 18 8
3 22 4
4 22 0
5 20 -2
4. ดุลยภาพของผู้บริโภค (Consumer Equilibrium) ตามทฤษฎีอรรถประโยชน์
ดุลยภาพของผู้บริโภค หมายถึง ความพอใจสูงสุดของผู้บริโภคที่
ตัดสินใจเลือกบริโภคสินค้าและบริการภายใต้งบประมาณหรือรายได้ที่
จากัด
ผู้บริโภคต้องตัดสินใจว่าจะต้องใช้จ่ายอย่างไรจึงจะได้รับความพอใจ
สูงสุด (maximum satisfaction) ถ้ามีเงินเหลือก็จะซื้อสินค้าที่ให้ความพอใจ
สูงลดลงตามลาดับ
เนื่องจากสินค้าแต่ละชนิดมีราคาไม่เท่ากัน ดังนั้น MU ของสินค้า
ทุกชนิดจึงไม่สามารถนามาเปรียบเทียบกันได้ ต้องทาให้สินค้ามีราคา
เท่ากันก่อนนามาเปรียบเทียบ
วิธีปรับให้ราคาเท่ากัน คือ หาร MU ด้วยราคาของสินค้านั้น
ซึ่งเป็นภาวะที่ทาให้ผู้บริโภคได้รับอรรถประโยชน์สูงสุด
MUA
PA
=
MUB
PB
=
MUC
PC
=
MUN
PN
= ……
ตารางอรรถประโยชน์เพิ่มของการซื้อสินค้า 3 ชนิด ถ้ารายได้ของ
ผู้บริโภค เท่ากับ 430 บาท ดุลยภาพจะเกิดขึ้นที่ A4, B3, C5
จานวน
สินค้า
สินค้า A 60 บาท สินค้า B 30 บาท สินค้า C 20 บาท
MUA MUA/PA MUB MUB/PB MUC MUC/PC
1 130 130/60= 2.1 70 70/30= 2.3 51 51/20= 2.5
2 128 128/60= 2.13 62
62/30=
2.07
50 50/20= 2.5
3 128 128/60= 2.13 60 60/30= 2 48 48/20= 2.4
4 120 120/60 = 2 52
52/30=
1.73
41 41/20= 2.5
5 112 112/60= 1.87 45 45/30= 1.5 40 40/20 = 2
ส่วนประกอบของสินค้าที่ A4, B3, C5 เท่านั้น ที่จะทาให้อัตราส่วน
MU ของสินค้าแต่ละชนิดเท่ากันหมด และมีราคารวมกันเท่ากับ 430 บาท
MUA
PA
=
MUB
PB
=
MUC
PC
120
60 =
60
30 =
40
20 = 2
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น = (60*4)+(30*3)+(20*5)
= 240 + 90 + 100
= 430
** การหาดุลยภาพ
ของผู้บริโภคโดยวิธี
อรรถประโยชน์
ในทางปฏิบัติเป็นไป
ได้ยาก
5. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน(Indifference Curve Theory)
เส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference curve : IC) หมายถึง เส้นที่
แสดงการบริโภคสินค้า 2 ชนิดในสัดส่วนที่แตกต่างกันแต่ได้รับความ
พอใจที่เท่ากันตลอดทั้งเส้น ไม่ว่าจะเลือกบริโภคที่จุดใดของเส้น มี
แผนการบริโภคสินค้าอย่างไร ผู้บริโภคก็จะได้รับความพอใจที่เท่ากันทั้ง
เส้น
เส้น IC ของผู้บริโภคคนหนึ่งๆ มีได้หลายเส้นเนื่องจากความพอใจ
ของผู้บริโภคมีได้หลายระดับ แต่ละเส้นแทนความพอใจหนึ่งระดับ เส้น
IC ที่แสดงความพอใจในระดับที่สูงกว่าจะอยู่ด้านขวามือของเส้นที่
แสดงความพอใจในระดับที่ต่ากว่า
สินค้า x
สินค้า y
0
IC3
IC2
IC1
เส้น IC ลักษณะเส้น IC
1. เป็นเส้นที่มีค่าความชัน
(slope)เป็นลบ แสดงว่าสินค้า 2
ชนิดสามารถทดแทนกันได้
2. ส่วนมากเป็นเส้นโค้งเว้าเข้าหา
จุดกาเนิด (convex to the
origin) สินค้า 2 ชนิดสามารถ
ทดแทนกันได้ในอัตราที่ลดลง
3. เส้น IC ที่อยู่สูงกว่า จะแสดง
ความพอใจมากกว่าเส้นที่อยู่ต่า
กว่า
6. อัตราหน่วยสุดท้ายของการทดแทนกันระหว่างสินค้า 2 ชนิด
(Marginal Rate of Substitution : MRS)
MRS หมายถึง การบริโภคสินค้าชนิดหนึ่งลดลงเมื่อบริโภคสินค้า
อีกชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้น 1 หน่วย เพื่อรักษาระดับความพอใจของผู้บริโภคให้
คงเดิม โดยสมมุติให้ สินค้า 2 ชนิด คือ X และY
ถ้าบริโภค X น้อยลง บริโภค Y มากขึ้น
MRSYX = (Y แทน X)
ถ้าบริโภค Y น้อยลง บริโภค X มากขึ้น
MRSXY = (X แทน Y)
X
Y
Y
X
ตารางแสดงจานวนการเลือกซื้อสินค้า 2 ชนิด ซึ่งจะทาให้ได้ความพอใจเท่ากัน
ของผู้บริโภค หรือ แผนการซื้อต่างๆ ที่จะทาให้ผู้บริโภคได้รับความพอใจเท่ากัน
แผนการ
ซื้อสินค้า
สินค้า
Y
Y สินค้า
X
X
A 30 - 5 - - -
B 18 12 10 5 -12/5 -5/12
C 13 5 15 5 -5/5 -5/5
D 10 3 20 5 -3/5 -5/3
E 8 2 25 5 -2/5 -5/2
F 7 1 30 5 -1/5 -5/1
- Y
X
- X
Y
530-18 = 12
0
5 10 15 20 25 30
X
Y
5
10
15
20
25
30
IC
A
B
C
D
E F
(Y10,X20)
(Y7,X30)
(Y30,X5)
(Y18,X10)
(Y13,X15)
(Y8,X25)
X
Y
MRSYX =
- X
Y
= (5-10)
(30-18)
= - 5
12
= - 0.46
7. เส้นงบประมาณหรือเส้นราคา(Budget Line or Price Line)
เส้นราคาหรืองบประมาณ หมายถึง เส้นที่แสดงการเลือกซื้อสินค้า 2
ชนิด ในปริมาณต่างๆ ที่ซื้อด้วยเงินจานวนจากัด
สมมติให้เงินงบประมาณคือ 1,000 บาท
ซื้อสินค้า 2 อย่าง X ราคา 25 บาท (X อย่างเดียว 40 หน่วย)
Y ราคา 10 บาท (Y อย่างเดียว 100 หน่วย)
ดังนั้น งบประมาณ = (จานวนสินค้าX)(ราคาต่อหน่วย)+(จานวนสินค้าY)(ราคาต่อหน่วยY)
= X.PX + YPY
= X(25)+Y(10)
A ถ้าซื้อ X อย่างเดียว 1,000 บาท B ถ้าซื้อ Y อย่างเดียว 1,000 บาท
25X = 1,000 10Y = 1,000
X = 1,000/25 Y = 1,000/10
= 40 หน่วย = 100 หน่วย
C ถ้าซื้อสินค้า 2 ชนิด
1,000 = X.PX + Y.PY
= 20(25)+50(10)
= 500+500
= 1,000
D 1,000 = 6(25)+85(10)
= 150+850
= 1,000
20 30 40
X
Y
A
B
C
100
50
D85
6
E
F
E จุดที่ใช้จ่ายต่ากว่างบประมาณ 1,000
F จุดที่ใช้จ่ายเกินงบประมาณ 1,000
เส้นงบประมาณ
8. ดุลยภาพของผู้บริโภค (Consumer Equilibrium) ตามทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน
ดุลยภาพของผู้บริโภค หมายถึง ภาวะที่ทาให้ผู้บริโภคได้รับ
อรรถประโยชน์หรือความพอใจสูงสุดภายใต้ข้อจากัดแห่งงบประมาณที่มี
อยู่ เมื่อเข้าสู่ภาวะดังกล่าวแล้วจะไม่มีแนวโน้มที่ผู้บริโภคจะปรับเปลี่ยน
ปริมาณการบริโภคสินค้าชนิดต่างๆอีก
นั่นคือ ดุลยภาพของผู้บริโภคจะเกิดขึ้นที่จุดสัมผัส (tangent) ของเส้น
IC และเส้นงบประมาณ
ณ จุดสัมผัส (E) ความชันของเส้น IC = ความชันของเส้นงบประมาณ
MRSxy = -Px/Py
ณ จุดสัมผัส (E) ความชันของเส้น IC = ความชันของเส้นงบประมาณ
MRSxy = (PX)
(PY)
20 40
สินค้าX
สินค้าY
100
50 E
IC1
IC2
IC3
B
A D
0

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานPattapong Promchai
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคtumetr1
 
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพการกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพtumetr1
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)Areewan Plienduang
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินtumetr1
 
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1วีระยศ เพชรภักดี
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
Elasticity
ElasticityElasticity
Elasticitybnongluk
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดtumetr1
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณOrnkapat Bualom
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตOrnkapat Bualom
 

La actualidad más candente (20)

Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
 
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพการกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
 
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
Elasticity
ElasticityElasticity
Elasticity
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาด
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 

Similar a บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค

หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์Orawonya Wbac
 
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภคทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภคVolunteerCharmSchool
 
Mk212powerpoint
Mk212powerpointMk212powerpoint
Mk212powerpointthanaporn
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาดpronprom11
 
บทที่ 05 พฤติกรรมผู้บริโภค รวมอธิบาย จาก วิฑูรย์ DBA 09 SPU
บทที่ 05 พฤติกรรมผู้บริโภค รวมอธิบาย จาก วิฑูรย์ DBA 09 SPUบทที่ 05 พฤติกรรมผู้บริโภค รวมอธิบาย จาก วิฑูรย์ DBA 09 SPU
บทที่ 05 พฤติกรรมผู้บริโภค รวมอธิบาย จาก วิฑูรย์ DBA 09 SPUwitoonSupprakit
 
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์krunimsocial
 
หัวอกคนจน ว่ากันด้วยค่าใช้จ่ายแต่ละเดือน
หัวอกคนจน ว่ากันด้วยค่าใช้จ่ายแต่ละเดือนหัวอกคนจน ว่ากันด้วยค่าใช้จ่ายแต่ละเดือน
หัวอกคนจน ว่ากันด้วยค่าใช้จ่ายแต่ละเดือนAbaca Auaa
 
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์thnaporn999
 
9789740329848
97897403298489789740329848
9789740329848CUPress
 
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...นางสาวสุธาสิน? ศีรทำมา
 
ระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจPonpirun Homsuwan
 
เรื่องที่ 2กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค00
เรื่องที่ 2กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค00เรื่องที่ 2กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค00
เรื่องที่ 2กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค00JeenNe915
 

Similar a บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค (20)

หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
 
Introgecon
IntrogeconIntrogecon
Introgecon
 
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภคทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
 
Market
MarketMarket
Market
 
Mk212powerpoint
Mk212powerpointMk212powerpoint
Mk212powerpoint
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาด
 
สรุปสาระที่ 3. เศรษฐศาสตร์
สรุปสาระที่  3. เศรษฐศาสตร์สรุปสาระที่  3. เศรษฐศาสตร์
สรุปสาระที่ 3. เศรษฐศาสตร์
 
สรุปสาระที่ 3. เศรษฐศาสตร์
สรุปสาระที่  3. เศรษฐศาสตร์สรุปสาระที่  3. เศรษฐศาสตร์
สรุปสาระที่ 3. เศรษฐศาสตร์
 
บทที่ 05 พฤติกรรมผู้บริโภค รวมอธิบาย จาก วิฑูรย์ DBA 09 SPU
บทที่ 05 พฤติกรรมผู้บริโภค รวมอธิบาย จาก วิฑูรย์ DBA 09 SPUบทที่ 05 พฤติกรรมผู้บริโภค รวมอธิบาย จาก วิฑูรย์ DBA 09 SPU
บทที่ 05 พฤติกรรมผู้บริโภค รวมอธิบาย จาก วิฑูรย์ DBA 09 SPU
 
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
 
Prin.mkt mid term exam review
Prin.mkt mid term exam review Prin.mkt mid term exam review
Prin.mkt mid term exam review
 
หัวอกคนจน ว่ากันด้วยค่าใช้จ่ายแต่ละเดือน
หัวอกคนจน ว่ากันด้วยค่าใช้จ่ายแต่ละเดือนหัวอกคนจน ว่ากันด้วยค่าใช้จ่ายแต่ละเดือน
หัวอกคนจน ว่ากันด้วยค่าใช้จ่ายแต่ละเดือน
 
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
 
Consumer Rights
Consumer RightsConsumer Rights
Consumer Rights
 
9789740329848
97897403298489789740329848
9789740329848
 
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
 
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...
 
ระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจ
 
เรื่องที่ 2กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค00
เรื่องที่ 2กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค00เรื่องที่ 2กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค00
เรื่องที่ 2กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค00
 

Más de Ornkapat Bualom

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน Ornkapat Bualom
 
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจMacro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลOrnkapat Bualom
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานOrnkapat Bualom
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 

Más de Ornkapat Bualom (10)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
 
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจMacro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 

บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค

  • 2. ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค ความหมายของการบริโภค การบริโภคในทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง การใช้ประโยชน์จาก สินค้าและบริการเพื่อสนองความต้องการของมนุษย์รวมถึงการนาสินค้า และบริการมาใช้ประโยชน์เพื่อการผลิตเป็นสินค้าและบริการอื่นๆ การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคเป็นการศึกษาพฤติกรรมในการ ตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าและบริการต่างๆ เพื่อให้ได้รับความพอใจสูงสุด จากงบประมาณที่มีอยู่อย่างจากัด
  • 3. ประเภทของการบริโภค 1. การบริโภคสินค้าไม่คงทน (nondurable goods consumption) คือการ บริโภคสิ่งของชนิดใดชนิดหนึ่งแล้วสิ่งของชนิดนั้นจะสิ้นเปลืองหรือใช้ หมดไป การบริโภคลักษณะนี้เรียกว่า destruction เช่น การบริโภคน้า อาหาร ยารักษาโรค น้ามันเชื้อเพลิง ฯลฯ 2. การบริโภคสินค้าคงทน (durable goods consumption) คือการบริโภค สิ่งของอย่างใด อย่างหนึ่งโดยสิ่งของนั้นยังคงใช้ได้อีก การบริโภค ลักษณะนี้เรียกว่า diminution เช่น การอาศัยบ้านเรือน การใช้รถยนต์ พัด ลม โทรทัศน์ ฯลฯ อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าสินค้าคงทนเหล่านี้จะใช้แล้ว ไม่หมดไปในทีเดียว แต่ก็จะค่อยๆสึกหรอไป จนในที่สุดจะไม่สามารถ นามาใช้ได้อีก
  • 4. ปัจจัยที่ใช้กาหนดการบริโภค 1. รายได้ของผู้บริโภค 2. ราคาของสินค้าและบริการ 3. ปริมาณเงินหมุนเวียนที่อยู่ในมือ 4. ปริมาณของสินค้าในตลาด 5. การคาดคะเนราคาของสินค้าหรือบริการในอนาคต 6. ระบบการค้าและการชาระเงิน
  • 5. 1. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Utility Theory) อรรถประโยชน์ หมายถึง ความพอใจของผู้บริโภคที่ได้บริโภค สินค้าและบริการ ที่เป็นเพียงความรู้สึกไม่สามารถนับได้ ทฤษฎีอรรถประโยชน์ - ความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้าและบริการใน ขณะหนึ่ง - สามารถวัดค่าได้ - หน่วย “ยูทิล” (Util)
  • 6. 2. กฎการลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้าย (The Law of Diminishing Marginal Utility) อรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม(Marginal Utility : MU) หมายถึง ความ พอใจที่เพิ่มขึ้น เมื่อได้บริโภคเพิ่มขึ้น 1 หน่วย ความรู้สึกพึงพอใจจะยิ่งลดลงไปตามลาดับหน่วยที่บริโภคมากขึ้น MUn = TUn - TUn – 1 MUn = TU Q
  • 7. ความพอใจที่เพิ่มขึ้นเมื่อ ได้รับข้าวเพิ่มขึ้น จาก 0 เป็น 1 ชาม - 25 04 43 82 101 -0 ความพอใจ ส่วนเพิ่ม MU (ยูทิล) ข้าว(ชาม) ความพอใจที่เพิ่มขึ้นเมื่อ ได้รับข้าวเพิ่มขึ้น จาก 2 เป็น 3 ชาม 3.ตารางอรรถประโยชน์ (Utility Table) กฎการลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม (MU) มีค่าลดลงเมื่อได้ บริโภคสินค้าเพิ่มขึ้น
  • 8. อรรถประโยชน์รวม (Total Utility : TU) คือ ผลรวมของ อรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม (MU) ที่ได้จากการบริโภคสินค้าตั้งแต่หน่วย แรกถึงหน่วยที่กาลังพิจารณาอยู่ TUn = MU1 + MU2 + MU3 + . . . + MUn n TUn =  MUi i = 1
  • 9. TU (ยูทิล) 20 22 22 18 10 0 - 25 04 43 82 101 -0 MU (ยูทิล) ข้าว (ชาม) TU : Total Utility (อรรถประโยชน์รวม) MU: Marginal Utility (อรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม) 10 – 10 = 0 18 – 10 = 8 22 – 18 = 4 22 – 22 = 0 20 – 22 = -2 0 + 10 = 10 10 + 8 = 18 18 + 4 = 22 22 + 0 = 22 22 + (-2) = 20 n TUn =  MUii = 1 MUn = TU Q (22-18) (3-2) = 4 10 + 8 + 4 + 0 + (-2) = 20
  • 10. เส้นอรรถประโยชน์ (Utility Curve) 20 TU,MU MU TU Q 1 10 0 -2 2 3 4 5 6 ข้าว TU MU 0 0 - 1 10 10 2 18 8 3 22 4 4 22 0 5 20 -2
  • 11. 4. ดุลยภาพของผู้บริโภค (Consumer Equilibrium) ตามทฤษฎีอรรถประโยชน์ ดุลยภาพของผู้บริโภค หมายถึง ความพอใจสูงสุดของผู้บริโภคที่ ตัดสินใจเลือกบริโภคสินค้าและบริการภายใต้งบประมาณหรือรายได้ที่ จากัด ผู้บริโภคต้องตัดสินใจว่าจะต้องใช้จ่ายอย่างไรจึงจะได้รับความพอใจ สูงสุด (maximum satisfaction) ถ้ามีเงินเหลือก็จะซื้อสินค้าที่ให้ความพอใจ สูงลดลงตามลาดับ
  • 12. เนื่องจากสินค้าแต่ละชนิดมีราคาไม่เท่ากัน ดังนั้น MU ของสินค้า ทุกชนิดจึงไม่สามารถนามาเปรียบเทียบกันได้ ต้องทาให้สินค้ามีราคา เท่ากันก่อนนามาเปรียบเทียบ วิธีปรับให้ราคาเท่ากัน คือ หาร MU ด้วยราคาของสินค้านั้น ซึ่งเป็นภาวะที่ทาให้ผู้บริโภคได้รับอรรถประโยชน์สูงสุด MUA PA = MUB PB = MUC PC = MUN PN = ……
  • 13. ตารางอรรถประโยชน์เพิ่มของการซื้อสินค้า 3 ชนิด ถ้ารายได้ของ ผู้บริโภค เท่ากับ 430 บาท ดุลยภาพจะเกิดขึ้นที่ A4, B3, C5 จานวน สินค้า สินค้า A 60 บาท สินค้า B 30 บาท สินค้า C 20 บาท MUA MUA/PA MUB MUB/PB MUC MUC/PC 1 130 130/60= 2.1 70 70/30= 2.3 51 51/20= 2.5 2 128 128/60= 2.13 62 62/30= 2.07 50 50/20= 2.5 3 128 128/60= 2.13 60 60/30= 2 48 48/20= 2.4 4 120 120/60 = 2 52 52/30= 1.73 41 41/20= 2.5 5 112 112/60= 1.87 45 45/30= 1.5 40 40/20 = 2
  • 14. ส่วนประกอบของสินค้าที่ A4, B3, C5 เท่านั้น ที่จะทาให้อัตราส่วน MU ของสินค้าแต่ละชนิดเท่ากันหมด และมีราคารวมกันเท่ากับ 430 บาท MUA PA = MUB PB = MUC PC 120 60 = 60 30 = 40 20 = 2 รวมเป็นเงินทั้งสิ้น = (60*4)+(30*3)+(20*5) = 240 + 90 + 100 = 430 ** การหาดุลยภาพ ของผู้บริโภคโดยวิธี อรรถประโยชน์ ในทางปฏิบัติเป็นไป ได้ยาก
  • 15. 5. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน(Indifference Curve Theory) เส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference curve : IC) หมายถึง เส้นที่ แสดงการบริโภคสินค้า 2 ชนิดในสัดส่วนที่แตกต่างกันแต่ได้รับความ พอใจที่เท่ากันตลอดทั้งเส้น ไม่ว่าจะเลือกบริโภคที่จุดใดของเส้น มี แผนการบริโภคสินค้าอย่างไร ผู้บริโภคก็จะได้รับความพอใจที่เท่ากันทั้ง เส้น เส้น IC ของผู้บริโภคคนหนึ่งๆ มีได้หลายเส้นเนื่องจากความพอใจ ของผู้บริโภคมีได้หลายระดับ แต่ละเส้นแทนความพอใจหนึ่งระดับ เส้น IC ที่แสดงความพอใจในระดับที่สูงกว่าจะอยู่ด้านขวามือของเส้นที่ แสดงความพอใจในระดับที่ต่ากว่า
  • 16. สินค้า x สินค้า y 0 IC3 IC2 IC1 เส้น IC ลักษณะเส้น IC 1. เป็นเส้นที่มีค่าความชัน (slope)เป็นลบ แสดงว่าสินค้า 2 ชนิดสามารถทดแทนกันได้ 2. ส่วนมากเป็นเส้นโค้งเว้าเข้าหา จุดกาเนิด (convex to the origin) สินค้า 2 ชนิดสามารถ ทดแทนกันได้ในอัตราที่ลดลง 3. เส้น IC ที่อยู่สูงกว่า จะแสดง ความพอใจมากกว่าเส้นที่อยู่ต่า กว่า
  • 17. 6. อัตราหน่วยสุดท้ายของการทดแทนกันระหว่างสินค้า 2 ชนิด (Marginal Rate of Substitution : MRS) MRS หมายถึง การบริโภคสินค้าชนิดหนึ่งลดลงเมื่อบริโภคสินค้า อีกชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้น 1 หน่วย เพื่อรักษาระดับความพอใจของผู้บริโภคให้ คงเดิม โดยสมมุติให้ สินค้า 2 ชนิด คือ X และY ถ้าบริโภค X น้อยลง บริโภค Y มากขึ้น MRSYX = (Y แทน X) ถ้าบริโภค Y น้อยลง บริโภค X มากขึ้น MRSXY = (X แทน Y) X Y Y X
  • 18. ตารางแสดงจานวนการเลือกซื้อสินค้า 2 ชนิด ซึ่งจะทาให้ได้ความพอใจเท่ากัน ของผู้บริโภค หรือ แผนการซื้อต่างๆ ที่จะทาให้ผู้บริโภคได้รับความพอใจเท่ากัน แผนการ ซื้อสินค้า สินค้า Y Y สินค้า X X A 30 - 5 - - - B 18 12 10 5 -12/5 -5/12 C 13 5 15 5 -5/5 -5/5 D 10 3 20 5 -3/5 -5/3 E 8 2 25 5 -2/5 -5/2 F 7 1 30 5 -1/5 -5/1 - Y X - X Y 530-18 = 12 0 5 10 15 20 25 30 X Y 5 10 15 20 25 30 IC A B C D E F (Y10,X20) (Y7,X30) (Y30,X5) (Y18,X10) (Y13,X15) (Y8,X25) X Y MRSYX = - X Y = (5-10) (30-18) = - 5 12 = - 0.46
  • 19. 7. เส้นงบประมาณหรือเส้นราคา(Budget Line or Price Line) เส้นราคาหรืองบประมาณ หมายถึง เส้นที่แสดงการเลือกซื้อสินค้า 2 ชนิด ในปริมาณต่างๆ ที่ซื้อด้วยเงินจานวนจากัด สมมติให้เงินงบประมาณคือ 1,000 บาท ซื้อสินค้า 2 อย่าง X ราคา 25 บาท (X อย่างเดียว 40 หน่วย) Y ราคา 10 บาท (Y อย่างเดียว 100 หน่วย) ดังนั้น งบประมาณ = (จานวนสินค้าX)(ราคาต่อหน่วย)+(จานวนสินค้าY)(ราคาต่อหน่วยY) = X.PX + YPY = X(25)+Y(10)
  • 20. A ถ้าซื้อ X อย่างเดียว 1,000 บาท B ถ้าซื้อ Y อย่างเดียว 1,000 บาท 25X = 1,000 10Y = 1,000 X = 1,000/25 Y = 1,000/10 = 40 หน่วย = 100 หน่วย C ถ้าซื้อสินค้า 2 ชนิด 1,000 = X.PX + Y.PY = 20(25)+50(10) = 500+500 = 1,000 D 1,000 = 6(25)+85(10) = 150+850 = 1,000 20 30 40 X Y A B C 100 50 D85 6 E F E จุดที่ใช้จ่ายต่ากว่างบประมาณ 1,000 F จุดที่ใช้จ่ายเกินงบประมาณ 1,000 เส้นงบประมาณ
  • 21. 8. ดุลยภาพของผู้บริโภค (Consumer Equilibrium) ตามทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน ดุลยภาพของผู้บริโภค หมายถึง ภาวะที่ทาให้ผู้บริโภคได้รับ อรรถประโยชน์หรือความพอใจสูงสุดภายใต้ข้อจากัดแห่งงบประมาณที่มี อยู่ เมื่อเข้าสู่ภาวะดังกล่าวแล้วจะไม่มีแนวโน้มที่ผู้บริโภคจะปรับเปลี่ยน ปริมาณการบริโภคสินค้าชนิดต่างๆอีก นั่นคือ ดุลยภาพของผู้บริโภคจะเกิดขึ้นที่จุดสัมผัส (tangent) ของเส้น IC และเส้นงบประมาณ ณ จุดสัมผัส (E) ความชันของเส้น IC = ความชันของเส้นงบประมาณ MRSxy = -Px/Py
  • 22. ณ จุดสัมผัส (E) ความชันของเส้น IC = ความชันของเส้นงบประมาณ MRSxy = (PX) (PY) 20 40 สินค้าX สินค้าY 100 50 E IC1 IC2 IC3 B A D 0