SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 23
คุณธรรมและจริยธรรมด้านไอซี
ที
คุณธรรมและจริยธรรมด้านไอซี
ที
1. ความหมายของคาว่า คุณธรรมและจริยธรรม
2. คุณธรรม จริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
3. ผลที่เกิดจากการขาดคุณธรรม จริยธรรมด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศ
4. จรรยาบรรณวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศ
5. กฎหมายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. ความหมายของคาว่า คุณธรรมและจริยธรรม
1.1 ความหมายของคุณธรรม
พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตสถาน (2530 : 190) ได้ให้
ความหมายของ คุณธรรมว่า คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงามความดี
หรือหน้าที่อันพึงมีอยู่ในตัว
ลิขิต ธีรเวคิน (2548) ได้กล่าวไว้ว่า คุณธรรม คือ จิต
วิญญาณของปัจเจกบุคคล ศาสนาและอุดมการณ์ เป็ นดวงวิญญาณ
ของปัจเจกบุคคลและสังคมด้วย ปัจเจกบุคคลต้องมีวิญญาณ สังคม
ต้องมีจิตวิญญาณ คุณธรรมของปัจเจกบุคคลอยู่ที่การกล่อมเกลา
เรียนรู้โดยพ่อแม่ สถาบันการศึกษา ศาสนา พรรคการเมืองและองค์กร
ของรัฐ
1. ความหมายของคาว่า คุณธรรมและจริยธรรม
1.1 ความหมายของคุณธรรม
รองศาสตราจารย์ ดร. ทิศนา แขมมณี (2546 : 4) ได้ให้
ความหมายไว้ว่า คุณธรรม หมายถึง คุณลักษณะหรือสภาวะภายใน
จิตใจของมนุษย์ที่เป็ นไปในทางที่ถูกต้อง ดีงาม ซึ่งเป็ นภาวะนามธรรม
อยู่ในจิตใจ
สัญญา สัญญาวิวัฒน์ (2527 : 387) ได้ให้ความหมายว่า
คุณธรรม หมายถึง ความดี ความงาม ความซื่อสัตย์ ความพอดี ความ
อดทน ขยันหมั่นเพียร
1. ความหมายของคาว่า คุณธรรมและจริยธรรม
1.2 ความหมายของจริยธรรม
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2542 : 291) ได้ให้
ความหมายของคาว่า จริยธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็ นข้อประพฤติปฏิบัติ
ศีลธรรม กฎศีลธรรม
คาว่า จริยธรรม มาจากคาว่า จะริยะ ซึ่งเป็ นภาษาบาลี แปลว่า
อันบุคคลควรประพฤติ ความประพฤติกรรม
คาว่า ธรรม ซึ่งเป็ นคาภาษาสันสกฤต แปลว่า หน้าที่ การทรงไว้
กฎเกณฑ์ การปฏิบัติ ความดีงาม ความถูกต้อง จริยธรรมจึงเป็ น
คาสมาส มีความหมายตามรูปศัพท์ว่า หน้าที่ที่บุคคลควรประพฤติ
1. ความหมายของคาว่า คุณธรรมและจริยธรรม
1.2 ความหมายของจริยธรรม
จริยธรรมตามความหมายของนักวิชาการต่างประเทศ ให้ความหมาย
ของจริยธรรมเน้นหนักไปที่สังคมโดยให้สังคมเป็ นตัวกาหนด รวมเรียกว่า
พฤติกรรมทางสังคม ดังจะเห็นความหมายจากนักวิชาการต่าง ๆ เหล่านี้ เช่น
Jean Piaget (1932 : 1) ได้ให้ความหมายไว้ว่าจริยธรรม คือ
องค์ประกอบของกฎเกณฑ์ ที่บุคคลยอมรับว่าถูก ว่าดี ว่าควร เพื่อให้
ได้รับการยอมรับจากสังคม
1. ความหมายของคาว่า คุณธรรมและจริยธรรม
1.2 ความหมายของจริยธรรม
Lawrence Kohlberg (1976 : 4-5) ให้คาจากัดความไว้ว่า “จริยธรรม
เป็ นพื้นฐานของความยุติธรรมถือเอาการกระจายสิทธิและหน้าที่อย่างเท่าเทียมกัน
โดยมิได้หมายถึงกฎเกณฑ์ที่บังคับทั่วไปแต่เป็ นกฎเกณฑ์ที่มีความเป็ นสากลที่คน
ส่วนใหญ่รับไว้ ทุกสถานการณ์ไม่มีการขัดแย้งเป็ นอุดมคติ”
James Rest (1976 : 6) ให้ความหมายไว้ว่า จริยธรรมเป็ นมโนทัศน์ที่
เกี่ยวข้องกับหลักความยุติธรรม ในการมีปฏิสัมพันธ์กันในสังคม โดยไม่เกี่ยวข้อง
กับคุณค่าหรือความรู้สึกส่วนตัวของแต่ละบุคคล
1. ความหมายของคาว่า คุณธรรมและจริยธรรม
1.2 ความหมายของจริยธรรม
Albert Schweitzer พัชนี นันทศักดิ์ และคณะ (2549 : 47) ให้คา
จากัดความไว้ว่า จริยธรรม คือ ความเอาใจใส่ต่อพฤติกรรมที่ดี คนเรามีหน้าที่
ไม่ใช่แต่เพียงเพื่อสวัสดิภาพของตัวเราเท่านั้นแต่ต้องคานึงถึงสวัสดิภาพของผู้อื่น
ด้วย
ส่วนจริยธรรมตามความหมายของนักวิชาการในประเทศไทยให้ความหมายเน้นไปที่ความประพฤติ
ของบุคคล ความหมายของจริยธรรมจากนักวิชาการหลายท่านดังต่อไปนี้
วศิน อินทสระ ได้ให้ความหมาย จริยธรรม หมายถึง ความประพฤติ การ
กระทา ความคิดที่ถูกต้องเหมาะสม การทาหน้าที่ของตนอย่างสมบูรณ์ เว้นในสิ่งที่
ควรเว้นกระทาในสิ่งที่ควรกระทาด้วยความฉลาด รอบคอบ รู้เหตุรู้ผล ถูกต้อง
กาลเทศะและบุคคล
1. ความหมายของคาว่า คุณธรรมและจริยธรรม
1.2 ความหมายของจริยธรรม
ดุจเดือน พันธุมนาวิน (2551 : 2) ให้ความหมายครอบคลุมว่า
จริยธรรม หมายถึง ลักษณะทางสังคมหลายลักษณะของมนุษย์และมีขอบเขต
รวมถึงพฤติกรรมทางสังคมประเภทต่าง ๆ อันเป็ นที่ยอมรับของสังคม
จากที่กล่าวมาแล้วข้างต้นสรุปได้ว่า จริยธรรม หมายถึง หลักประพฤติ
ปฏิบัติที่ถูกต้องเหมาะสมกับการทาหน้าที่ของตนอย่างสมบูรณ์และสอดคล้องกับ
มาตรฐานที่ดีงามอันเป็ นที่ยอมรับของสังคมของกลุ่มคนหรือกลุ่มบุคคล
2. คุณธรรม จริยธรรมด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศ
โดยทั่วไปเมื่อพิจารณาถึงคุณธรรม จริยธรรมเกี่ยวกับด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศ จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น ซึ่งประกอบด้วย
1. ความเป็ นส่วนตัว (Information Privacy)
2. ความถูกต้อง (Information Accuracy)
3. ความเป็ นเจ้าของ (Information Property)
4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility)
3. ผลที่เกิดจากการขาดคุณธรรม จริยธรรม
ด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศผลที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศโดยไม่คานึงถึงคุณธรรม
จริยธรรมการใช้งานคอมพิวเตอร์และเครือข่ายร่วมกันให้เป็นระเบียบ อาจทาให้เกิด
ปัญหาต่างๆเช่น
 ทาให้เกิดอาชญากรรม
 ทาให้ความสัมพันธ์ของมนุษย์เสื่อมถอย
 ทาให้หมิ่นเหม่ต่อการเกิดสงคราม
โรคติดคอมพิวเตอร์
Pict.Source : http://www.dmc.tv/images/articles/picture_article/com-syndrome.jpg
4. จรรยาบรรณวิชาชีพเทคโนโลยี
สารสนเทศจรรยาบรรณ หมายถึง “ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการ
งานแต่ละอย่างที่กาหนดขึ้น เพื่อ รักษาและส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียง และฐาน
ของสมาชิก อาจเขียนเป็ นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้”
จรรยาบรรณเป็ นจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพ ผู้ประกอบ
อาชีพสาขาต่างๆ พึงตระหนักและปฏิบัติ ให้เป็ นไปตามแนวทางที่จะอานวย
ประโยชน์สุขทั้งแก่ตนเองและผู้อื่นในสังคมด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และ
ยุติธรรม
Pict.Source : http://www.digital-tonic.co.uk/wp-content/uploads/2015/01/ethics-624x375.png
4. จรรยาบรรณวิชาชีพเทคโนโลยี
สารสนเทศจรรยาบรรณการใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็ นการประมวลหลักจริยธรรมที่
เกี่ยวข้องกับการใช้ คอมพิวเตอร์ขึ้นเป็ นลายลักษณ์อักษร มีดังต่อไปนี้
1. จรรยาบรรณต่อตนเอง
2. จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมงาน
3. จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
4. จรรยาบรรณต่อสังคม
5. จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
Pic source : https://lh3.googleusercontent.com/-PP5mmHFySbg/AAAAAAAAAAI/AAAAAAAAAAA/5koWJTRI-
ZE/photo.jpg
5. กฎหมายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วย
 พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 ที่ได้
ผนวกกฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และกฎหมายลายมือชื่อ
อิเล็กทรอนิกส์เข้าไว้ด้วยกัน เป็ นฉบับเดียว มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่
3 เมษายน พ.ศ. 2545
 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. 2550 มีผลบังคับ ใช้เมื่อวันที่18 กรกฎาคม พ.ศ. 2550
5. กฎหมายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
 5.1 พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
เนื่องด้วยพัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ในปัจจุบันทา ให้เกิดการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual
property) รูปแบบต่างๆ ได้แก่
- การละเมิดลิขสิทธิ์
- เครื่องหมายการค้า
- สิทธิบัตร
5. กฎหมายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
 5.1 พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
ลิขสิทธิ์ เป็ นการให้สิทธิ์แก่ผู้ผลิต หรือผู้ผลิต หรือผู้ประดิษฐ์เพียงผู้เดียว
ที่จะสามารถทาซ้า ดัดแปลง แก้ไข หรือจาหน่ายจ่ายแจกสิ่งผลงานที่ตนสร้าง
ขึ้น เช่น การดาวน์โหลดเพลง ภาพยนตร์ หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การนา
รูปภาพของผู้อื่นมาใช้งาน การนาผลงานวิชาการของผู้อื่นมาใช้ เป็ นต้น
การละเมิดลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้หมายถึง
1) การทาซ้า
2) การดัดแปลง
3) การเผยแพร่ต่อสาธารณชน
Pict.Source : http://www.ipthailand.go.th/index.php
http://www.teachthought.com/wp-
content/uploads/2013/10/creative-commons-copyright.jpg
5. กฎหมายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
 5.1 พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
เครื่องหมายการค้า คือ เครื่องหมายที่ใช้หรือจะใช้เป็ นเครื่องหมาย
เกี่ยวข้องกับสินค้า เพื่อแสดงว่าสินค้าที่ใช้เครื่องหมายของเจ้าของ
เครื่องหมายการค้านั้น แตกต่างกับสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคล
อื่น
เครื่องหมายการค้าที่จะขอจดทะเบียนได้ต้องมีคุณสมบัติตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า ไว้ทั้ง 3 ประการ ดังนี้
1. เป็ นเครื่องหมายการค้าที่มีลักษณะบ่งเฉพาะ
2. เป็ นเครื่องหมายการค้าที่ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย
3. ไม่เป็ นเครื่องหมายการค้าที่เหมือนหรือคล้ายกับเครื่องหมายการค้าที่
บุคคลอื่นได้จดทะเบียนไว้
Pict. Source : http://letstalklogodesign.com/wp-content/uploads/2014/08/Online-Logo-Design.jpg
5. กฎหมายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
 5.1 พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
สิทธิบัตร หมายถึง สิทธิพิเศษที่กฎหมายบัญญัติให้เจ้าของสิทธิบัตร มี
สิทธิแต่เพียงผู้เดียวในการแสวงหาประโยชน์จากการประดิษฐ์ หรือออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับสิทธิบัตรนั้น เช่น การผลิตและจาหน่าย เป็ นต้น
โดยการประดิษฐ์ที่จะได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายสิทธิบัตรต้องมี
คุณสมบัติ 3 ประการ คือ
1) เป็ นการประดิษฐ์ขึ้นใหม่ (Novelty)
2) มีขั้นตอนการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น (Novelty Step)
3) สามารถประยุกต์ในทางอุตสาหกรรมได้ (Industrial Applicability)
Pict. Source :
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%
95%E0%B8%A3&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ei=BgKYVdHNCtSLuASLvqyICg&ved=0CAcQ_AUoAQ
5. กฎหมายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
 5.2 พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544
กฎหมายฉบับนี้ต้องการรับรองการใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์และลายมือ
ชื่ออิเล็กทรอนิกส์และลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อธุรกรรมพาณิชย์ ตามร่าง
กฎหมายอันซิตรอล กาหนดให้ “พาณิชยกรรม” หมายถึง ธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับ
สิ่งต่อไปนี้
- การซื้อขาย แลกเปลี่ยนสินค้าหรือบริการ
- การเช่าและการเช่าซื้อ การบริการทางการเงินการธนาคาร
- การขนส่งสินค้าทางอากาศ ทางน้า ทางรถไฟ และทางบก
- การจัดจาหน่าย - การเป็ นตัวแทน
จาหน่าย
- การก่อสร้าง - การให้บริการปรึกษา
- การให้บริการทางวิศวกรรม - การประกันภัย
5. กฎหมายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
 5.3 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.
2550 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.
2550 ได้กาหนดฐานความผิด ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่
ควรเอาใจใส่ดูแลเป็นพิเศษ ดังนี้
1) การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
2) การเปิ ดเผยมาตรการป้ องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3) การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
4) การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
5) การทาลายหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
6) การระงับ ชลอ หรือขัดขวางการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
7) การส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์หรือไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์โดยปกปิ ด
หรือปลอมแปลงแหล่งที่มา
8) การนาเข้าหรือเผยแพร่ข้อมูลเท็จ ข้อมูลปลอม หรือข้อมูลที่มีลักษณะลามก
9) การเผยแพร่ภาพที่ตัดต่อด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
บทสรุป
เทคโนโลยีสารสนเทศ มีความสาคัญทั้งในปัจจุบันและ
อนาคตข้างหน้า เทคโนโลยีสารสนเทศนั้นมีบทบาทมากในปัจจุบัน
เป็ นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้นต้องใช้เทคโนโลยีเป็ นเครื่องมือใน
หลายๆด้าน อีกทั้งต้องตระหนักต่อการใช้งานในด้านคุณธรรม
จริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ใช้ เพื่อให้เกิดความเป็ นเลิศในการ
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
บรรณานุกรม
พิภัช ดวงคำสวัสดิ์.ชุดวิชำ 99409 ประสบกำรณ์วิชำชีพเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร. นนทบุรี :
มหำวิทยำลัยสุโขทัยธรรมำธิรำช, 2555.
วัชรพงษ์ ตำไฝ. (2556). จริยธรรมด้ำนเทคโนโลยีสำรสนเทศ. [ออนไลน์].เข้ำถึงได้จำก :
http://ethicsininformationtechnology.blogspot.com สืบค้น 26 มิถุนำยน 2558.
Thanpitcha Srisurong. (2556). จริยธรรมกฎหมำยสำหรับคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.[ออนไลน์].เข้ำถึงได้จำก :
http://katethanpitcha.blogspot.com/2013/08/blog-post_18.html สืบค้น 26 มิถุนำยน 2558.
Benz surasak. (2556). จริยธรรมทำงสำรสนเทศ.[ออนไลน์].เข้ำถึงได้จำก :
http://benzsurasak.blogspot.com/2013/08/9_12.html สืบค้น 26 มิถุนำยน 2558.
papitchaya phetphung. (2557). ควำมเป็นส่วนตัว จริยธรรมด้ำนไอที.[ออนไลน์].เข้ำถึงได้จำก :
http://qualitifying.blogspot.com สืบค้น 26 มิถุนำยน 2558.
Kusuma. (2554). ปัญหำสังคมจำกเทคโนโลยีสำรสนเทศ จริยธรรม และกฎหมำย.[ออนไลน์].เข้ำถึงได้จำก :
http://53440196.blogspot.com/2011/05/11.html สืบค้น 26 มิถุนำยน 2558.
จบการนาเสนอ
Q & A
ขอบคุณครับ

Más contenido relacionado

Destacado

Wayne Oliver Brandography PowerPoint
Wayne Oliver Brandography PowerPointWayne Oliver Brandography PowerPoint
Wayne Oliver Brandography PowerPointslidewayne
 
Craig Lockerd "BDC & Internet Department HR"
Craig Lockerd "BDC & Internet Department HR"Craig Lockerd "BDC & Internet Department HR"
Craig Lockerd "BDC & Internet Department HR"Sean Bradley
 
Madkour-1985-Journal_of_Chemical_Technology_and_Biotechnology._Chemical_Techn...
Madkour-1985-Journal_of_Chemical_Technology_and_Biotechnology._Chemical_Techn...Madkour-1985-Journal_of_Chemical_Technology_and_Biotechnology._Chemical_Techn...
Madkour-1985-Journal_of_Chemical_Technology_and_Biotechnology._Chemical_Techn...Al Baha University
 
M phil-computer-science-parallel-and-distributed-system-projects
M phil-computer-science-parallel-and-distributed-system-projectsM phil-computer-science-parallel-and-distributed-system-projects
M phil-computer-science-parallel-and-distributed-system-projectsVijay Karan
 
Paul Sansone Jr.: To Win The War Against Your Competition You Need a Strong A...
Paul Sansone Jr.: To Win The War Against Your Competition You Need a Strong A...Paul Sansone Jr.: To Win The War Against Your Competition You Need a Strong A...
Paul Sansone Jr.: To Win The War Against Your Competition You Need a Strong A...Sean Bradley
 
10.1007_s40090-015-0070-8 (Cover)
10.1007_s40090-015-0070-8 (Cover)10.1007_s40090-015-0070-8 (Cover)
10.1007_s40090-015-0070-8 (Cover)Al Baha University
 
Content Hub "Robotik im Pflegesektor"
Content Hub "Robotik im Pflegesektor"Content Hub "Robotik im Pflegesektor"
Content Hub "Robotik im Pflegesektor"Maisberger2012
 
ภาพกิจกรรมเทอม1 57-ok
ภาพกิจกรรมเทอม1 57-okภาพกิจกรรมเทอม1 57-ok
ภาพกิจกรรมเทอม1 57-okKhemjira_P
 
ابحاث د.لطفي حامد مدكور
ابحاث د.لطفي حامد مدكورابحاث د.لطفي حامد مدكور
ابحاث د.لطفي حامد مدكورAl Baha University
 
Esguince cervical
Esguince cervicalEsguince cervical
Esguince cervicalSky Yaya
 
Ken schwartz the five step guide to
Ken schwartz   the five step guide to Ken schwartz   the five step guide to
Ken schwartz the five step guide to Sean Bradley
 

Destacado (20)

Wayne Oliver Brandography PowerPoint
Wayne Oliver Brandography PowerPointWayne Oliver Brandography PowerPoint
Wayne Oliver Brandography PowerPoint
 
Craig Lockerd "BDC & Internet Department HR"
Craig Lockerd "BDC & Internet Department HR"Craig Lockerd "BDC & Internet Department HR"
Craig Lockerd "BDC & Internet Department HR"
 
The Outcome of Psychotherapy: Yesterday, Today, and Tomorrow
The Outcome of Psychotherapy: Yesterday, Today, and TomorrowThe Outcome of Psychotherapy: Yesterday, Today, and Tomorrow
The Outcome of Psychotherapy: Yesterday, Today, and Tomorrow
 
Young HR Connect
Young HR ConnectYoung HR Connect
Young HR Connect
 
6701732721 f
6701732721 f6701732721 f
6701732721 f
 
Madkour-1985-Journal_of_Chemical_Technology_and_Biotechnology._Chemical_Techn...
Madkour-1985-Journal_of_Chemical_Technology_and_Biotechnology._Chemical_Techn...Madkour-1985-Journal_of_Chemical_Technology_and_Biotechnology._Chemical_Techn...
Madkour-1985-Journal_of_Chemical_Technology_and_Biotechnology._Chemical_Techn...
 
M phil-computer-science-parallel-and-distributed-system-projects
M phil-computer-science-parallel-and-distributed-system-projectsM phil-computer-science-parallel-and-distributed-system-projects
M phil-computer-science-parallel-and-distributed-system-projects
 
Paul Sansone Jr.: To Win The War Against Your Competition You Need a Strong A...
Paul Sansone Jr.: To Win The War Against Your Competition You Need a Strong A...Paul Sansone Jr.: To Win The War Against Your Competition You Need a Strong A...
Paul Sansone Jr.: To Win The War Against Your Competition You Need a Strong A...
 
1 1 intro history
1 1 intro history1 1 intro history
1 1 intro history
 
Mob sec
Mob secMob sec
Mob sec
 
20 способов влюбить в себя любого
20 способов влюбить в себя любого20 способов влюбить в себя любого
20 способов влюбить в себя любого
 
Dr.amit seth
Dr.amit sethDr.amit seth
Dr.amit seth
 
10.1007_s40090-015-0070-8 (Cover)
10.1007_s40090-015-0070-8 (Cover)10.1007_s40090-015-0070-8 (Cover)
10.1007_s40090-015-0070-8 (Cover)
 
Content Hub "Robotik im Pflegesektor"
Content Hub "Robotik im Pflegesektor"Content Hub "Robotik im Pflegesektor"
Content Hub "Robotik im Pflegesektor"
 
ภาพกิจกรรมเทอม1 57-ok
ภาพกิจกรรมเทอม1 57-okภาพกิจกรรมเทอม1 57-ok
ภาพกิจกรรมเทอม1 57-ok
 
La sonrisa.pps
La sonrisa.ppsLa sonrisa.pps
La sonrisa.pps
 
ابحاث د.لطفي حامد مدكور
ابحاث د.لطفي حامد مدكورابحاث د.لطفي حامد مدكور
ابحاث د.لطفي حامد مدكور
 
Early civilizations
Early civilizationsEarly civilizations
Early civilizations
 
Esguince cervical
Esguince cervicalEsguince cervical
Esguince cervical
 
Ken schwartz the five step guide to
Ken schwartz   the five step guide to Ken schwartz   the five step guide to
Ken schwartz the five step guide to
 

Similar a คุณธรรมและจริยธรรมด้านไอซีที

มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์KruKaiNui
 
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยีหลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยีcomed
 
หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพหลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพdechathon
 
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าวทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าวSamorn Tara
 
บทที่3ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่3ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่3ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่3ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศnawapornsattasan
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรnakkee
 
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อมบทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อมTeetut Tresirichod
 
คอศ.1 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ...1 ต.ค.55
คอศ.1  คอมพิวเตอร์ธุรกิจ...1 ต.ค.55คอศ.1  คอมพิวเตอร์ธุรกิจ...1 ต.ค.55
คอศ.1 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ...1 ต.ค.55kvcthidarat
 
Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Wai Chamornmarn
 
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรมใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรมNattapon
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Connectivism Learning
 
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์teaw-sirinapa
 
Ethics
EthicsEthics
Ethicssa
 

Similar a คุณธรรมและจริยธรรมด้านไอซีที (20)

มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
 
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยีหลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
 
หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพหลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
 
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าวทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
 
test
testtest
test
 
บทที่3ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่3ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่3ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่3ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Shreet4-5
Shreet4-5Shreet4-5
Shreet4-5
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อมบทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
 
คอศ.1 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ...1 ต.ค.55
คอศ.1  คอมพิวเตอร์ธุรกิจ...1 ต.ค.55คอศ.1  คอมพิวเตอร์ธุรกิจ...1 ต.ค.55
คอศ.1 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ...1 ต.ค.55
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
Test58
Test58Test58
Test58
 
Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2
 
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรมใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
 
Week 3 DPUrt392 Aj.Morraget
Week 3 DPUrt392 Aj.MorragetWeek 3 DPUrt392 Aj.Morraget
Week 3 DPUrt392 Aj.Morraget
 
Ethics
EthicsEthics
Ethics
 
A01 (2)
A01 (2)A01 (2)
A01 (2)
 

คุณธรรมและจริยธรรมด้านไอซีที

  • 2. คุณธรรมและจริยธรรมด้านไอซี ที 1. ความหมายของคาว่า คุณธรรมและจริยธรรม 2. คุณธรรม จริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ผลที่เกิดจากการขาดคุณธรรม จริยธรรมด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ 4. จรรยาบรรณวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศ 5. กฎหมายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 3. 1. ความหมายของคาว่า คุณธรรมและจริยธรรม 1.1 ความหมายของคุณธรรม พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตสถาน (2530 : 190) ได้ให้ ความหมายของ คุณธรรมว่า คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงามความดี หรือหน้าที่อันพึงมีอยู่ในตัว ลิขิต ธีรเวคิน (2548) ได้กล่าวไว้ว่า คุณธรรม คือ จิต วิญญาณของปัจเจกบุคคล ศาสนาและอุดมการณ์ เป็ นดวงวิญญาณ ของปัจเจกบุคคลและสังคมด้วย ปัจเจกบุคคลต้องมีวิญญาณ สังคม ต้องมีจิตวิญญาณ คุณธรรมของปัจเจกบุคคลอยู่ที่การกล่อมเกลา เรียนรู้โดยพ่อแม่ สถาบันการศึกษา ศาสนา พรรคการเมืองและองค์กร ของรัฐ
  • 4. 1. ความหมายของคาว่า คุณธรรมและจริยธรรม 1.1 ความหมายของคุณธรรม รองศาสตราจารย์ ดร. ทิศนา แขมมณี (2546 : 4) ได้ให้ ความหมายไว้ว่า คุณธรรม หมายถึง คุณลักษณะหรือสภาวะภายใน จิตใจของมนุษย์ที่เป็ นไปในทางที่ถูกต้อง ดีงาม ซึ่งเป็ นภาวะนามธรรม อยู่ในจิตใจ สัญญา สัญญาวิวัฒน์ (2527 : 387) ได้ให้ความหมายว่า คุณธรรม หมายถึง ความดี ความงาม ความซื่อสัตย์ ความพอดี ความ อดทน ขยันหมั่นเพียร
  • 5. 1. ความหมายของคาว่า คุณธรรมและจริยธรรม 1.2 ความหมายของจริยธรรม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2542 : 291) ได้ให้ ความหมายของคาว่า จริยธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็ นข้อประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม กฎศีลธรรม คาว่า จริยธรรม มาจากคาว่า จะริยะ ซึ่งเป็ นภาษาบาลี แปลว่า อันบุคคลควรประพฤติ ความประพฤติกรรม คาว่า ธรรม ซึ่งเป็ นคาภาษาสันสกฤต แปลว่า หน้าที่ การทรงไว้ กฎเกณฑ์ การปฏิบัติ ความดีงาม ความถูกต้อง จริยธรรมจึงเป็ น คาสมาส มีความหมายตามรูปศัพท์ว่า หน้าที่ที่บุคคลควรประพฤติ
  • 6. 1. ความหมายของคาว่า คุณธรรมและจริยธรรม 1.2 ความหมายของจริยธรรม จริยธรรมตามความหมายของนักวิชาการต่างประเทศ ให้ความหมาย ของจริยธรรมเน้นหนักไปที่สังคมโดยให้สังคมเป็ นตัวกาหนด รวมเรียกว่า พฤติกรรมทางสังคม ดังจะเห็นความหมายจากนักวิชาการต่าง ๆ เหล่านี้ เช่น Jean Piaget (1932 : 1) ได้ให้ความหมายไว้ว่าจริยธรรม คือ องค์ประกอบของกฎเกณฑ์ ที่บุคคลยอมรับว่าถูก ว่าดี ว่าควร เพื่อให้ ได้รับการยอมรับจากสังคม
  • 7. 1. ความหมายของคาว่า คุณธรรมและจริยธรรม 1.2 ความหมายของจริยธรรม Lawrence Kohlberg (1976 : 4-5) ให้คาจากัดความไว้ว่า “จริยธรรม เป็ นพื้นฐานของความยุติธรรมถือเอาการกระจายสิทธิและหน้าที่อย่างเท่าเทียมกัน โดยมิได้หมายถึงกฎเกณฑ์ที่บังคับทั่วไปแต่เป็ นกฎเกณฑ์ที่มีความเป็ นสากลที่คน ส่วนใหญ่รับไว้ ทุกสถานการณ์ไม่มีการขัดแย้งเป็ นอุดมคติ” James Rest (1976 : 6) ให้ความหมายไว้ว่า จริยธรรมเป็ นมโนทัศน์ที่ เกี่ยวข้องกับหลักความยุติธรรม ในการมีปฏิสัมพันธ์กันในสังคม โดยไม่เกี่ยวข้อง กับคุณค่าหรือความรู้สึกส่วนตัวของแต่ละบุคคล
  • 8. 1. ความหมายของคาว่า คุณธรรมและจริยธรรม 1.2 ความหมายของจริยธรรม Albert Schweitzer พัชนี นันทศักดิ์ และคณะ (2549 : 47) ให้คา จากัดความไว้ว่า จริยธรรม คือ ความเอาใจใส่ต่อพฤติกรรมที่ดี คนเรามีหน้าที่ ไม่ใช่แต่เพียงเพื่อสวัสดิภาพของตัวเราเท่านั้นแต่ต้องคานึงถึงสวัสดิภาพของผู้อื่น ด้วย ส่วนจริยธรรมตามความหมายของนักวิชาการในประเทศไทยให้ความหมายเน้นไปที่ความประพฤติ ของบุคคล ความหมายของจริยธรรมจากนักวิชาการหลายท่านดังต่อไปนี้ วศิน อินทสระ ได้ให้ความหมาย จริยธรรม หมายถึง ความประพฤติ การ กระทา ความคิดที่ถูกต้องเหมาะสม การทาหน้าที่ของตนอย่างสมบูรณ์ เว้นในสิ่งที่ ควรเว้นกระทาในสิ่งที่ควรกระทาด้วยความฉลาด รอบคอบ รู้เหตุรู้ผล ถูกต้อง กาลเทศะและบุคคล
  • 9. 1. ความหมายของคาว่า คุณธรรมและจริยธรรม 1.2 ความหมายของจริยธรรม ดุจเดือน พันธุมนาวิน (2551 : 2) ให้ความหมายครอบคลุมว่า จริยธรรม หมายถึง ลักษณะทางสังคมหลายลักษณะของมนุษย์และมีขอบเขต รวมถึงพฤติกรรมทางสังคมประเภทต่าง ๆ อันเป็ นที่ยอมรับของสังคม จากที่กล่าวมาแล้วข้างต้นสรุปได้ว่า จริยธรรม หมายถึง หลักประพฤติ ปฏิบัติที่ถูกต้องเหมาะสมกับการทาหน้าที่ของตนอย่างสมบูรณ์และสอดคล้องกับ มาตรฐานที่ดีงามอันเป็ นที่ยอมรับของสังคมของกลุ่มคนหรือกลุ่มบุคคล
  • 10. 2. คุณธรรม จริยธรรมด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ โดยทั่วไปเมื่อพิจารณาถึงคุณธรรม จริยธรรมเกี่ยวกับด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น ซึ่งประกอบด้วย 1. ความเป็ นส่วนตัว (Information Privacy) 2. ความถูกต้อง (Information Accuracy) 3. ความเป็ นเจ้าของ (Information Property) 4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility)
  • 11. 3. ผลที่เกิดจากการขาดคุณธรรม จริยธรรม ด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศผลที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศโดยไม่คานึงถึงคุณธรรม จริยธรรมการใช้งานคอมพิวเตอร์และเครือข่ายร่วมกันให้เป็นระเบียบ อาจทาให้เกิด ปัญหาต่างๆเช่น  ทาให้เกิดอาชญากรรม  ทาให้ความสัมพันธ์ของมนุษย์เสื่อมถอย  ทาให้หมิ่นเหม่ต่อการเกิดสงคราม โรคติดคอมพิวเตอร์ Pict.Source : http://www.dmc.tv/images/articles/picture_article/com-syndrome.jpg
  • 12. 4. จรรยาบรรณวิชาชีพเทคโนโลยี สารสนเทศจรรยาบรรณ หมายถึง “ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการ งานแต่ละอย่างที่กาหนดขึ้น เพื่อ รักษาและส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียง และฐาน ของสมาชิก อาจเขียนเป็ นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้” จรรยาบรรณเป็ นจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพ ผู้ประกอบ อาชีพสาขาต่างๆ พึงตระหนักและปฏิบัติ ให้เป็ นไปตามแนวทางที่จะอานวย ประโยชน์สุขทั้งแก่ตนเองและผู้อื่นในสังคมด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และ ยุติธรรม Pict.Source : http://www.digital-tonic.co.uk/wp-content/uploads/2015/01/ethics-624x375.png
  • 13. 4. จรรยาบรรณวิชาชีพเทคโนโลยี สารสนเทศจรรยาบรรณการใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็ นการประมวลหลักจริยธรรมที่ เกี่ยวข้องกับการใช้ คอมพิวเตอร์ขึ้นเป็ นลายลักษณ์อักษร มีดังต่อไปนี้ 1. จรรยาบรรณต่อตนเอง 2. จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมงาน 3. จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ 4. จรรยาบรรณต่อสังคม 5. จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ Pic source : https://lh3.googleusercontent.com/-PP5mmHFySbg/AAAAAAAAAAI/AAAAAAAAAAA/5koWJTRI- ZE/photo.jpg
  • 14. 5. กฎหมายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วย  พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 ที่ได้ ผนวกกฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และกฎหมายลายมือชื่อ อิเล็กทรอนิกส์เข้าไว้ด้วยกัน เป็ นฉบับเดียว มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2545  พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มีผลบังคับ ใช้เมื่อวันที่18 กรกฎาคม พ.ศ. 2550
  • 15. 5. กฎหมายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ  5.1 พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 เนื่องด้วยพัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในปัจจุบันทา ให้เกิดการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual property) รูปแบบต่างๆ ได้แก่ - การละเมิดลิขสิทธิ์ - เครื่องหมายการค้า - สิทธิบัตร
  • 16. 5. กฎหมายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ  5.1 พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ลิขสิทธิ์ เป็ นการให้สิทธิ์แก่ผู้ผลิต หรือผู้ผลิต หรือผู้ประดิษฐ์เพียงผู้เดียว ที่จะสามารถทาซ้า ดัดแปลง แก้ไข หรือจาหน่ายจ่ายแจกสิ่งผลงานที่ตนสร้าง ขึ้น เช่น การดาวน์โหลดเพลง ภาพยนตร์ หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การนา รูปภาพของผู้อื่นมาใช้งาน การนาผลงานวิชาการของผู้อื่นมาใช้ เป็ นต้น การละเมิดลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้หมายถึง 1) การทาซ้า 2) การดัดแปลง 3) การเผยแพร่ต่อสาธารณชน Pict.Source : http://www.ipthailand.go.th/index.php http://www.teachthought.com/wp- content/uploads/2013/10/creative-commons-copyright.jpg
  • 17. 5. กฎหมายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ  5.1 พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 เครื่องหมายการค้า คือ เครื่องหมายที่ใช้หรือจะใช้เป็ นเครื่องหมาย เกี่ยวข้องกับสินค้า เพื่อแสดงว่าสินค้าที่ใช้เครื่องหมายของเจ้าของ เครื่องหมายการค้านั้น แตกต่างกับสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคล อื่น เครื่องหมายการค้าที่จะขอจดทะเบียนได้ต้องมีคุณสมบัติตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า ไว้ทั้ง 3 ประการ ดังนี้ 1. เป็ นเครื่องหมายการค้าที่มีลักษณะบ่งเฉพาะ 2. เป็ นเครื่องหมายการค้าที่ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย 3. ไม่เป็ นเครื่องหมายการค้าที่เหมือนหรือคล้ายกับเครื่องหมายการค้าที่ บุคคลอื่นได้จดทะเบียนไว้ Pict. Source : http://letstalklogodesign.com/wp-content/uploads/2014/08/Online-Logo-Design.jpg
  • 18. 5. กฎหมายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ  5.1 พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 สิทธิบัตร หมายถึง สิทธิพิเศษที่กฎหมายบัญญัติให้เจ้าของสิทธิบัตร มี สิทธิแต่เพียงผู้เดียวในการแสวงหาประโยชน์จากการประดิษฐ์ หรือออกแบบ ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับสิทธิบัตรนั้น เช่น การผลิตและจาหน่าย เป็ นต้น โดยการประดิษฐ์ที่จะได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายสิทธิบัตรต้องมี คุณสมบัติ 3 ประการ คือ 1) เป็ นการประดิษฐ์ขึ้นใหม่ (Novelty) 2) มีขั้นตอนการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น (Novelty Step) 3) สามารถประยุกต์ในทางอุตสาหกรรมได้ (Industrial Applicability) Pict. Source : https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8% 95%E0%B8%A3&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ei=BgKYVdHNCtSLuASLvqyICg&ved=0CAcQ_AUoAQ
  • 19. 5. กฎหมายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ  5.2 พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 กฎหมายฉบับนี้ต้องการรับรองการใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์และลายมือ ชื่ออิเล็กทรอนิกส์และลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อธุรกรรมพาณิชย์ ตามร่าง กฎหมายอันซิตรอล กาหนดให้ “พาณิชยกรรม” หมายถึง ธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับ สิ่งต่อไปนี้ - การซื้อขาย แลกเปลี่ยนสินค้าหรือบริการ - การเช่าและการเช่าซื้อ การบริการทางการเงินการธนาคาร - การขนส่งสินค้าทางอากาศ ทางน้า ทางรถไฟ และทางบก - การจัดจาหน่าย - การเป็ นตัวแทน จาหน่าย - การก่อสร้าง - การให้บริการปรึกษา - การให้บริการทางวิศวกรรม - การประกันภัย
  • 20. 5. กฎหมายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ  5.3 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ได้กาหนดฐานความผิด ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ ควรเอาใจใส่ดูแลเป็นพิเศษ ดังนี้ 1) การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต 2) การเปิ ดเผยมาตรการป้ องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น 3) การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต 4) การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ 5) การทาลายหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ 6) การระงับ ชลอ หรือขัดขวางการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น 7) การส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์หรือไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์โดยปกปิ ด หรือปลอมแปลงแหล่งที่มา 8) การนาเข้าหรือเผยแพร่ข้อมูลเท็จ ข้อมูลปลอม หรือข้อมูลที่มีลักษณะลามก 9) การเผยแพร่ภาพที่ตัดต่อด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
  • 21. บทสรุป เทคโนโลยีสารสนเทศ มีความสาคัญทั้งในปัจจุบันและ อนาคตข้างหน้า เทคโนโลยีสารสนเทศนั้นมีบทบาทมากในปัจจุบัน เป็ นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้นต้องใช้เทคโนโลยีเป็ นเครื่องมือใน หลายๆด้าน อีกทั้งต้องตระหนักต่อการใช้งานในด้านคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ใช้ เพื่อให้เกิดความเป็ นเลิศในการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 22. บรรณานุกรม พิภัช ดวงคำสวัสดิ์.ชุดวิชำ 99409 ประสบกำรณ์วิชำชีพเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร. นนทบุรี : มหำวิทยำลัยสุโขทัยธรรมำธิรำช, 2555. วัชรพงษ์ ตำไฝ. (2556). จริยธรรมด้ำนเทคโนโลยีสำรสนเทศ. [ออนไลน์].เข้ำถึงได้จำก : http://ethicsininformationtechnology.blogspot.com สืบค้น 26 มิถุนำยน 2558. Thanpitcha Srisurong. (2556). จริยธรรมกฎหมำยสำหรับคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.[ออนไลน์].เข้ำถึงได้จำก : http://katethanpitcha.blogspot.com/2013/08/blog-post_18.html สืบค้น 26 มิถุนำยน 2558. Benz surasak. (2556). จริยธรรมทำงสำรสนเทศ.[ออนไลน์].เข้ำถึงได้จำก : http://benzsurasak.blogspot.com/2013/08/9_12.html สืบค้น 26 มิถุนำยน 2558. papitchaya phetphung. (2557). ควำมเป็นส่วนตัว จริยธรรมด้ำนไอที.[ออนไลน์].เข้ำถึงได้จำก : http://qualitifying.blogspot.com สืบค้น 26 มิถุนำยน 2558. Kusuma. (2554). ปัญหำสังคมจำกเทคโนโลยีสำรสนเทศ จริยธรรม และกฎหมำย.[ออนไลน์].เข้ำถึงได้จำก : http://53440196.blogspot.com/2011/05/11.html สืบค้น 26 มิถุนำยน 2558.