SlideShare una empresa de Scribd logo
การจัดการเรียนรู้สมัยใหม่
วิจารณ์ พานิช
ในศตวรรษที่ ๒๑
บรรยายในการสัมมนา หัวข้อ “การจัดการเรียนรู้สมัยใหม่...ในศตวรรษที่ 21” วันอาทิตย์ที่ 2 มิถุนายน 2562 เวลา 09.00-12.00 น. จัดโดยวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม
ข้อจากัด
• ไม่เคยเรียนในสาขาการศึกษา ไม่ใช่ “ผู้รู้”
• เรียนรู้จากการอ่าน และสังเกต และไต่ถาม
• ไม่ได้ปฏิบัติในหัวข้อที่พูด
• ไม่รู้จริง ไม่รู้ลึก
• พึงฟังอย่างมีวิจารณญาณ ปฏิบัติตามกาลามสูตร
ประเด็นนาเสนอ / เสวนา
• เป้าหมาย
• หลักการเรียนรู้ (Learning Science)
• วิธีการ
• feedback
• สรุป
ประเด็นนาเสนอ / เสวนา
• เป้าหมาย
• หลักการเรียนรู้ (Learning Science)
• วิธีการ
• feedback
• สรุป
ชีวิตที่ดีของมนุษย์ในศตวรรษที่ ๒๑
• อยู่ได้ในโลก/สังคม VUCA (Volatile, Uncertain, Complex,
Ambiguous)
• สังคมที่เปลี่ยนแปลงเร็ว พลิกผัน
• ต้องเปลี่ยนแปลงตัวเองเป็น เรียนรู้เป็น : Learn, Unlearn, Relearn
• ต้องเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง (Change Agent)
มี “ปัจจัยสี่” เพื่อชีวิตในสามโลก
• ใช้ความรู้เป็น (Literacy) : อ่านออกเขียนได้, คิดเลขเป็น,
รู้ธรรมชาติ, รู้ ICT, รู้การเงิน, รู้วัฒนธรรมและความเป็นพลเมออง,
รู้เรอ่องสุขภาพ
• มีสมรรถนะ (Competency) : วิจารณญาณ, สร้างสรรค์,
สอ่อสาร, ร่วมมออ
• มีบุคลิก/คุณลักษณะ (Character) : ใคร่รู้ ริเริ่ม มานะ
อดทน ปรับตัว ภาวะผู้นา สังคมวัฒนธรรม เห็นแก่ส่วนรวม
• เรียนรู้ตลอดชีวิต (Learning Skils / Affinity)
โลกประจาวัน
โลกซับซ้อน
โลกเปลี่ยนแปลง
“การเรียนรู้” มีหลายความหมาย หลายมิติ
• A(Attitude), S(Skills), K (Knowledge)
• Bloom’s Taxonomy of
Learning
• Transformative Learning
มีความซับซ้อน
เรียนอะไร
• 21st Century Skills
• ASK
• Civic Literacy
• คิด
การเรียนรู้เป็นการฝึกฝน (practice)
Growth Mindset ของตนเอง ของกลุ่ม และขององค์กร
https://www.gotoknow.org/posts/645908
https://www.gotoknow.org/posts/599905
รักการเรียนรู้ ปฏิเสธการเรียนรู้
กระบวนทัศน์พัฒนา กระบวนทัศน์หยุดนิ่ง
รู้วิธีพัฒนา
รู้วิธีพัฒนา Grit ของตนเอง
ความมุมานะต่อเนื่องเพื่อบรรลุเป้าหมายที่ยิ่งใหญ่ในระยะยาว
• Passion (ฉันทะ)
• Perseverance (วิริยะ
+ จิตตะ + วิมังสา)
https://www.gotoknow.org/posts/613528
อิทธิบาท ๔
Talent x Effort = Skills
Skills x Effort = Achievement
รู้จักใช้ความฉลาดของผู้อื่น
https://www.gotoknow.org/posts/638734
จิตจดจ่อ (attention) ๓ แบบ
• Focused attention
• Sorting attention
• Open attention
Talent 35 ชนิดของมนุษย์
Innate
Cultivated
Critical Reflection
Compassion Meditation เมตตาภาวนา
การปลูกฝังคุณสมบัติความรัก
และความเห็นแก่ผู้อื่น เป็นคุณต่อชีวิต
รู้วิธีพัฒนา
ความเสียสละ
เห็นแก่ผู้อื่น
สมรรถนะ
อารมณ์
อิสระ -
เกอ้อกูลกัน
มนุษยสัมพันธ์
อัตลักษณ์
เป้าหมาย
ชีวิต
มั่นคง
คุณธรรม
พัฒนาตัวตน ๗ ด้าน ของ Chickering
บันได ๖ ขั้นของการพัฒนาคุณธรรม
• ขั้นที่ ๑ ปฏิบัติเพราะความกลัว ไม่อยากเดือดร้อน
• ขั้นที่ ๒ ปฏิบัติเพราะอยากได้รางวัล
• ขั้นที่ ๓ ปฏิบัติเพราะอยากเอาใจคนบางคน
• ขั้นที่ ๔ ปฏิบัติเพราะต้องปฏิบัติตามกฎ
• ขั้นที่ ๕ ปฏิบัติเพราะต้องการให้ตนดูดี ให้ได้ชื่อว่าเป็นคนดี ให้ได้ชื่อว่ามีน้าใจ
• ขั้นที่ ๖ ปฏิบัติตามหลักการ หรืออุดมการณ์ของตน ไม่ต้องการให้มีคนยกย่องชมเชยหรือให้รางวัล
Lawrence Kohlberg's stages of moral development
เป้าหมายสุดท้าย
• ชีวิตที่ดี มีความสุข
• wellbeing
ประเด็นนาเสนอ / เสวนา
• เป้าหมาย (
• หลักการเรียนรู้ (Learning Science)
• วิธีการ
• feedback
• สรุป
การเรียนรู้
• การเรียนรู้เป็นผลของการกระทาและการคิดของ
ผู้นั้น
• เกิดจากการกระทาและการคิดของตนเองเท่านั้น
• ผู้อื่นช่วยทาให้เกิดการเรียนรู้ได้โดยเข้าไป
จัดการสิ่งที่เราทา (ปฏิบัติ และคิด) เพื่อการ
เรียนรู้
Herbert A. Simon
https://www.scbfoundation.com/publishing.php?project_id=292#publishing/292/5462
การเรียนรู้ไม่ได้เกิดจากการถ่ายทอดความรู้สาเร็จรูป
ค. สาเร็จรูป
ถ่ายทอดแบบกลไก
งอกงามขึ้นเอง
ภายในตน
จากการทาและคิด
ของตน
หลัก Cognitive Science
ถามคือสอน สะท้อนคิด (reflect) คือเรียนรู้
เหตุการณ์ ความจาใช้งาน
ความจาระยะยาว
ตระหนักรู้ และคิด
รู้ข้อเท็จจริงและกระบวนการ
เรียนรู้ จา
สังเกต เก็บข้อมูล
ลืม
Ref.: Daniel T. Willingham. Why Don’t Students Like School?, 2009
Working
Memory
Longterm
Memory
Adult Learning
Observation &
Reflection
Forming Abstract
Concepts
Testing in New
Situations
Concrete
Experience
1
2
3
4
Student Learning = AL + Scaffolding
เรียนรู้จากการทางาน
และการดารงชีวิต
การเรียนรู้ ๒ แบบ
การเรียนรู้ขาเข้า การเรียนรู้ขาออก
การเรียนรู้ ๒ แบบ
การเรียนรู้ขาเข้า การเรียนรู้ขาออก
Action Reflection
คุณภาพการเรียนรู้ต่างกันมาก
feedback
Double-Loop Learning
https://upraise.io/blog/effective-agile-performance-management-double-loop-learning/
ประเด็นนาเสนอ / เสวนา
• เป้าหมาย (
• หลักการเรียนรู้ (Learning Science)
• วิธีการ
• feedback
• สรุป
•Prior Knowledge
•K Organization
•Motivation
•Develop Mastery
•Practice & Feedback
•Student Development
& Climate
•Self-directed Learner
http://www.scbfoundation.com/news_publish_detail.php?cat_id=6&nid=880
ความรู้เดิม (prior knowledge)
• คนเราเรียนรู้โดยใช้ความรู้เดิมจับความรู้ใหม่
• ครูทาหน้าที่ปลุกความรู้เดิมของนักเรียน เอามาจับความรู้ใหม่
• ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียน
• ครูมีวิธี จัดการความรู้เดิมของศิษย์
- กรณีความรู้เดิมไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม
- กรณีความรู้เดิมไม่เพียงพอ
การจัดระเบียบความรู้ (knowledge organization)
• เป็นการจัดเครือข่ายใยสมองให้เชื่อมโยงกว้างขวางหนาแน่น
• มือใหม่เครือข่ายเบาบาง
• ครูให้ศิษย์ฝึกทา concept map
• ฝึกทา task analysis
• ครูบอกโครงสร้างภาพใหญ่ของรายวิชา และแต่ละคาบ
• มีตัวอย่างการจัดระเบียบความรู้หลายแบบ
แรงจูงใจให้อยากเรียน (motivation)
• นร. เห็นคุณค่า
• เชื่อมั่นว่าบรรลุได้
• สภาพแวดล้อมเอื้อ
• ท่าที่สนใจกระตือรือร้นของครู
• กิจกรรมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียน
แรงจูงใจให้อยากเรียน (motivation)
High Expectation + High Support
เรียนแล้วรู้จริง (mastery learning)
• ฝึกประยุกต์ใช้ความรู้
• ตามด้วยการใคร่ครวญสะท้อนคิด (reflection) ตอบ
คาถาม what, how, why สะท้อนคิดคนเดียว เขียน
reflective journal
• สะท้อนคิดเป็นกลุ่ม
ฝึกปฏิบัติ
สมรรถนะ
ที่เห็น
ป้อนกลับ
มุ่งเป้า
เป้าหมาย
ให้ฝึกปฏิบัติ (practice) ตามด้วย ให้คาแนะนาป้อนกลับ
(feedback)
พัฒนาการของ นร. และ บรรยากาศในชั้นเรียน
• พัฒนาการองค์รวม
• บรรยากาศเปิดกว้าง ไม่เน้นถูก-ผิด
• ปฏิสัมพันธ์ที่ดี
• จัดให้มีการสะท้อนกลับ (feedback) บรรยากาศการเรียน
• ส่งเสริม active listening
นร. เป็นผู้กากับการเรียนรู้ของตนเอง
• ทักษะประเมินชิ้นงาน
• ทักษะประเมินความสามารถของตนเองต่องานนั้น
• ทักษะวางแผนทางาน
• ทักษะประเมินความก้าวหน้า
• ทักษะปรับปรุงยุทธศาสตร์การทางาน
Metacognition skillsSelf-Directed Learning
ห้องเรียนกลับทาง
• Flip the Classroom กลับทางห้องเรียน
• เรียนวิชาที่บ้าน ทา “การบ้าน” ที่
ห้องเรียน
• ครูเครื่องสอนวิชา ครูคนสอนคน/
ปัญญา
• ใช้ห้องเรียนเพื่อการเรียนแบบรู้จริง
(Mastery Learning)
http://www.scbfoundation.com/projects/wcms/docs/uploads/doc_13727357101058185889.pdf
Activity-Based Learning
• เรียนจากการทากิจกรรม
• เรียนเป็นทีม
• ตามด้วย critical reflection คนเดียว โดยเขียน reflective
journal ส่วนตัว หรือแชร์ใน social media ของกลุ่ม
• และ collective reflection เพื่อฟังการตีความของเพื่อน
• ครูตั้งคาถาม เพื่อตีความทฤษฎีจากประสบการณ์จากการ
ทางาน และเพื่อตรวจสอบการบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้
Activity-Based Learning
• เรียนจากการทากิจกรรม
• เรียนเป็นทีม
• ตามด้วย critical reflection คนเดียว โดยเขียน reflective
journal ส่วนตัว หรือแชร์ใน social media ของกลุ่ม
• และ collective reflection เพื่อฟังการตีความของเพื่อน
• ครูตั้งคาถาม เพื่อตีความทฤษฎีจากประสบการณ์จากการ
ทางาน และเพื่อตรวจสอบการบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้
Service Learning
• เรียนโดยทากิจกรรมรับใช้ผู้อื่น
• ได้ASK (Attitude, Skills, Knowledge) ตามที่กาหนดในเป้าหมาย
การเรียนรู้
• และได้พัฒนาจิตสาธารณะ จิตใจที่มุ่งทาเพื่อผู้อื่น เพื่อส่วนรวม
https://www.gotoknow.org/posts/136804
บุริม โอทกานนท์
https://www.gotoknow.org/posts/543466 ผศ. ดร. ปริญญา เทวานฤมิตรกุล
ครูทาอะไรให้แก่ศิษย์
• Inspirer กระตุ้นแรงบันดาลใจ
• Designer ออกแบบกิจกรรม และ “นั่งร้าน” (Scaffold)
• Facilitator โดยตั้งคาถาม ชวนคิด
• Assessor (Formative Assessment) ประเมินเพื่อพัฒนา
• Constructive Feedback ให้คิดไปข้างหน้า มุมานะ GrowthMindset
• Summative Evaluation ยืนยันว่าบรรลุผลลัพธ์ที่ตั้งเป้าหมายไว้
ครูทาอะไรให้แก่ศิษย์(2)
• High Expectation คาดหวังสูง
• High Support สนับสนุนเต็มที่ นร. เกิดความมั่นใจที่จะพยายาม ไม่ท้อถอย
ไม่เน้นสอนให้ครบตามหลักสูตร
• หลักสูตรมาตรฐานมักเน้นความ
ครอบคลุมระบุเนอ้อหามากเกินไป
• ครูต้องร่วมกันกาหนดสาระส่วนที่
จาเป็นต้องสอน(สาหรับนักเรียนกลุ่มนั้น)
เพอ่อให้นร. เรียนรู้พัฒนา ๔ ด้าน
• แล้วกาหนด สเกลความเข้าใจ สาหรับ
ใช้สอ่อสารเป้าหมายการเรียนรู้แก่ นร.
https://www.gotoknow.org/posts/tags/ศาสตร์และศิลป์ของการสอน
สอนแบบโฟกัสเป้าหมาย
ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ของครู
• ทักษะ facilitator / coach ไม่ใช่สอนเน้นบรรยาย
• ทักษะการออกแบบ
• ทักษะการสร้างแรงบันดาลใจ
• ทักษะ OELE
• ทักษะ student engagement
• ทักษะการตั้งคาถาม เพื่อหนุนการเรียนรู้ของ นศ.
เป็น scaffolding, คาถามใน reflection
• ทักษะการประเมิน และให้ constructive feedback
https://www.scbfoundation.com/publishing.php?project_id=292#publishing/292/16032
ปรับปรุงการสอนเล็กน้อย ได้ผลยิ่งใหญ่
• ฝึกดึงความรู้ออกมาใช้(retrieving)
• ฝึกทานาย (predicting)
• เรียนแทรกสลับ (interleaving)
• ฝึกเชื่อมโยง (connecting)
•ฝึกซ้อม (practicing)
• อธิบายให้ตัวเองฟัง (self-explaining) https://goo.gl/WuiMz8
ปรับปรุงการสอนเล็กน้อย ได้ผลยิ่งใหญ่ (๒)
• สร้างแรงบันดาลใจ (inspiration)
• สร้างแรงจูงใจ (motivating)
• สร้างโลกทัศน์พัฒนา (growth mindset)
• ปรับปรุงการสอนขนานใหญ่ (expanding)
สอนเข้ม เพื่อศิษย์ขาดแคลน
https://www.gotoknow.org/posts/tags/สอนเข้มเพอ่อศิษย์ขาดแคลน
ชุดความคิด (mindset) ๗ ของครู
1. ปฏิสัมพันธ์
2. ความสาเร็จ (achievement)
3. คิดบวก
4. บรรยากาศห้องเรียน (classroom climate)
5. เสริมการเรียน (enrichment)
6. ดึงดูดความสนใจ(engagement)
7. ความสาเร็จ
https://www.gotoknow.org/posts/tags/สอนเข้มเพอ่อศิษย์ขาดแคลน
Relational Mindset
• สร้างความสัมพันธ์กับศิษย์เป็นรายคน
• เชื่อมโยงศิษย์ทุกคนสู่ความสาเร็จ
• แสดงให้ศิษย์รู้ว่าครูเข้าใจความรู้สึกของเขา
(empathy)
https://www.gotoknow.org/posts/tags/สอนเข้มเพอ่อศิษย์ขาดแคลน
Achievement Mindset
• ตั้งเป้าหมายสูงลิ่ว
• พัฒนา Growth Mindset
• constructive feedback
• จัดการพัฒนา grit (อิทธิบาท ๔)
https://www.gotoknow.org/posts/tags/สอนเข้มเพอ่อศิษย์ขาดแคลน
Positivity Mindset
• บรรยากาศเชิงบวกกระตุ้นสารเคมีเพื่อการเรียนรู้
(dopamine, serotonin, noradrenaline)
• กระตุ้น optimism and hope
• สร้างเจตคติเชิงบวก
• เปลี่ยนพื้นฐานทางอารมณ์ ให้มีความสุขแบบ
eudaimonic happiness สุขจากการได้สร้างสรรค์สิ่งมี
คุณค่า
https://www.gotoknow.org/posts/tags/สอนเข้มเพอ่อศิษย์ขาดแคลน
Rich Classroom Climate Mindset
• ร่ารวย ๔ : affirmation, relevancy, engagement, relationship
• ให้เกียรติตัวตนของนักเรียน
• ห้องเรียนปลอดภัย
• เชื่อมั่นว่าเรียนได้สาเร็จ
https://www.gotoknow.org/posts/tags/สอนเข้มเพอ่อศิษย์ขาดแคลน
Enrichment Mindset
• รู้จักสมอง
• เปลี่ยน fixed mindset เป็น growth mindset
• จัดการ cognitive load
• สอนทักษะการคิด
• ทักษะการเรียนรู้ และคลังคา
https://www.gotoknow.org/posts/tags/สอนเข้มเพอ่อศิษย์ขาดแคลน
Engagement Mindset
• เข้าใจสภาพพื้นฐานของสมอง
• มีเครื่องมือจัดการสภาพจิตใจ
• สร้างสภาพการเรียนเพราะอยากเรียน (choice learning)
• สร้างความเป็นพวกพ้อง/ชุมชน(community of engaged
learners)
https://www.gotoknow.org/posts/tags/สอนเข้มเพอ่อศิษย์ขาดแคลน
Graduation Mindset
• สร้างสถาบันการศึกษาคุณภาพสูง
• ใช้ศิลปศึกษาและพลศึกษา
• เรียนรู้การศึกษาระดับต่อไป
• เรียนรู้อาชีพการงาน
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง
https://www.gotoknow.org/posts/tags/Mezirow
https://cdn.gotoknow.org/assets/media/files/001/118/349/original_8a511172e210f2942a79c400363f4033.jpg
การท้าทายระบบโลกทัศน์
เปลี่ยนระบบคุณค่าและโลกทัศน์
ประสบการณ์ตรง + ไตร่ตรองสะท้อนคิด
+ อารมณ์
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง
https://www.gotoknow.org/posts/tags/Mezirow
https://cdn.gotoknow.org/assets/media/files/001/118/349/original_8a511172e210f2942a79c400363f4033.jpg
การท้าทายระบบโลกทัศน์
เปลี่ยนทั้งเนื้อทั้งตัว
ประสบการณ์ตรง + ไตร่ตรองสะท้อนคิด
ใจ คิด พฤติกรรม
+ อารมณ์
พลังทั้งหก
พลังทั้งหก
• ประสบการณ์ของปัจเจก
• การสะท้อนคิดอย่างจริงจัง (Critical Reflection)
• สุนทรียสนทนา (Dialogue)
• มุมมอง/วิธีการที่ครบด้าน (holistic)
• บริบท(Context)
• ความสัมพันธ์ที่จริงใจ
โมเดลการเรียนรู้ 70 : 20 : 10
เรียนจาก
การ
ปฏิบัติ งาน
ของตน ตาม
ด้วย
reflection
ลปรร.
ฝึกอบรม
เรียนเป็นทีม
ค้นคว้าจากภายนอก
Open Loop Learning
SECI Model
Internalization
Explicit
Explicit
Tacit
Explicit
Explicit
Tacit
Socialization
Externalization
Combination
From Nonaka 22 Nov 2010
ค. ภายนอก
ค. ภายนอกค. ภายนอก
เน้น ค. จากการทางาน
ใช้ค. เดิม จับ ค. ใหม่
การค้นคว้า เปิดกว้าง
ไม่ยั่งยอน ยั่งยอน
ความรู้
เทคโนโลยี
วิธีการพัฒนาคุณภาพ
มาตรฐาน
Fixed Mindset
คุณค่า/อุดมการณ์
ทาเพื่อผู้อื่น/ผู้ป่วย
องค์กรคุณภาพ
องค์กรเรียนรู้
ลงมือทาจริงจัง เห็นผล
เรียนรู้ต่อเนื่อง
Growth MindsetDisruptive change
อกาลิโก
Thriving & Surviving in
Times of Digital Disruption
DR.TANATE PANRAT
Assistant to President for Learning Innovation Development
at Prince of Songkla University,
Lecturer at Prince of Songkla University International College
EMPOWERING YOUTH
FOR CHANGE
by Connecting Technologies
& Student Learning
As New Engines for Improving
21st Century Learners
Traditional 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16
Flipped Class 12 34 56
78 910 1112
Mini Project
60% 40%
1314 1516
Steps of Classroom Renovation
for Autonomous Learners
In-class
Activities
Pre-class
Activities
Post-class
Activities
Evaluations
- Questions
- Discussions
Feedbacks
- Reflection
- Response
Class/Module
Goal(s)
Identification
Perform
Activities
{Re}Check
- Discussion
- Games
Questioning
(Source : Panrat & Jehma, 2014; Panrat, 2014; Panrat, 2015, Panrat, 2018)
Students
Suggestions
Student Suggestions
Class Activities for
Active Learning
• Coached Problem Solving
• Collaborative Learning
• Online Forum Discussion
• Problem-Based Learning
• Project-Based Learning
• Role-Playing
• Team-Based Problem Solving
• Think-Pair-Share
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ https://www.gotoknow.org/posts/574821
Think Globally, Act Locally…
From multiple interests of students to the combined choices of
science, technology, engineering, and mathematics …
for seeking their Opportunities
ประเด็นนาเสนอ / เสวนา
• เป้าหมาย (
• หลักการเรียนรู้ (Learning Science)
• วิธีการ
• feedback
• สรุป
ประเมินขณะสอน(แบบไม่สอน)
• ประเมินเพื่อหนุนการเรียนรู้ (Formative
Assessment)
• ตามด้วยคาแนะนาป้อนกลับแบบ
สร้างสรรค์(Constructive Feedback)
• แล้วจึงประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้
(Summative Evaluation) เพื่อยืนยันว่าบรรลุเป้าหมาย
https://www.gotoknow.org/posts/tags/Dylan_Wiliam
Double-Loop Learning
https://upraise.io/blog/effective-agile-performance-management-double-loop-learning/
By Xjent03 - Own work, CC BY-SA 3.0, https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=5774791
Single-loop Learning Double-loop Learning
ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ของครู
• ทักษะ facilitator / coach ไม่ใช่สอนเน้นบรรยาย
• ทักษะการออกแบบ
• ทักษะการสร้างแรงบันดาลใจ
• ทักษะ OELE
• ทักษะ student engagement
• ทักษะการตั้งคาถาม เพื่อหนุนการเรียนรู้ของ นศ. เป็น
scaffolding, คาถามใน reflection
• ทักษะการประเมิน และให้ constructive feedback
https://www.scbfoundation.com/publishing.php?project_id=292#publishing/292/16032
ปฏิบัติ
เก็บข้อมูล
reflect
ความรู้ใหม่
ตั้งเป้า
วางแผน
แยกกัน
ร่วมกันร่วมกัน
วงจร PLC ครู และ ผู้บริหาร
เป้า LO
และ/หรือเป้าเทคนิค
ร่วมกัน
ประเด็นนาเสนอ / เสวนา
• เป้าหมาย (
• หลักการเรียนรู้ (Learning Science)
• วิธีการ
• feedback
• สรุป
สรุป การจัดการเรียนรู้สมัยใหม่ในศตวรรษที่ ๒๑
• จัดให้เรียนโดยสร้างความรู้ใส่ตัว ผ่านกิจกรรม ตามด้วยการใคร่ครวญ
สะท้อนคิด เพื่อบรรลุ Higher Order Learning และ Transformative
Learning
• เรียนเป็นทีม และเรียนคนเดียว เรียนสนุก ท้าทาย
• เป็น CBL – Competency-Based Learning
• เป็น Holistic Learning
• หนุนโดย High Expectation, High Support & High Inspiration

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
Proud N. Boonrak
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
Albert Sigum
 
จิตวิทยาการเรียนรู้(2)
จิตวิทยาการเรียนรู้(2)จิตวิทยาการเรียนรู้(2)
จิตวิทยาการเรียนรู้(2)
maymymay
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
hadesza
 
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
moohmed
 

La actualidad más candente (19)

Maejo 620711 n2
Maejo 620711 n2Maejo 620711 n2
Maejo 620711 n2
 
Smart classroom characteristics of learning & teaching
Smart classroom  characteristics of learning & teachingSmart classroom  characteristics of learning & teaching
Smart classroom characteristics of learning & teaching
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
 
Project-based Learning with Mentoring in Control system Engineering
Project-based Learning with Mentoring in Control system EngineeringProject-based Learning with Mentoring in Control system Engineering
Project-based Learning with Mentoring in Control system Engineering
 
จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555
จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555
จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
Chapter9mii
Chapter9miiChapter9mii
Chapter9mii
 
Car 1 SupawadeeMaetasiri
Car 1  SupawadeeMaetasiri Car 1  SupawadeeMaetasiri
Car 1 SupawadeeMaetasiri
 
จิตวิทยาการเรียนรู้(2)
จิตวิทยาการเรียนรู้(2)จิตวิทยาการเรียนรู้(2)
จิตวิทยาการเรียนรู้(2)
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
 
ครูฝึกหัด
ครูฝึกหัดครูฝึกหัด
ครูฝึกหัด
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Learning21
Learning21Learning21
Learning21
 
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงานเอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
C and m
C and mC and m
C and m
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 

Similar a Cen21 sripatum620602

งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่
Moss Worapong
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
panggoo
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
noiiso_M2
 

Similar a Cen21 sripatum620602 (20)

H aforum21
H aforum21H aforum21
H aforum21
 
การจัดการศึกษา 600716
การจัดการศึกษา 600716การจัดการศึกษา 600716
การจัดการศึกษา 600716
 
RealEdu600905_n
RealEdu600905_nRealEdu600905_n
RealEdu600905_n
 
Ku 620507
Ku 620507Ku 620507
Ku 620507
 
Todsalak610802
Todsalak610802Todsalak610802
Todsalak610802
 
Tl 620719 n_2
Tl 620719 n_2Tl 620719 n_2
Tl 620719 n_2
 
Tl 620719 n_1
Tl 620719 n_1Tl 620719 n_1
Tl 620719 n_1
 
Ubon u 620215
Ubon u 620215Ubon u 620215
Ubon u 620215
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Maejo 620711 n1
Maejo 620711 n1Maejo 620711 n1
Maejo 620711 n1
 
การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003
การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003
การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
LifeLongLearner.pptx
LifeLongLearner.pptxLifeLongLearner.pptx
LifeLongLearner.pptx
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 

Más de Pattie Pattie

Más de Pattie Pattie (20)

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 

Cen21 sripatum620602