SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 39
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารโครงการ
ซอฟต์แวร์
อ.ศันสนีย์ เลี้ยงพานิชย์
โปรแกรมวิชาวิทยาการสารสนเทศ
เนื้อหา
➢คุณภาพของซอฟต์แวร์
➢สถานภาพการพัฒนาซอฟต์แวร์ไทย
➢ความสาคัญของการบริหารโครงการซอฟต์แวร์
➢ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ
➢ความแตกต่างระหว่างโครงการซอฟต์แวร์และโครงการอื่นๆ
➢การบริหารโครงการ
➢การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
➢บทบาทของผู้บริหารโครงการ
➢คุณภาพของซอฟต์แวร์
➢ซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาแล้วสามารถนาไปใช้งานได้ตามความต้องการของลูกค้า หรือมี
คุณลักษณะที่สอดคล้องกับข้อกาหนดตามที่ได้ตกลงกัน โดยซอฟต์แวร์นั้นจะต้องมีคุณลักษณะพื้นฐานที่สามารถใช้งานได้
ดังนี้
➢การทางานตามหน้าที่ (Functionality)
➢ความน่าเชื่อถือ (Reliability)
➢ความสามารถในการใช้งาน (Usability)
➢ประสิทธิภาพการทางาน (Efficiency)
➢การนากลับมาใช้ใหม่ (Reusability)
➢การบารุงรักษา (Maintainability)
➢การโอนย้ายระบบ (portability)
➢สถานภาพการพัฒนาซอฟต์แวร์ไทย
1. สถานภาพตลาดอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย
2. สถานภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาซอฟต์แวร์ไทย
3. แนวโน้มเทคโนโลยีที่จะมีผลต่ออุตสาหกรรมซอฟต์แวร์
➢สถานภาพการพัฒนาซอฟต์แวร์ไทย
1. สถานภาพตลาดอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย
➢ตลาดการผลิตซอฟต์แวร์ และการบริการซอฟต์แวร์ของไทยในปี 2557 จะมีแนวโน้มที่จะขยายตัว
เพิ่มขึ้น
➢มูลค่าการส่งออกซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์มีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้น
➢กลุ่มซอฟต์แวร์ที่มีความต้องการสูง ได้แก่ กลุ่มท่องเที่ยว การแพทย์ การศึกษา เกษตร และอัญมณี
➢สถานภาพการพัฒนาซอฟต์แวร์ไทย
2.สถานภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาซอฟต์แวร์ไทย
➢ บุคลากรที่เกี่ยวข้องมีอัตราเพิ่มขึ้น
➢จานวนผู้ประกอบการซอฟต์แวร์ไทยมากขึ้น
➢ความต้องการบุคลากรด้านซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ ที่ทางานเทียบเท่าเต็มเวลาในปี 2557
พบว่าทักษะที่บริษัทมีความต้องการมากที่สุดคือ Software design and Programming
รองลงมาคือ ทักษะด้าน Software quality and testing และทักษะด้าน Requirement
gathering and analysis
➢สถานภาพการพัฒนาซอฟต์แวร์ไทย
3. แนวโน้มเทคโนโลยีที่จะมีผลต่ออุตสาหกรรมซอฟต์แวร์
➢ โปรแกรมประยุกต์สาหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ (Mobile application)
➢การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud computing)
➢สื่อสังคมออนไลน์ (Social media)
➢ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data)
➢โอเพนซอร์สซอฟต์แวร์ (Open source software)
➢ ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาซอฟต์แวร์ไทย
➢การขาดแคลนบุคลากรที่มีคุณภาพ ขาดทักษะ ขาดการพัฒนาตามแนวโน้มเทคโนโลยี
➢จุดอ่อนด้านการตลาด
➢การพัฒนาองค์กรเพื่อให้ได้รับมาตรฐานสากล
➢การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ โดยไทยจัดเป็นประเทศที่ถูกจับตามองเป็นพิเศษ(PWL) ส่งผลต่อชื่อเสียง
ทาให้ยอดการส่งออกลดลง
➢ความสาคัญของการบริหารโครงการซอฟต์แวร์
➢โครงการซอฟต์แวร์ใช้งบประมาณในการดาเนินงานมาก
มีการใช้ทรัพยากรทั้งในส่วนของฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ รวมทั้งบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
Computer world คาดว่าค่าใช้จ่ายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศจะเพิ่มขึ้น
ข้อมูลของ Forrester research คาดว่าค่าใช้จ่ายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของอเมริกา พบว่าจะมี
แนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยค่าใช้จ่ายด้านซอฟต์แวร์และการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud computing) จะเพิ่ม
มากขึ้น ส่วนค่าใช้จ่ายด้านฮาร์ดแวร์จะมีแนวโน้มลดลง (Stacy Collett. Online. 2013)
➢ความสาคัญของการบริหารโครงการซอฟต์แวร์
➢โครงการซอฟต์แวร์ใช้งบประมาณในการดาเนินงานมาก
ข้อมูลจาก Business monitor international (BMI) พบว่า การใช้จ่ายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ของประเทศไทยมีมูลค่าสูงสุดในกลุ่มประเทศอาเซียน และยังคาดการณ์ว่าตัวเลขประมาณการใช้จ่ายด้าน
เทคโนโลยีสารนเทศของประเทศไทยจะโตขึ้นเป็น 9.3 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2016 (ธนชาติ นุ่มนนท์.
ออนไลน์. 2556)
จะเห็นได้ว่าค่าใช้จ่ายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นค่าใช้จ่ายที่สูงและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
ดังนั้นการบริหารจัดการโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะโครงการซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งจาเป็น หาก
ไม่มีการบริหารจัดการโครงการให้ดี อาจทาให้ไม่ได้ซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพตามที่ต้องการ ส่วนงบประมาณที่ลงทุนไป
อาจใช้ไม่คุ้มค่า หรืองบประมาณไม่เพียงพอที่จะทาให้โครงการสาเร็จตามเป้าหมายได้
➢ความสาคัญของการบริหารโครงการซอฟต์แวร์
➢การพัฒนาโครงการซอฟต์แวร์ไม่ประสบความสาเร็จ
1 เป้าหมายและวิสัยทัศน์ (Goal and vision) การกาหนดเป้าหมายและวิสัยทัศน์หรือนโยบายในการ
ดาเนินงานที่ไม่ชัดเจน ทาให้ไม่ทราบว่าสิ่งที่เราต้องการบรรลุจริง ๆ แล้วคืออะไร วัตถุประสงค์ที่เขียนขึ้นมาตาม
ขอบเขตงานในเอกสารสัญญาว่าจ้างและที่เขียนขยายความในข้อเสนอไม่เป็นที่เข้าใจของทีมงานพัฒนาที่ตั้งขึ้นมา
ภายหลัง ทาให้ผู้บริหารโครงการควบคุมการดาเนินงานของทีมงานยาก ส่วนทีมงานอาจเข้าใจผิดหรือทางานเกิน
ขอบเขตที่กาหนดได้ ส่งผลให้โครงการไม่ประสบความสาเร็จในที่สุด
2 ภาวะผู้นาและการกากับดูแล (Leadership and governance) สาเหตุความล้มเหลวของ
โครงการจากโครงสร้างการบริหารจัดการงานโครงการ รวมทั้งผู้บริหารโครงการที่ตั้งขึ้นมาไม่มีความเหมาะสมกับงาน
โครงการ ผู้บริหารโครงการที่ขาดประสบการณ์ ขาดภาวะผู้นา ขาดทักษะความรู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ รวมทั้งขาด
ปฏิสัมพันธ์กับบุคลากรอื่น ๆ จะส่งผลให้การกากับดูแลรวมทั้งการบริหารจัดการโครงการไม่ประสบความสาเร็จ เกิด
ปัญหาต่าง ๆ ตามมาและทาให้ไม่สามารถดาเนินงานโครงการต่อไปได้
➢ความสาคัญของการบริหารโครงการซอฟต์แวร์
➢การพัฒนาโครงการซอฟต์แวร์ไม่ประสบความสาเร็จ
3 การมีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้อง (Stakeholder engagement issues) ในการดาเนินงานโครงการ
จาเป็นต้องมีการติดต่อประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับกลาง พนักงานระดับล่าง บุคคล
เหล่านั้นจะต้องเป็นผู้ที่ให้ข้อมูลความต้องการของระบบงาน มีส่วนร่วมในการออกแบบ รวมทั้งการทดสอบระบบเพื่อให้ระบบงาน
ที่ได้มีความสมบูรณ์ที่สุด นอกจากนี้การกาหนดให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมตั้งแต่เริ่มต้นโครงการจนกระทั่งโครงการ
สาเร็จจะทาให้บุคคลเหล่านั้นมีความรู้สึกเป็นเจ้าของระบบงาน ซึ่งจะลดแรงต่อต้านในการนาระบบงานใหม่ไปติดตั้งใช้งานใน
อนาคต การขาดการมีส่วนร่วมอาจทาให้ไม่ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์ ส่งผลให้การพัฒนาระบบงานหรือซอฟต์แวร์ไม่เป็นไปตามความ
ต้องการหรือทาให้ต้องมีการปรับแก้ไขในภายหลังซึ่งจะต้องเสียเวลาและงบประมาณเพิ่มขึ้น ทาให้โครงการไม่ประสบความสาเร็จ
ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ได้
4 ทีมงาน (Team issues) ปัญหาทีมงานโครงการที่เกิดขึ้นซึ่งก่อให้เกิดความล้มเหลวของโครงการ คือ ทีมงาน
ขาดทักษะและความเชี่ยวชาญ ขาดความร่วมมือในการทางาน การกาหนดบทบาทหน้าที่ในการทางานของทีมงานไม่ชัดเจน
ทีมงานไม่เพียงพอและขาดแรงจูงใจในการทางาน
➢ความสาคัญของการบริหารโครงการซอฟต์แวร์
➢การพัฒนาโครงการซอฟต์แวร์ไม่ประสบความสาเร็จ
5 ความต้องการของระบบ (Requirements issues) การกาหนดขอบเขตความต้องการของระบบงานไม่
ชัดเจน รวมทั้งการเปลี่ยนความความต้องการของระบบหลังจากที่ได้ดาเนินการไปแล้ว เป็นปัญหาที่พบเจอได้บ่อยในการ
พัฒนาโครงการซอฟต์แวร์ ซึ่งผู้บริหารโครงการจะต้องคอยพิจารณาว่าการเปลี่ยนแปลงความต้องการนั้นเกินขอบเขตงาน
หรือไม่ หากเขียนขอบเขตความต้องการไม่ชัดเจนอาจทาให้เกิดการโต้แย้ง อาจมีส่วนงานที่ต้องทาเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจทาให้ไม่
สามารถปิดโครงการได้
6 การประมาณการ (Estimation) ในการประมาณการโครงการ ทั้งเรื่องของงบประมาณ แรงงาน และ
ระยะเวลาการดาเนินงานของโครงการ หากมีการประมาณการที่ไม่สัมพันธ์กับค่าใช้จ่ายหรือเนื้องาน อาจก่อให้เกิดปัญหาได้
การประมาณการโครงการที่กาหนดโดยฝ่ายจัดการที่ไม่มีประสบการณ์ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ เป็นสิ่งที่องค์กรควรพิจารณา
เพราะการประมาณการโครงการซอฟต์แวร์มีความแตกต่างจากโครงการประเภทอื่น หากให้ผู้ที่ไม่มีประสบการณ์ในการ
พัฒนาซอฟต์แวร์มาเป็นผู้ประมาณการอาจก่อให้เกิดปัญหา เช่น งบประมาณไม่เพียงพอ หรือระยะเวลาในการดาเนินงาน
ไม่เหมาะสม ซึ่งทาให้ไม่สามารถปิดโครงการได้
➢ความสาคัญของการบริหารโครงการซอฟต์แวร์
➢การพัฒนาโครงการซอฟต์แวร์ไม่ประสบความสาเร็จ
7 การวางแผน (Planning) ความล้มเหลวของโครงการที่เกิดจากการวางแผนเป็นสาเหตุที่พบ
มากที่สุด ในการวางแผนจะทาให้ทราบว่าในโครงการประกอบด้วยงานย่อยอะไรบ้าง มีการใช้ทรัพยากร
อะไร จานวนเท่าไร ระยะเวลาเริ่มงาน ระยะเวลาที่งานต้องเสร็จ รวมทั้งผู้รับผิดชอบ การวางแผนที่ดีจะทา
ให้ผู้บริหารสามารถติดตามและควบคุมการดาเนินงานให้เป็นไปตามแผนที่กาหนด หากไม่มีการวางแผน
หรือวางแผนไม่ดีจะทาให้ไม่สามารถดาเนินการตามแผนได้ อาจส่งผลให้ต้องยุติโครงการก่อนกาหนด
8 การบริหารความเสี่ยง (Risk management) การดาเนินงานโครงการทุกโครงการมี
ความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง การกาหนดวิธีการควบคุมและแก้ปัญหาเป็นสิ่งที่ควรดาเนินการ ความ
ล้มเหลวของโครงการที่เกิดขึ้นคือการละเลยในส่วนนี้
➢ความสาคัญของการบริหารโครงการซอฟต์แวร์
➢การพัฒนาโครงการซอฟต์แวร์ไม่ประสบความสาเร็จ
9 สถาปัตยกรรมและการออกแบบ (Architecture and design) ปัญหาการเริ่มพัฒนา
งานทีละส่วนของแต่ละบุคคลโดยมิได้คานึงถึงสถาปัตยกรรมในภาพรวมของระบบ อาจก่อให้เกิดปัญหา
ในการรวมระบบทั้งหมดเข้าด้วยกันเพื่อให้สามารถทางานได้ ซึ่งอาจทาให้มีค่าใช้จ่ายที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้นใน
ภายหลัง
10 การกาหนดค่าของระบบและการจัดการข้อมูล (Configuration and
information management) การละเลยการบันทึกรายละเอียดของระบบ
(Configuration) และการจัดการข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลรายละเอียดของระบบไว้ทั้งหมดทาให้
สามารถกลับมาทบทวนหรือเรียกดูร่องรอยเดิมหากมีการเปลี่ยนแปลงหรือมีเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดเกิด
ขึ้นกับระบบ เช่น การเผลอไปลบฐานข้อมูล หรือฮาร์ดดิสก์ที่เก็บข้อมูลมีปัญหา เป็นต้น
➢ความสาคัญของการบริหารโครงการซอฟต์แวร์
➢การพัฒนาโครงการซอฟต์แวร์ไม่ประสบความสาเร็จ
11 คุณภาพ (Quality) ความล้มเหลวในการวางแผนเพื่อตรวจสอบคุณภาพของซอฟต์แวร์ ซึ่งส่วนใหญ่การ
ตรวจสอบคุณภาพซอฟต์แวร์จะถูกมองว่าเป็นเรื่องไม่จาเป็น ก่อให้เกิดความสิ้นเปลืองและเสียเวลา แต่หากไม่มีการ
ตรวจสอบคุณภาพและพบปัญหาในภายหลัง อาจทาให้เสียค่าใช้จ่ายในส่วนที่ไม่คาดคิด งบประมาณอาจบานปลาย
12 การติดตามและการจัดการ (Project tracking and management) การขาดการติดตาม
ความก้าวหน้าของงานทาให้ไม่ทราบความก้าวหน้าของโครงการ หากมีปัญหาเกิดขึ้นในระหว่างการดาเนินงานจะไม่
สามารถแก้ไขได้ทันท่วงที นาไปสู่ปัญหาการส่งมอบงานไม่ทันตามระยะเวลาที่กาหนด
13 ปัญหาการตัดสินใจ (Decision making problems) ในกรณีที่ต้องมีการตัดสินใจการใช้ความรู้สึก
ในการตัดสินใจแทนการตัดสินใจอย่างเป็นเหตุเป็นผล และการขาดการตัดสินใจร่วมกันของคนในทีมงาน เป็นอีกสาเหตุหนึ่ง
ที่ทาให้โครงการซอฟต์แวร์ล้มเหลวได้
➢ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ
➢ความหมายของโครงการ
โครงการ (Project) หมายถึง แผนงานที่จัดขึ้นอย่างมีระบบ ประกอบด้วยกิจกรรมย่อยหลายกิจกรรมที่
ต้องใช้ทรัพยากรในการดาเนินงานและคาดหวังผลตอบแทนอย่างคุ้มค่า แผนงานต้องมีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดใน
การดาเนินงาน มีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน มีพื้นที่ดาเนินงาน มีบุคคลรับผิดชอบในการดาเนินงาน (ประชุม รอด
ประเสริฐ. 2547 : 4)
โครงการ หมายถึง กลุ่มของกิจกรรมที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นความพยายามจัดกิจกรรมที่มีลักษณะ
พิเศษอย่างเป็นระบบ เพื่อให้สามารถใช้ทรัพยากรอย่างฉลาดที่สุดในการดาเนินงาน ให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้
กาหนดไว้ ได้แก่ ผลประโยชน์ตอบแทนหรือผลได้อย่างหนึ่งในอนาคต กิจกรรมดังกล่าวต้องมีจุดเริ่มต้นและ
จุดสิ้นสุด (มยุรี อนุมานราชธน. 2551 : 6)
➢ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ
➢ความหมายของโครงการ
โครงการ คือ งานที่ต้องมีคุณลักษณะต่าง ๆ ได้แก่ มีการกาหนดวัตถุประสงค์ชัดเจน มีการกาหนดวัน
เริ่มต้นและสิ้นสุด มีความเกี่ยวข้องกับแผนกต่าง ๆ เป็นงานที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน และต้องมีการ
กาหนดเวลา งบประมาณ และความต้องการหรือผลลัพธ์ของโครงการที่ชัดเจน (Erik W. Larson
and Clifford F. Gray. 2011 : 5)
สรุปได้ว่า โครงการ คือ กลุ่มกิจกรรมที่มีวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง มีลักษณะเฉพาะ มีงาน
หรือกิจกรรม มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดของเวลา รวมทั้งมีขอบเขตในการใช้ทรัพยากร โครงการแต่ละโครงการ
จะมีความแตกต่างกัน ตัวอย่างโครงการ เช่น โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ โครงการฝึกอบรม โครงการ
ออกแบบผลิตภัณฑ์ โครงการวิจัย โครงการก่อสร้าง โครงการจัดงานหรือกิจกรรมต่าง ๆ เป็นต้น
➢ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ
➢ลักษณะของโครงการ
◦ มีการกาหนดวัตถุประสงค์ว่าเป็นโครงการที่สร้างขึ้นมาเพื่ออะไร ดาเนินโครงการเสร็จแล้วจะได้ผลลัพธ์อะไร รวมทั้งกาหนด
ขอบเขตการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ได้แก่ งบประมาณ ระยะเวลา โดยมีการกาหนดวันเริ่มต้นโครงการและวันแล้วเสร็จของ
โครงการอย่างชัดเจน
◦ มีลักษณะพิเศษ มีรายละเอียดของงานในโครงการที่มีความแตกต่างจากโครงการอื่นหรือโครงการที่เคยทามาแล้ว
◦ มีลักษณะชั่วคราว งานโครงการจะไม่ใช่งานประจา เมื่อดาเนินโครงการเสร็จสิ้นแล้วจะปิดโครงการและจะมีการคืน
ทรัพยากรทั้งหมด
◦ มีการข้ามสายงานการบริหารองค์กร การดาเนินงานโครงการจาเป็นต้องมีการติดต่อประสานงานกับฝ่ายอื่น ผู้ร่วมงาน
โครงการอาจมาจากฝ่ายต่าง ๆ ในองค์กร แต่การบริหารงานโครงการจะมีผู้บริหารโครงการเป็นผู้กากับดูแล
◦ มีความไม่แน่นอนหรือความเสี่ยง โดยเฉพาะโครงการใหญ่ที่ประกอบด้วยกิจกรรมย่อยเป็นจานวนมาก
◦ องค์กรที่เป็นเจ้าของโครงการเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
◦ มีกระบวนการของการทางานที่ชัดเจนเป็นไปตามวงจรชีวิตของโครงการ
◦ มีผู้บริหารโครงการ ที่ทาหน้าที่กากับดูแลและรับผิดชอบโครงการ
➢ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ
➢ประเภทของโครงการ
◦ โครงการพัฒนาการตลาด
◦ โครงการพัฒนาการปฏิบัติการหรือการผลิต
◦ โครงการวิจัยและพัฒนา
◦ โครงการพัฒนาบุคลากร
◦ โครงการพัฒนาการบริหาร
◦ โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์
◦ โครงการพัฒนางานการบัญชี
◦ โครงการพัฒนาการเงิน
◦ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ
➢ความแตกต่างระหว่างโครงการซอฟต์แวร์และโครงการอื่นๆ
ซอฟต์แวร์จับต้องไม่ได้
ซอฟต์แวร์เป็นสิ่งที่ไม่สามารถจับต้องได้ (Invisibility) จะมองเห็นได้ก็ต่อเมื่อต้องมีการติดตั้งโปรแกรมและใช้งาน ผล
ของการพัฒนาโครงการซอฟต์แวร์จะมองเห็นได้ยากเมื่อเปรียบเทียบกับโครงการอื่นที่สามารถสร้างและมองเห็นเป็นรูปธรรม
ได้อย่างชัดเจน เช่น โครงการก่อสร้างตึก สร้างถนน เป็นต้น
ซอฟต์แวร์มีความซับซ้อน
ซอฟต์แวร์มีความซับซ้อน (Complexity) มีความยากในการวัดหรือประเมินผลให้อยู่ในรูปตัวเงินหรือค่าใช้จ่าย ซึ่งมี
ความแตกต่างจากโครงการอื่นที่สามารถกาหนดค่า ราคาของทรัพยากรต่าง ๆ ได้อย่างชัดเจน
นอกจากนี้กระบวนการผลิตซอฟต์แวร์ในแต่ละที่มีความแตกต่างกัน อาจมีการปรับเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อมขององค์กร
นั้น ๆ
➢ความแตกต่างระหว่างโครงการซอฟต์แวร์และโครงการอื่นๆ
ความยากในการสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน
ในการพัฒนาโครงการอื่น ยกตัวอย่างโครงการสร้างตึก เราสามารถมองเห็นเป็นรูปธรรมได้ง่าย เช่น การกาหนดวัสดุ
อุปกรณ์ที่ต้องใช้ ซึ่งทุกอย่างจะมีรายละเอียด มีกฎเกณฑ์ในการเลือกใช้ และเห็นผลลัพธ์ที่ชัดเจน แต่การพัฒนาซอฟต์แวร์
จะขึ้นอยู่กับความต้องการของลูกค้า ซึ่งผู้พัฒนาจะต้องสอบถามว่าสิ่งที่ลูกค้าต้องการคืออะไร แล้วนามาพัฒนา จากนั้นจึง
นาเสนอลูกค้า แต่บางครั้งผลลัพธ์ที่ได้อาจไม่ตรงตามความต้องการของลูกค้า โดยผู้พัฒนาอาจมองเห็นว่าถูกต้องดีแล้ว แต่
ลูกค้าอาจไม่ได้คิดอย่างนั้น
ซอฟต์แวร์มีความยืดหยุ่น
ซอฟต์แวร์มีความยืดหยุ่น (Flexibility) มีโอกาสที่จะถูกปรับเปลี่ยนได้ เพื่อให้เกิดความเหมาะสมในการใช้งานและ
ตรงตามความต้องการ โครงการซอฟต์แวร์จะมีระดับของการเปลี่ยนแปลงสูงกว่าโครงการประเภทอื่น ๆ การจัดการกับการ
เปลี่ยนแปลงความต้องการเป็นสิ่งที่ยากสาหรับผู้บริหารโครงการ
➢การบริหารโครงการ
ความหมายของการบริหารโครงการ
การบริหารโครงการ หมายถึง การทาหน้าที่ต่าง ๆ ด้านการบริหาร ได้แก่ การวางแผน การจัด
องค์การ การบังคับบัญชา การประสานงาน การควบคุมการใช้ทรัพยากรของโครงการ เพื่อให้โครงการ
ดาเนินไปได้และบรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ (รัตนา สายคณิต. 2546 : 34)
การบริหารโครงการ หมายถึง การประยุกต์ความรู้ ทักษะ เครื่องมือ และเทคนิค เพื่อดาเนิน
กิจกรรมตามความต้องการของโครงการให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ (กิตติ ภักดีวัฒนะกุล และพนิดา
พานิชกุล. 2550 : 68)
การบริหารโครงการ คือ การประยุกต์ความรู้ ทักษะ เครื่องมือ และเทคนิคเข้ากับกิจกรรมของ
โครงการเพื่อให้งานออกมาตรงตามความต้องการของโครงการ (วราภรณ์ จิรชีพพัฒนา.2551 : 1-4)
➢การบริหารโครงการ
ความหมายของการบริหารโครงการ
การบริหารโครงการ หมายถึง การดาเนินการโดยอาศัย ทักษะ เครื่องมือ และกระบวนการจัดการ เพื่อที่จะนา
โครงการไปสู่ความสาเร็จ โดยทักษะหมายถึง ความรู้เฉพาะด้าน ความสามารถและประสบการณ์ เครื่องมือ คือ
อุปกรณ์ที่ผู้บริหารโครงการใช้ในการบริหารโครงการและในส่วนของกระบวนการจัดการ หมายถึง เทคนิคทางการ
บริหารที่จาเป็นสาหรับการติดตามงานรวมทั้งการควบคุมเวลา ต้นทุน คุณภาพและขอบเขตของโครงการ เช่น
เทคนิคการบริหารเวลา การบริหารต้นทุน การบริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารความเสี่ยง เป็นต้น
(Westland. 2006 : 2)
การบริหารโครงการในความหมายของผู้เรียบเรียง หมายถึง การใช้หลักการบริหารจัดการในการกาหนด
กิจกรรมและใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
โดยทรัพยากรจะรวมถึงบุคลากร ทีมงาน งบประมาณ เครื่องมือ เครื่องใช้ วัสดุ อุปกรณ์อานวยความสะดวกต่าง ๆ
ตลอดจนข้อมูล ระบบงาน เทคนิคและเวลา การบริหารโครงการประกอบด้วยกิจกรรมหลัก ๆ ได้แก่ การวางแผน การ
ปฏิบัติงานตามแผน การติดตามและการประเมินผลโครงการ
➢การบริหารโครงการ
ความเป็นมาของการบริหารโครงการ
เทคนิคการบริหารโครงการ เริ่มในช่วงปี พ.ศ. 2503 โดยองค์การด้านอวกาศของสหรัฐอเมริกาเริ่มจัดทาหลักสูตร
อบรมและแพร่สู่ภาคธุรกิจ อุตสาหกรรมที่เน้นการผลิตเป็นจานวนมาก โดยเรียกในชื่อต่าง ๆ เช่น การบริหารโปรแกรม
การบริหารการผลิต การบริหารงานก่อสร้าง เป็นต้น ในช่วงสิบปีต่อมา การบริหารองค์กรเน้นในเรื่องของคุณภาพ
ผลิตภัณฑ์และความหลากหลาย ในช่วงนี้ได้มีการนาหลักการบริหารโครงการมาใช้อย่างแพร่หลายเพื่อตอบสนองความ
ต้องการและแรงกดดันทางการแข่งขันที่มีมากขึ้น
➢การบริหารโครงการ
ความเป็นมาของการบริหารโครงการ
วิวัฒนาการของการบริหารโครงการได้ 3 ระยะ
oการบริหารโครงการแบบเฉพาะกิจ (ad hoc project management) เป็นการบริหารงานโครงการที่ต้องการผลงานอย่าง
เร่งด่วน ผู้บริหารองค์กรจะตั้งทีมงานเฉพาะกิจ ให้ทางานโครงการ มีผู้รับผิดชอบโครงการ ทีมงานมาจากแผนกต่าง ๆ ในองค์กรซึ่ง
อาจต้องทางานประจาและทางานโครงการด้วย จึงอาจก่อให้เกิดปัญหาในเรื่องการแบ่งเวลา ความขัดแย้งระหว่างผู้ร่วมทีมงาน ซึ่ง
อาจมีผลให้โครงการไม่เสร็จตามที่กาหนดได้
◦ การบริหารโครงการอย่างมีแบบแผน (formal project management) เป็นการนาโครงการมาใช้ในองค์กร
มากขึ้น ผู้บริหารระดับสูงให้ความสนใจต่อการบริหารโครงการมากขึ้น มีการฝึกอบรมด้านการบริหารโครงการทั้งทฤษฎี
และปฏิบัติ มีการลดอานาจของผู้บริหารตามสายงานปกติ ในการควบคุมทีมงานให้เข้ามามีอิทธิพลต่อการดาเนินงาน
โครงการ
◦ การบริหารโครงการอย่างเต็มรูปแบบ (project-driven organization) ในระยะนี้ผู้บริหารระดับสูงจะเข้ามา
มีบทบาทในการกาหนดกลยุทธ์ขององค์กร กระตุ้นให้มีการริเริ่มโครงการ จัดอันดับความสาคัญของโครงการให้
สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ มีระบบการติดตาม การประเมินผล การดาเนินงานโครงการและให้ความสาคัญกับผู้บริหาร
โครงการมากขึ้น
➢การบริหารโครงการ
วัตถุประสงค์ของการบริหารโครงการ
◦ เพื่อให้โครงการเสร็จตามเวลาที่กาหนด
◦ เพื่อให้สามารถควบคุมการใช้ทรัพยากรโครงการให้เป็นไปตามที่กาหนด
◦ เพื่อให้สามารถกาหนดระดับการทางาน ขอบเขต วิธีการปฏิบัติ กระบวนการปฏิบัติ รวมทั้งเครื่องมือหรือเทคนิคต่าง ๆ ที่
ช่วยในการบริหารโครงการ
◦ เพื่อให้สามารถกาหนดเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องหรือเทคนิคที่จาเป็นต้องใช้ในการดาเนินงานโครงการ
◦ เพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
◦ เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งภายในองค์กรและนอกองค์กร
➢การบริหารโครงการ
วัตถุประสงค์ของการบริหารโครงการ
นอกจากนี้Kathy Schwalbe (2010 : 9) ได้กาหนดเป้าหมายของการบริหารโครงการไว้ 3 ด้าน
โดยกล่าวว่า การบริหารโครงการให้ประสบความสาเร็จ จะต้องบรรลุเป้าหมายทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ขอบเขต
(Scope) เวลา (Time) และต้นทุน (Cost)
ความแตกต่างระหว่างการบริหารโครงการและการบริหารในสายงาน
ปกติ
การบริหารโครงการ การบริหารงานในสายงานปกติ
ระยะเวลา แน่นอน มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดโครงการชัดเจน ต่อเนื่อง ไม่ระบุจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด
ทีมงาน ปรับเปลี่ยนไปตามความเหมาะสม ค่อนข้างคงตัว
ทักษะความเชี่ยวชาญ จาเป็นต้องมีทักษะความเชี่ยวชาญ สามารถพัฒนาเพิ่มได้สาหรับผู้ที่ไม่ชานาญ
การใช้ทรัพยากร ใช้จากัด ตามช่วงระยะเวลาที่ดาเนินงานโครงการ ใช้ทรัพยากรอย่างต่อเนื่อง
โอกาสความขัดแย้ง มีโอกาสความขัดแย้งสูง โอกาสความขัดแย้งน้อย
การบังคับบัญชา ผู้บริหารโครงการเป็นผู้บังคับบัญชาหลัก ผู้บริหารตามสายงานปกติเป็นผู้บังคับบัญชา
ลักษณะงาน ลักษณะงานไม่ซ้า ลักษณะงานที่เป็นกิจวัตรประจาวัน
ประโยชน์ของการบริหารโครงการ
◦ สามารถระบุความรับผิดชอบตามหน้าที่ได้ เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นว่าทุกกิจกรรมดาเนินไปด้วยดี
◦ ไม่ต้องมีการรายงานผลที่มากเกินไป เนื่องจากการบริหารโครงการจะมีระบบการติดตามและควบคุมการดาเนินงาน
อย่างต่อเนื่อง ทาให้ไม่ต้องรายงานผลทั้งหมดในครั้งเดียว
◦ สามารถระบุขอบเขตด้านเวลา ในตารางแผนการดาเนินงาน ทาให้สามารถติดตามควบคุมการดาเนินงานโครงการได้
◦ สามารถควบคุมการใช้ทรัพยากรโครงการได้
◦ สามารถกาหนดวิธีการวิเคราะห์ทางเลือก ทาให้ลดความเสี่ยงในการเลือกโครงการ
◦ สามารถวัดความสาเร็จของแผน ทาให้ทราบว่าโครงการสาเร็จมากน้อยเพียงใด
◦ มีการระบุปัญหาเพื่อให้มีการแก้ไขการทางาน รวมถึงการวางแผนในอนาคต
◦ มีระบบการติดตามการดาเนินงาน ทาให้ทราบทันที เมื่อการดาเนินงานไม่เป็นไปตามแผนที่ตั้งไว้
ข้อจากัดของการบริหารโครงการ
◦ ความสลับซับซ้อนของโครงการ ทาให้เกิดความยุ่งยากในการสื่อสาร ประสานงาน
◦ ความต้องการเฉพาะด้านสาหรับลูกค้า
◦ การปรับโครงสร้างขององค์กร ทาให้ขาดอานาจในการสั่งงานฝ่ายอื่น
◦ ความเสี่ยงจากโครงการ
◦ การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่ใช้ในการบริหารโครงการ
◦ มีการวางแผนและการตั้งเวลา หากวางแผนผิดพลาดทาให้ไม่สามารถปฏิบัติตามแผนได้
➢การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
➢เป็นการประยุกต์รวมหลักการของการบริหารโครงการและหลักการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ในการพัฒนา
เพื่อให้ได้ผลผลิตซอฟต์แวร์ที่เป็นไปตามเป้าหมายของการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ตรงตามความต้องการ โดยมี
การใช้ทรัพยากรและงบประมาณที่จากัดภายในระยะเวลาที่น้อยที่สุดที่เป็นไปได้
➢กระบวนการบริหารโครงการซอฟต์แวร์และกระบวนการวิศวกรรม
ซอฟต์แวร์
เริ่มต้น
โครงการ
วางแผนโครงการ
(การพัฒนาความต้องการ,
การออกแบบซอฟต์แวร์,
การสร้างซอฟต์แวร์, การ
ทดสอบซอฟต์แวร์, การ
นาไปใช้, การบารุงรักษา)
ติดตามและควบคุมโครงการ
(การพัฒนาความต้องการ,
การออกแบบซอฟต์แวร์, การ
สร้างซอฟต์แวร์, การทดสอบ
ซอฟต์แวร์, การนาไปใช้, การ
บารุงรักษา)
ปิด
โครงการ
ความท้าทายของการบริหารโครงการซอฟต์แวร์
1.1 นวัตกรรมระดับสูง ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ จาเป็นต้องใช้เครื่องมือหรือเทคโนโลยีต่าง ๆ เทคโนโลยีเหล่านี้มีการเปลี่ยนแปลงไป
อย่างรวดเร็วและมีมูลค่าสูง การเลือกใช้เทคโนโลยีที่มีความเหมาะสมโดยคานึงถึงแนวโน้มในอนาคต จะช่วยทาให้ได้ผลลัพธ์หรือ
ซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพดีและเกิดความคุ้มค่าในการใช้งาน
1.2 กระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ยังไม่ชัดเจน ทาให้การผลิตซอฟต์แวร์ยังไม่มีคุณภาพ ไม่เป็นไปตามความต้องการของลูกค้า ใช้
ระยะเวลาในการพัฒนานานเกินกาหนด งบประมาณบานปลาย เป็นต้น
1.3 ขาดทักษะที่เหมาะสม การขาดทักษะที่เหมาะสมในการดาเนินงานทั้งทักษะเฉพาะด้านและทักษะในการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ
ของผู้บริหารโครงการและทีมงานพัฒนาซอฟต์แวร์ อาจส่งผลให้การดาเนินงานโครงการล่าช้าหรือมีอุปสรรค
1.4 เครื่องมือและเทคนิคไม่เพียงพอ การขาดเครื่องมือและเทคนิคที่เหมาะสมในการพัฒนาซอฟต์แวร์ อาจทาให้การดาเนินงานพัฒนา
ซอฟต์แวร์ไม่ประสบความสาเร็จ ก่อให้เกิดปัญหาในภายหลังได้
1.5 ความซับซ้อน ของซอฟต์แวร์ โดยเฉพาะการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่มีขนาดใหญ่จะมีความซับซ้อนมาก หากมีการวิเคราะห์และ
ออกแบบโครงสร้างและระบบการทางานไม่ดี อาจส่งผลกระทบ เกิดปัญหาและอาจทาให้โครงการไม่เสร็จตามที่กาหนดได้
1.6 ความต้องการไม่ชัดเจน การเปลี่ยนแปลงความต้องการของลูกค้าในภายหลังทาให้เกิดความยากในการบริหารจัดการเพื่อให้
เป็นไปตามแผนงาน บางครั้งอาจต้องมีการปรับเปลี่ยนแผนงาน หากบริหารจัดการไม่ดีอาจทาให้โครงการล้มเหลวได้
กิจกรรมหลักของการบริหารโครงการซอฟต์แวร์
1. การกาหนดโครงการ
2. การวางแผนการดาเนินงานโครงการ
3. การประมาณการต้นทุนโครงการ
4. การควบคุม ติดตามโครงการ
5. การจัดสรรบุคลากรในการดาเนินงานโครงการ
6. การรายงานผลการดาเนินงานโครงการ
ปัจจัยสู่ความสาเร็จในการบริหารโครงการ
1. การบริหารโครงการโดยรวม (Integration management) มีวัตถุประสงค์เพื่อบริหารจัดการโครงการในภาพรวมให้โครงการสาเร็จ
โดยจะเกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสาร การประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง การประสานงานกับบุคลากรที่เป็นผู้บริหารระดับสูง
ระดับกลาง และระดับปฏิบัติการ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและความสะดวกในการดาเนินงานโครงการตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งโครงการสาเร็จ ซึ่ง
ผู้บริหารโครงการจะต้องบริหารจัดการการประสานงาน ต่าง ๆ โดยไม่ให้เกิดปัญหาตลอดระยะเวลาโครงการ
2. การบริหารขอบเขตของโครงการ (Scope management) เป็นการกาหนดขอบเขตของการดาเนินงานโครงการ เริ่มจากการวางแผน
การเก็บรวบรวมข้อมูลความต้องการ การกาหนดขอบเขตของงานว่ามีงานหลัก งานย่อยอะไรบ้างที่จาเป็นต้องทาในโครงการ อาจใช้เทคนิค
การแตกงาน WBS (Work breakdown structure) มาช่วยได้ นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมการตรวจสอบและควบคุมขอบเขตของงาน
3. การบริหารเวลาโครงการ (Time management) เป็นการบริหารจัดการโครงการให้เสร็จตามระยะเวลาที่กาหนด โดยต้องกาหนดแผน
หรือตารางการดาเนินงานโครงการ เช่น กาหนดงานหลัก และงานย่อยว่าแต่ละงานควรใช้เวลาในการดาเนินงานเท่าไร งานไหนควรเริ่มทา
ก่อนหรือทาทีหลัง ทรัพยากรที่ต้องใช้ในการดาเนินงานแต่ละงานใช้อะไรบ้าง การบริหารเวลาโครงการจาเป็นต้องมีการควบคุม การติดตาม
การดาเนินงาน ว่าเป็นไปตามแผนหรือไม่ และต้องแก้ปัญหาหากมีเหตุการณ์ที่ไม่สามารถดาเนินงานให้แล้วเสร็จตามแผนงานได้
4. การบริหารต้นทุนโครงการ (Cost management) เป็นการบริหารจัดการเพื่อใช้ต้นทุนไม่เกินงบประมาณที่ได้รับ เริ่มแรกอาจต้อง
วางแผนประมาณการต้นทุนทั้งหมด ซึ่งมาจากทรัพยากรทั้งหมดที่ต้องใช้และควบคุมการใช้ให้เป็นไปตามแผนที่ตั้งไว้การบริหารจัดการผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder management) หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานโครงการ มีการกาหนดผู้ที่เกี่ยวข้อง วางแผน
จัดการการประสานงาน การนัดหมายให้เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาโครงการ มีการสร้างความเข้าใจที่ตรงกันระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้อง
เพื่อให้สามารถดาเนินงานโครงการต่อไปได้อย่างถูกต้อง
ปัจจัยสู่ความสาเร็จในการบริหารโครงการ
5. การบริหารคุณภาพโครงการ (Quality management) ผู้บริหารโครงการต้องควบคุมคุณภาพโครงการเพื่อให้การดาเนินงานมี
คุณภาพทุกกิจกรรมที่ทา มีการจัดระบบคุณภาพ ซึ่งประกอบด้วย การวางแผนงานคุณภาพ การรับประกันคุณภาพ การควบคุมคุณภาพ และ
การปรับปรุงคุณภาพ
6. การบริหารทรัพยากรบุคคลของโครงการ (Human resources management) เป็นการจัดหาทีมงานเพื่อมาดาเนินงานโครงการ
ให้เกิดความคุ้มค่าที่สุด การคัดเลือกคนที่มีความรู้ความสามารถ การมอบหมายงานที่ตรงกับความเชี่ยวชาญ เพื่อให้สามารถทางานโครงการ
ให้มีประสิทธิภาพที่สุด
7. การบริหารการสื่อสารในโครงการ (Communications management) เป็นการบริหารจัดการเพื่อให้การดาเนินงานต่าง ๆ เช่น
การจัดทารายงาน การเก็บข้อมูล การเผยแพร่ การประสานงาน การส่งข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทางเป็นไปได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว
8. การบริหารความเสี่ยงโครงการ (Risk management) เป็นการกาหนดปัจจัยเสี่ยง การวิเคราะห์วามเสี่ยง การวางแผนความเสี่ยง การ
ติดตามความเสี่ยงและการแก้ปัญหาความเสี่ยงของโครงการ
9. การบริหารการจัดซื้อของโครงการ (Procurement management) เป็นกระบวนการจัดซื้ออุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ การว่าจ้าง
โดยมีการทาสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง มีกระบวนการในการจัดซื้อจัดจ้าง ได้แก่ การวางแผนจัดซื้อจัดจ้าง การดาเนินการจัดซื้อจัดจ้าง การทา
สัญญาและการยุติสัญญา
10.การบริหารจัดการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder management) หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานโครงการ มีการกาหนดผู้ที่
เกี่ยวข้อง วางแผนจัดการการประสานงาน การนัดหมายให้เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาโครงการ มีการสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน
ระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้สามารถดาเนินงานโครงการต่อไปได้อย่างถูกต้อง
➢บทบาทของผู้บริหารโครงการ
◦ การสร้างเอกสารสิทธิ์โครงการ ที่ประกอบไปด้วยการประเมินความต้องการ การกาหนดขอบเขต
โครงการ กาหนดผู้ที่เกี่ยวข้อง ผู้ตัดสินใจและวิธีดาเนินงาน
◦ การวางแผน เป็นการพัฒนารายละเอียดของงาน กาหนดการใช้ทรัพยากร ระยะเวลา งบประมาณ
◦ การบริหารความเสี่ยง เป็นการระบุและประเมินความเสี่ยง พร้อมทั้งแผนบริหารความเสี่ยง
◦ การติดตามและควบคุมการดาเนินงาน บริหารกระบวนการควบคุมการเปลี่ยนแปลง และรายงาน
สถานภาพของโครงการ
➢ทักษะความรู้สาหรับผู้บริหารโครงการ
ทักษะความรู้สาหรับผู้บริหารโครงการใน
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์ให้สาเร็จ
การบริหารโครงการ
วิศวกรรมซอฟต์แวร์
เทคโนโลยีและเครื่องมือ
การจัดการทีมงานและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
โครงสร้างการบริหารงานในองค์กร

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
aragamammy
 
แบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรมแบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรม
Phajon Kamta
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
kasetpcc
 
แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
Peung Chanthimarn
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
maethaya
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
supimon1956
 
แบบเรียนเร็วใหม่
แบบเรียนเร็วใหม่แบบเรียนเร็วใหม่
แบบเรียนเร็วใหม่
Lathiga Phabchai
 
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
Jiraporn Kru
 

La actualidad más candente (20)

1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ
 
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
แบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรมแบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรม
 
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
 
แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
 
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงานบทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
ปก
ปกปก
ปก
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
 
แบบเรียนเร็วใหม่
แบบเรียนเร็วใหม่แบบเรียนเร็วใหม่
แบบเรียนเร็วใหม่
 
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
 

Similar a 1

แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพแนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
Rapeepan Thawornwanchai
 
An Overview Of I Troject Panagement
An  Overview Of  I  Troject  PanagementAn  Overview Of  I  Troject  Panagement
An Overview Of I Troject Panagement
True Corporation
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
Rattana Wongphu-nga
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
Rattana Wongphu-nga
 
ตัวอย่าโครงงานคอม
ตัวอย่าโครงงานคอมตัวอย่าโครงงานคอม
ตัวอย่าโครงงานคอม
Duangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
คีตะบลู รักคำภีร์
 

Similar a 1 (20)

Agile Process
Agile ProcessAgile Process
Agile Process
 
K5
K5K5
K5
 
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพแนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
 
02 intro to psp
02 intro to psp02 intro to psp
02 intro to psp
 
An Overview Of I Troject Panagement
An  Overview Of  I  Troject  PanagementAn  Overview Of  I  Troject  Panagement
An Overview Of I Troject Panagement
 
System Development Life Cycle
System Development  Life  CycleSystem Development  Life  Cycle
System Development Life Cycle
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)
 
Intelligence Guaranteed Development: The New Paradigm Enabled by Open Source ...
Intelligence Guaranteed Development: The New Paradigm Enabled by Open Source ...Intelligence Guaranteed Development: The New Paradigm Enabled by Open Source ...
Intelligence Guaranteed Development: The New Paradigm Enabled by Open Source ...
 
ตัวอย่าโครงงานคอม
ตัวอย่าโครงงานคอมตัวอย่าโครงงานคอม
ตัวอย่าโครงงานคอม
 
Thossaphol o oo_migration_success_rmutto5_16_may_2012 [compatibility mode]
Thossaphol o oo_migration_success_rmutto5_16_may_2012 [compatibility mode]Thossaphol o oo_migration_success_rmutto5_16_may_2012 [compatibility mode]
Thossaphol o oo_migration_success_rmutto5_16_may_2012 [compatibility mode]
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรมใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
System development life cycle sdlc
System development life cycle  sdlcSystem development life cycle  sdlc
System development life cycle sdlc
 

Más de pop Jaturong

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
pop Jaturong
 

Más de pop Jaturong (20)

3
33
3
 
5
55
5
 
4
44
4
 
2
22
2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security
 
306325 unit7-product-delivery-for-ec
306325 unit7-product-delivery-for-ec306325 unit7-product-delivery-for-ec
306325 unit7-product-delivery-for-ec
 

1