SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 25
สมาชิกกลุ่ม 1 1.ด.ญ.จริยา   ฟองงาม  เลขที่ 20   ชั้น ม.3/3 2.ด.ญ.ธนัชพร   พรหมวิชัย  เลขที่ 24   ชั้น ม.3/3 3.ด.ญ.รัตนาภรณ์  ค้าสม  เลขที่ 28  ชั้น ม.3/3 4.ด.ญ.รูซีตา  มะอายุ  เลขที่ 30  ชั้น ม.3/3 5.ด.ญ.สุนิสา  ภักดีผล  เลขที่ 37    ชั้น ม.3/3
เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า  เครื่องใช้ไฟฟ้า คือ อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปอื่น เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่ 1. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง 2. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน 3. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล 4. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง นอกจากนี้ยังมีเครื่องใช้ไฟฟ้าที่สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานรูปอื่นหลายรูปในเวลาเดียวกัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง หลอดไฟ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นแสงสว่างให้เราสามารถมองเห็นสิ่งต่างๆ ได้ ซึ่ง โธมัสเอดิสัน เป็นผู้ประดิษฐ์หลอดไฟเป็นครั้งแรก โดยใช้คาร์บอนเส้นเล็กๆ เป็นไส้หลอดและได้มีการพัฒนาเรื่อยมาเป็นลำดับ ประเภทของหลอดไฟ 1. หลอดไฟฟ้าธรรมดา มีไส้หลอดที่ทำด้วยลวดโลหะที่มีจุดหลอมเหลวสูง เช่น ทังสเตนเส้นเล็กๆ ขดเอาไว้เหมือนขดลวดสปริงภายในหลอดแก้วสูบอากาศออกหมดแล้วบรรจุก๊าซเฉื่อย เช่น อาร์กอน (Ar) ไว้ ก๊าซนี้ช่วยป้องกันไม่ให้หลอดไฟฟ้าดำ  หลักการทำงานของหลอดไฟฟ้าธรรมดา กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไส้หลอดซึ่งมีความต้านทานสูง พลังงานไฟฟ้าจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน ทำให้ไส้หลอดร้อนจัดจนเปล่งแสงออกมาได้ การเปลี่ยนพลังงานเป็นดังนี้ พลังงานไฟฟ้า >>>พลังงานความร้อน >>>พลังงานแสง
2. หลอดเรื่องแสง หรือ หลอดฟลูออเรสเซนต์ (fluorescent) เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานแสงสว่าง ซึ่งมีการประดิษฐ์ในปี ค.ศ. 1938 โดยมีรูปร่างหลายแบบ อาจทำเป็นหลอดตรง สั้น ยาว ขดเป็นวงกลมหรือครึ่งวงกลม เป็นต้น
ส่วนประกอบของหลอดเรืองแสง ตัวหลอดมีไส้โลหะทังสเตนติดอยู่ที่ปลายทั้ง 2 ข้าง ของหลอดแก้ว ซึ่งผิวภายในของหลอดฉาบด้วยสารเรื่องแสง อากาศในหลอดแก้วถูกสูบออกจนหมดแล้วใส่ไอปรอทไว้เล็กน้อย
อุปกรณ์ที่ใช้เพื่อให้หลอดเรืองแสงทำงาน 1. สตาร์ตเตอร์ (starter) ทำหน้าที่เป็นสวิตซ์อัตโนมัติในขณะหลอดเรืองแสง ยังไม่ติดและหยุดทำงานเมื่อหลอดติดแล้ว 2. แบลลัสต์ (Ballast) ทำหน้าที่เพิ่มความต่างศักย์ เพื่อให้หลอดไฟเรืองแสงติดในตอนแรกและทำหน้าที่ ควบคุมกระแสไฟฟ้าที่ผ่านหลอด ให้ลดลงเมื่อหลอดติดแล้ว การใช้หลอดเรืองแสงต้องต่อวงจรเข้ากับสตาร์ตเตอร์และแบลลัสต์ แล้วจึงต่อเข้ากับสายไฟฟ้าในบ้าน
หลักการทำงานของหลอดเรืองแสง เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไส้หลอดจะทำให้ไส้หลอดร้อนขึ้น ความร้อนที่เกิดทำให้ปรอทที่บรรจุไว้ในหลอดกลายเป็นไอมากขึ้น เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไอปรอทได้จะคายพลังงานไฟฟ้าให้ไอปรอท ทำให้อะตอมของไอปรอทอยู่ในภาวะถูกกระตุ้น และอะตอมปรอทจะคายพลังงานออกมาเพื่อลดระดับพลังงานของตนในรูปของรังสีอัลตราไวโอเลต เมื่อรังสีดังกล่าวกระทบสารเรืองแสงที่ฉาบไว้ที่ผิวในของหลอดเรืองแสงนั้นก็จะเปล่งแสงได้ โดยให้แสงสีต่างๆ ตามชนิดของสารเรืองแสงที่ฉาบไว้ภายในหลอดนั้น เช่น แคดเมียมบอเรทจะให้แสงสีชมพู ซิงค์ซิลิเคทให้แสงสีเขียว แมกนีเซียมทังสเตนให้แสงสีขาวอมฟ้า และยังอาจผสมสารเหล่านี้เพื่อให้ได้สีผสมที่แตกต่างออกไปอีกด้วย
ข้อดีของหลอดเรืองแสง 1. มีประสิทธิภาพสูงกว่าหลอดไฟฟ้าธรรมดา เสียค่าไฟฟ้าเท่ากัน แต่ได้ไฟที่สว่างกว่า 2. ให้แสงที่เย็นตา กระจายไปทั่วหลอด ไม่รวมเป็นจุดเหมือนหลอดไฟฟ้าธรรมดา 3. อาจจัดสีของแสงแปรเปลี่ยนได้ โดยการเปลี่ยนชนิดสารเรืองแสง 4. อุณหภูมิของหลอดเรืองแสงไม่สูงเท่ากับหลอดไฟธรรมดาขณะทำงาน 3. หลอดนีออน หรือหลอดไฟโฆษณา เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นแสงสว่าง มีลักษณะเป็นหลอดแก้วที่ถูกลนไฟ ดัดเป็นรูปหรืออักษรต่างๆ สูบอากาศออกเป็นสูญญากาศ แล้วใส่ก๊าซบางชนิดที่ให้แสงสีต่างๆ ออกมาได้ เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านหลอดชนิดนี้ไม่มีไส้หลอดไฟ แต่ใช้ขั้วไฟฟ้าทำด้วยโลหะติดอยู่ที่ปลายทั้ง 2 ข้าง แล้วต่อกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์สูงประมาณ 10,000 โวลต์ ซึ่งมีความต่างศักย์ที่สูงมาก จะทำให้ก๊าซที่บรรจุไว้ในหลอดเกิดการแตกตัวเป็นนีออนและนำไฟฟ้าได้ เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านก๊าซเหล่านี้จะทำให้ก๊าซร้อนติดไฟให้แสงสีต่างๆ ได้
ข้อแนะนำการใช้หลอดไฟอย่างประหยัด 1. ใช้หลอดเรืองแสงจะให้แสงสว่างมากกว่าหลอดธรรมดาประมาณ 4 เท่า เมื่อใช้พลังงานไฟฟ้าเท่ากัน และอายุการใช้งานจะทนกว่าประมาณ 8 เท่า 2. ใช้แสงสว่างให้เหมาะกับการใช้งาน ที่ใดต้องการแสงสว่างไม่มากนักควรติดไฟน้อยดวง 3. ทำความสะอาดโป๊ะไฟ จะให้แสงสว่างเต็มที่ 4. ปิดไฟทุกครั้งที่ไม่จำเป็นต้องใช้
การเปลี่ยนรูปพลังงานนิวเคลียสเป็นพลังงานความร้อน พลังงานแสง ... พลังงานนิวเคลียร์          พลังงานแสง           พลังงานความร้อน       เตาอบไมโครเวฟเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่สามารถเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงาน         ซึ่งไปมีผลทำให้โมเลกุลของน้ำและไขมันในอาหารสั่นสะเทือนจน เกิดความร้อนการเปลี่ยนรูปของพลังงานมีดังนี้ พลังงานไฟฟ้า    พลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า     พลังานกล    พลังงานความร้อน     พลังงานนิวเคลียร์ส่วนใหญ่ถูกนำมาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า        นิวเคลียร์ฟิชชันที่สามารถควบคุมได้ภายในเตาปฏิกรณ์ปรมาณูพลังงานความร้อนจำนวนมหาศาลที่ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์       จะนำไปใช้ในการทำน้ำเดือดกลายเป็นไอ เพื่อขับดันกังหันและผลิตกระแสไฟฟ้าแต่การสร้างโรงผลิตกระแสไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์นั้น ต้องทุนสูง และหาสถานที่ก่อสร้างอยาก เนื่องจากกากที่ได้จากปฏิกิริยาเป็นสารกัมมันตรังสีซึ่งเป็นอันตราย และใช้เวลานานในการสลายตัว
       ข้อดีของพลังงานสุริยะ คือ         1.ไม่ต้องเสียค่าเชื้อเพลิง         2.สะอาดและไม่ทำให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม         3.มีให้ใช้ได้อีกนาน เพราะไม่เป็นเชื้อเพลิงที่ใช้แล้วหมดไป         4.สามารถใช้ได้ทุกที่ไม่ว่าจะอยู่ที่ใดบนโลก          ข้อเสียของพลังงานสุริยะ คือ         1.อุปกรณ์ที่ใช้กับพลังงานสุริยะมีราคาแพง         2 .สามารถใช้ได้เฉาะเวลากลางวันเท่านั้น         3.ต้องขึ้นอยู่กับสภาพดินฟ้าอากาศ คือ ใช้ได้เฉพาะวันอากาศแจ่มใส
 เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล                 เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล  มีการเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล โดยอาศัยหลักการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า ด้วยอุปกรณ์ ที่เรียกว่า มอเตอร ์และ เครื่องควบคุมความเร็วซึ่งเป็นอุปกรณ์หลักในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล ตัวอย่าง เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล เช่น เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น เครื่องดูดฝุ่น พัดลม เครื่องซักผ้า เครื่องปั่นน้ำผลไม้ ฯลฯ
 มอเตอร์   เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล  ประกอบด้วยขดลวดที่พันรอบแกนโลหะที่วางอยู่ระหว่างขั้วแม่เหล็ก โดยเมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปยังขดลวดที่อยู่ระหว่างขั้วแม่เหล็ก จะทำให้ขดลวดหมุนไปรอบแกน และเมื่อสลับขั้วไฟฟ้า การหมุนของขดลวดจะหมุนกลับทิศทางเดิม    มอเตอร์  มี 2 ประเภท คือ มอเตอร์กระแสตรง และมอร์กระแสสลับ    มอเตอร์กระแสตรง เป็นมอเตอร์ที่ต้องใช้ไฟฟ้กระแสตรงผ่านเข้าไปในขดลวดอาร์เมเจอร์เพื่อทำให้ เกิดการดูดและผลักกันของแม่เหล็กถาวรกับแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากขดลวด มอเตอร์จึงหมุนได้   มอเตอร์กระแสสลับ เป็นมอเตอร์ที่ต้องใช้กับไฟฟ้ากระแสสลับ โดยใช้หลักการดูดและผลักกันของแม่เหล็กถาวรกับแม่เหล็กไฟฟ้าจากขดลวดมาทำให้ เกิดการหมุนของมอเตอร์
    ขณะที่มอเตอร์กำลังหมุนจะเกิดการเหนี่ยวนำไฟฟ้าขึ้นทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าซ้อนขึ้นภายในขดลวด แต่มีทิศทางการไหลสวนทางกับกระแสไฟฟ้าที่มาจากแหล่งกำเนิดพลังงานไฟฟ้าเดิม ทำให้ขดลวดของมอเตอร์ไม่ร้อนจนเกิดไฟไหม้ได้   เครื่องควบคุมความเร็วของมอเตอร์  ทำได้โดย การเพิ่มหรือลดความต้านทานให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้มากหรือน้อยภานในเครื่องใช้ไฟฟ้านั้น ซึ่งเป็นผลให้ความเร็วของการหมุนมอเตอร์เปลี่ยนไปจากเดิม  เช่น เมื่อต้องการให้พัดลมหมุนช้าลง ก็ให้เพิ่มความต้านทานเพื่อให้กระแสไฟฟ้าเข้าได้น้อยลงเป็นผลให้พัดลมหมุนช้าลง  ฉะนั้นในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกลจะต้องมีเครื่องควบคุมความเร็วของมอตอร์เสมอ   
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง                 เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง ได้แก่  เครื่องรับวิทยเครื่องขยายเสียงุ เครื่องบันทึกเสียง ฯลฯ                   เครื่อง รับวิทยุ   เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง โดยรับคลื่นวิทยุ จากสถานีส่งแล้วใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขยายสัญญาณเสียงที่มีอยู่ในรูปของ สัญญาณไฟฟ้าให้แรงขึ้นเมื่อผ่านสัญญาณไฟฟ้านี้ไปยังลำโพงจะทำให้ลำโพงสั่น สะเทือนเปลี่ยนเป็นเสียงที่สามารถรับฟังได้   เสาอากาศ         ขยายสัญญาณ          ลำโพง                  เสียง                                 (รับคลื่นวิทยุ)                                              แผนผังการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียงของเครื่องรับวิทยุ
เครื่องบันทึกเสียง (Tape recorder)                 เครื่องบันทึกเสียง ขณะบันทึกด้วยการพูดผ่านไมโครโฟน ซึ่งจะเปลี่ยนพลังงานเสียงเป็นสัญญาณไฟฟ้า แล้วบันทึกลงในแถบบันทึกเสียงซึ่งฉาบด้วยสารแม่เหล็กในรูปของสัญญาณแม่เหล็ก ดังแผนผัง                    เสียง     ไมโครโฟน     สัญญาณไฟฟ้า   บันทึกเป็นสัญญาณแม่เหล็ก                                                                                                         ลง บนแถบบันทึกเสียง
   เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง     หลอดไฟฟ้า เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีใช้ในทุกบ้านที่มีการใช้พลังงานไฟฟ้า เป็นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า ไปเป็นพลังงานแสง หลอดไฟฟ้าที่ใช้ทั่วไป มี 3 ชนิด คือ  หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา  1. ไส้หลอด ทำด้วยโลหะที่มีจุดหลอดเหลวสูง ทนความร้อนได้มาก มีความทานสูง  เช่น ทังสเตน   2. หลอดแก้วทำจากแก้วที่ทนความร้อนได้ดี ไม่แตกง่าย สูบอากาศออกจนหมดภายในบรรจุก๊าซไนโตรเจนและอาร์กอนเล็กน้อย ก๊าซชนิดนี้ทำปฏิกิริยายาก ช่วยป้องกันไม่ให้ไส้หลอดระเหิดไปจับที่หลอดแก้ว และช่วยไม่ให้ไส้หลอดไม่ขาดง่าย ถ้าบรรจุก๊าซออกซิเจนจะทำปฏิกิริยากับไส้หลอด ซึ่งทำให้ไส้หลอดขาดง่าย  3.   ขั้วหลอดไฟ เป็นจุดต่อวงจรไฟฟ้า มี 2 แบบ คือ แบบเขี้ยวและแบบเกลียว    นื่องจากหลอดไฟฟ้าประเภทนี้ให้แสงสว่างได้ด้วยการเปล่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อนก่อนที่จะให้แสงสว่างออกมา จึงทำให้สิ้นเปลื่องพลังงานไฟฟ้ามากกว่าหลอดชนิดอื่น ในขนาด กำลังไฟฟ้าของหลอดไฟซึ่งจะกำหนดไว้ที่หลอดไฟทุกดวง เช่น หลอดไฟ้าขนาด 100 วัตต์  เป็นต้น
หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์(Fluorescent Lamp) หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Lamp) ทำด้วยหลอดแก้วที่สูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทไว้เล็กน้อย มีไส้ที่ปลายหลอดทั้งสองข้าง หลอดเรืองแสงอาจทำเป็นหลอดตรง หรือครึ่งวงกลมก็ได้  ส่วนประกอบและการทำงานของหลอดเรืองแสง มีดังนี้ 1. ตัวหลอด  ภายในสูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทและก๊าซอาร์กอน เล็กน้อย  ผิวด้านในของหลอดเรืองแสงฉาบด้วยสารเรืองแสงชนิดต่างๆ แล้วแต่ความต้องการให้เรืองแสงเป็นสีใด เช่น ถ้าต้องการให้เรืองแสงสีเขียว ต้องฉาบด้วยสารซิงค์ซิลิเคต แสงสีขาวแกมฟ้าฉาบด้วยมักเนเซียมทังสเตน แสงสีชมพูฉาบด้วยแคดเนียมบอเรต เป็นต้น 2. ไส้หลอด ทำด้วยทังสเตนหรือวุลแฟรมอยู่ที่ปลายทั้งสองข้าง เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไส้หลอดจะทำให้ไส้หลอดร้อนขึ้น ความร้อนที่เกิดขึ้นจะทำให้ไอปรอทที่บรรจุไว้ในหลอดกลายเป็นไอมากขึ้น แต่ขณะนั้นกระแสไฟฟ้ายังผ่านไอปรอทไม่สะดวก เพราะปรอทยังเป็นไอน้อยทำให้ความต้านทานของหลอดสูง
 3. สตาร์ตเตอร์ ทำหน้าที่เป็นสวิตซ์ไฟฟ้าอัตโนมัติของวงจรโดยต่อขนานกับหลอด ทำด้วยหลอดแก้วภายในบรรจุก๊าซนีออนและแผ่นโลหะคู่ที่งอตัวได้ เมื่อได้รับความร้อน  เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านก๊าซนีออน ก๊าซนีออนจะติดไฟเกิดความร้อนขึ้น ทำให้แผ่นโลหะคู่งอจนแตะติดกันทำให้กลายเป็นวงจรปิดทำให้กระแสไฟฟ้าผ่านแผ่น โลหะได้ครบวงจร   ก๊าซนีออนที่ติดไฟอยู่จะดับและเย็นลง แผ่นโลหะคู่จะแยกออกจากกันทำให้เกิดความต้านทานสูงขึ้นอย่างทันทีซึ่งขณะ เดียวกันกระแสไฟฟ้าจะผ่านไส้หลอดได้มากขึ้นทำให้ไส้หลอดร้อนขึ้นมาก  ปรอทก็จะเป็นไอมากขึ้นจนพอที่นำกระแสไฟฟ้าได้  4. แบลลัสต์  เป็นขดลวดที่พันอยู่บนแกนเหล็ก  ขณะกระแสไฟฟ้าไหลผ่านจะเกิดการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าทำให้เกิดแรงเคลื่อน ไฟฟ้าเหนี่ยวนำขึ้น เมื่อแผ่นโลหะคู่ในสตาร์ตเตอร์แยกตัวออกจากกันนั้นจะเกิดวงจรเปิดชั่วขณะ    แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำที่เกิดขึ้นในแบลลัสต์จึงทำให้เกิดความต่าง ศักย์ระหว่างไส้หลอดทั้งสองข้างสูงขึ้นเพียงพอที่จะทำให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ไอปรอทจากไส้หลอดข้างหนึ่งไปยังไส้หลอดอีกข้างหนึ่งได้   แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำที่เกิดจากแบลลัสต์นั้นจะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า เหนี่ยวนำไหลสวนทางกับกระแสไฟฟ้าจากวงจรไฟฟ้าในบ้าน ทำให้กระแส ไฟฟ้าที่จะเข้าสู่วงจรของหลอดเรืองแสงลดลง
หลักการทำงานของหลอดเรืองแสง                      เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไอปรอทจะคายพลังงานไฟฟ้าให้อะตอมไอปรอท ทำให้อะตอมของไอปรอทอยู่ในสภาวะถูกกระตุ้น (excited state) และอะตอมของปรอทจะคายพลังงานออกมาเพื่อลดระดับพลังงาน  ในรูปของรังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งอยู่ในช่วงของแสงที่มองไม่เห็น เมื่อรังสีนี้กระทบสารเรืองแสงที่ฉาบไว้ที่ผิวหลอด สารเรืองแสงจะเปล่งแสงสีต่างๆตามชนิดของสารเรืองแสงที่ฉาบไว้ในหลอดนั้น      ข้อดีของหลอดเรืองแสง          1. เมื่อให้พลังงานไฟฟ้าเท่ากันจะให้แสงสว่างมากกว่าหลอดไฟฟ้าแบบธรรมดาประมาณ 4  เท่า และมีอายุการใช้งานนานกว่าหลอดไฟฟ้าธรรมดาประมาณ 8 เท่า         2. อุณหภูมิของหลอดไม่สูงเท่ากับหลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา         3. ถ้าต้องการแสงสว่างเท่ากับหลอดไฟฟ้าธรรมดา จะใช้วัตต์ที่ต่ำกว่า จึงเสียค่าไฟฟ้าน้อยกว่า
                      ข้อเสียของหลอดเรืองแสง         1. เมื่อติดตั้งจะเสียค่าใช้จ่ายสูงกว่าหลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา เพราะต้องใช้แบลลัสต์และสตาร์ตเตอร์ เสมอ         2. หลอดเรืองแสงมักระพริบเล็กน้อยไม่เหมาะในการใช้อ่านหนังสือ
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน               เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน  เป็นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน โดยใช้หลักการคือ เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวนำที่มีความต้านทานสูงๆ ลวดตัวนำนั้นจะร้อนจนสามารถนำความร้อนออกไปใช้ประโยชน์ได้ เนื่องจากเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อนมาก จึงสิ้นเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ามากเมื่อเปรียบกับการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทอื่นๆ มื่อใช้ในเวลาที่เท่ากัน   ฉะนั้นขณะใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าให้พลังงานความร้อนจึงควรใช้ด้วยความระมัดระวังตัวอย่างเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน เช่น เตารีด หม้อหุงข้าว กระทะไฟฟ้า กาต้มน้ำ เครื่องต้มกาแฟ เตาไฟฟ้า ฯลฯ
 ส่วนประกอบในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน มีดังนี้     1. ขดลวดความร้อน หรือแผ่นความร้อน มักทำจากโลหะผสมระหว่างนิเกิลกับโครเมียม เรียกว่า นิโครม ซึ่งมีสมบัติคือมีจุดหลอมเหลวสูงมากจึงทนความร้อนได้สูงเมื่อมีความร้อนเกิดขึ้นมากๆจึงไม่ขาด และมีความต้านทานสูงมาก     2. เทอร์โมสตาร์ท หรือสวิตซ์ความร้อนอัตโนมัติ ทำหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิไม่ให้ร้อนเกินไป มีส่วนประกอบเป็นโลหะต่างชนิดกัน 2 แผ่นมาประกบกัน เมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัวได้ไม่เท่ากัน เช่น เหล็กกับทองเหลือง  โดยให้แผ่นโลหะที่ขยายตัวได้น้อย(เหล็ก)อยู่ด้านบน ส่วนโลหะที่จะขยายตัวได้มาก(ทองเหลือง)อยู่ด้านล่าง เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านแผ่นโลหะทั้งสองมากขึ้น จะทำให้มีอุณหภูมิสูงจนแผ่นโลหะทั้งสองซึ่งขยายตัวได้ต่างกันโลหะที่ขยายตัวได้มากจะขยายตัวโค้งงอ เป็นเหตุให้จุดสัมผัสแยกออกจากกัน เกิดเป็นวงจรเปิด กระแสไฟฟ้าจึงไหลผ่านไม่ได้ และเมื่อแผ่นโลหะทั้งสองเย็นลงก็จะสัมผัสกันเหมือนเดิม เกิดเป็นวงจรปิด กระแสไฟฟ้าจึงไหลผ่านได้อีกครั้งหนึ่ง
   3. แผ่นไมกา หรือ แผ่นใยหิน ซึ่งเป็นฉนวนไฟฟ้า ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงาน     ความร้อนบางชนิด เช่นเตารีด หม้อหุงข้าว เตาไฟฟ้า จะมีแผ่นไมกา หรือใยหิน เพื่อป้องกันไม่ให้ขดลวดหลอมละลาย และป้องกันไฟฟ้ารั่วขณะใช้งาน      ข้อควรระวังในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน          เนื่องจากเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อนจะมีกระแสไฟฟ้าปริมาณมากไหลผ่าน มากกว่าเครื่องใช้ประเภทอื่นๆ จึงควรใช้ด้วยความระมัดระวังดังนี้        1. หมั่นตรวจสอบดูแลสายไฟ เต้ารับ เต้าเสียบ ให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยไม่ชำรุด        2. เมื่อเลิกใช้งานต้องถอดเต้าเสียบออกจากเต้ารับทุกครั้งไม่ควรเสียบทิ้งไว้            ในการเลือกเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดต้องพิจารณาถึงคุณภาพของเครื่องใช้ไฟฟ้า  รู้จักวิธีใช้ที่ถูกต้อง รู้จักวิธีป้องกันอันตรายจากไฟฟ้ารั่วและไฟฟ้าลักวงจรและตรวจดูแลอุปกรณ์อยู่เสมอ
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่พลังงานหลายรูปพร้อมกัน            เครื่องใช้ไฟฟ้าบางชนิดขณะใช้งานจะมีการเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานอื่นได้พร้อมกันหลายรูปแบบ เช่น          โทรทัศน์   จะเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าเป็น พลังงานแสง และ พลังงานเสียง          ไดร์เป่าผม  จะเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล และพลังงานความร้อน           วิทยุเทป    จะปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังานกลและพลังงานเสียง  เป็นต้น           คุณรู้จักเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทนี้ชนิดอื่นๆอีกหรือไม่

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าTitirat302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าufonon
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอBoyz Bill
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthanawan302
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์sugareyes
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ล่ะชนิด
เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ล่ะชนิดเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ล่ะชนิด
เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ล่ะชนิดhighso
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านSujareenoot
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf0841766393
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthanawan302
 

La actualidad más candente (13)

ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ล่ะชนิด
เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ล่ะชนิดเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ล่ะชนิด
เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ล่ะชนิด
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 

Destacado

Proposal for Online Course Evaluations
Proposal for Online Course EvaluationsProposal for Online Course Evaluations
Proposal for Online Course Evaluationsigoteach
 
The last man in the universe
The last man in the universeThe last man in the universe
The last man in the universeGui Neves
 
Class assignnment 4
Class assignnment 4Class assignnment 4
Class assignnment 4mitchellene
 
Cfu3721 definitions of_concepts_2013__2 (1)
Cfu3721 definitions of_concepts_2013__2 (1)Cfu3721 definitions of_concepts_2013__2 (1)
Cfu3721 definitions of_concepts_2013__2 (1)Koskim Petrus
 
Matariki 2011.pptx taysia
Matariki 2011.pptx taysiaMatariki 2011.pptx taysia
Matariki 2011.pptx taysialesleymccardle
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303Powergift_vip
 
Why is internet’s Democracy Rebirth so Sexy?
Why is internet’s Democracy Rebirth so Sexy?Why is internet’s Democracy Rebirth so Sexy?
Why is internet’s Democracy Rebirth so Sexy?Tomislav Korman
 
презентація інтернет складу
презентація інтернет складупрезентація інтернет складу
презентація інтернет складуlitebuy
 
The best wordpress backlink plugin get 150
The best wordpress backlink plugin   get 150The best wordpress backlink plugin   get 150
The best wordpress backlink plugin get 150trexx101
 
Research methods(2)
Research methods(2)Research methods(2)
Research methods(2)geoghanm
 
Classification of matter overview
Classification of matter overviewClassification of matter overview
Classification of matter overviewjmori1
 

Destacado (20)

All in one
All in oneAll in one
All in one
 
ส่วนนำ
ส่วนนำส่วนนำ
ส่วนนำ
 
Proposal for Online Course Evaluations
Proposal for Online Course EvaluationsProposal for Online Course Evaluations
Proposal for Online Course Evaluations
 
The last man in the universe
The last man in the universeThe last man in the universe
The last man in the universe
 
Teste
TesteTeste
Teste
 
Class assignnment 4
Class assignnment 4Class assignnment 4
Class assignnment 4
 
Cfu3721 definitions of_concepts_2013__2 (1)
Cfu3721 definitions of_concepts_2013__2 (1)Cfu3721 definitions of_concepts_2013__2 (1)
Cfu3721 definitions of_concepts_2013__2 (1)
 
Arabic poa
Arabic poaArabic poa
Arabic poa
 
Tutorial Facebook
Tutorial FacebookTutorial Facebook
Tutorial Facebook
 
Parent survey Lincoln Heights 2011
Parent survey Lincoln Heights 2011Parent survey Lincoln Heights 2011
Parent survey Lincoln Heights 2011
 
Matariki 2011.pptx taysia
Matariki 2011.pptx taysiaMatariki 2011.pptx taysia
Matariki 2011.pptx taysia
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
 
Kennetcook-Windsor Basin, NS
Kennetcook-Windsor Basin, NSKennetcook-Windsor Basin, NS
Kennetcook-Windsor Basin, NS
 
Aed1061
Aed1061Aed1061
Aed1061
 
Why is internet’s Democracy Rebirth so Sexy?
Why is internet’s Democracy Rebirth so Sexy?Why is internet’s Democracy Rebirth so Sexy?
Why is internet’s Democracy Rebirth so Sexy?
 
презентація інтернет складу
презентація інтернет складупрезентація інтернет складу
презентація інтернет складу
 
Mif special print_offer - 14.09.2011
Mif special print_offer - 14.09.2011Mif special print_offer - 14.09.2011
Mif special print_offer - 14.09.2011
 
The best wordpress backlink plugin get 150
The best wordpress backlink plugin   get 150The best wordpress backlink plugin   get 150
The best wordpress backlink plugin get 150
 
Research methods(2)
Research methods(2)Research methods(2)
Research methods(2)
 
Classification of matter overview
Classification of matter overviewClassification of matter overview
Classification of matter overview
 

Similar a ไฟฟ้า

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าchitchanupong
 
เครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าเครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
เครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าเครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
เครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าเครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
เครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าเครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์sugareyes
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์sugareyes
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์sugareyes
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าPleum Ps
 

Similar a ไฟฟ้า (20)

งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
Hot
HotHot
Hot
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
เครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าเครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้า
 
เครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าเครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้า
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าเครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้า
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าเครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้า
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
 

Más de Powergift_vip

ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303Powergift_vip
 

Más de Powergift_vip (6)

ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 

ไฟฟ้า

  • 1. สมาชิกกลุ่ม 1 1.ด.ญ.จริยา ฟองงาม เลขที่ 20 ชั้น ม.3/3 2.ด.ญ.ธนัชพร พรหมวิชัย เลขที่ 24 ชั้น ม.3/3 3.ด.ญ.รัตนาภรณ์ ค้าสม เลขที่ 28 ชั้น ม.3/3 4.ด.ญ.รูซีตา มะอายุ เลขที่ 30 ชั้น ม.3/3 5.ด.ญ.สุนิสา ภักดีผล เลขที่ 37 ชั้น ม.3/3
  • 2. เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า คือ อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปอื่น เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่ 1. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง 2. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน 3. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล 4. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง นอกจากนี้ยังมีเครื่องใช้ไฟฟ้าที่สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานรูปอื่นหลายรูปในเวลาเดียวกัน
  • 3. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง หลอดไฟ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นแสงสว่างให้เราสามารถมองเห็นสิ่งต่างๆ ได้ ซึ่ง โธมัสเอดิสัน เป็นผู้ประดิษฐ์หลอดไฟเป็นครั้งแรก โดยใช้คาร์บอนเส้นเล็กๆ เป็นไส้หลอดและได้มีการพัฒนาเรื่อยมาเป็นลำดับ ประเภทของหลอดไฟ 1. หลอดไฟฟ้าธรรมดา มีไส้หลอดที่ทำด้วยลวดโลหะที่มีจุดหลอมเหลวสูง เช่น ทังสเตนเส้นเล็กๆ ขดเอาไว้เหมือนขดลวดสปริงภายในหลอดแก้วสูบอากาศออกหมดแล้วบรรจุก๊าซเฉื่อย เช่น อาร์กอน (Ar) ไว้ ก๊าซนี้ช่วยป้องกันไม่ให้หลอดไฟฟ้าดำ หลักการทำงานของหลอดไฟฟ้าธรรมดา กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไส้หลอดซึ่งมีความต้านทานสูง พลังงานไฟฟ้าจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน ทำให้ไส้หลอดร้อนจัดจนเปล่งแสงออกมาได้ การเปลี่ยนพลังงานเป็นดังนี้ พลังงานไฟฟ้า >>>พลังงานความร้อน >>>พลังงานแสง
  • 4. 2. หลอดเรื่องแสง หรือ หลอดฟลูออเรสเซนต์ (fluorescent) เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานแสงสว่าง ซึ่งมีการประดิษฐ์ในปี ค.ศ. 1938 โดยมีรูปร่างหลายแบบ อาจทำเป็นหลอดตรง สั้น ยาว ขดเป็นวงกลมหรือครึ่งวงกลม เป็นต้น
  • 5. ส่วนประกอบของหลอดเรืองแสง ตัวหลอดมีไส้โลหะทังสเตนติดอยู่ที่ปลายทั้ง 2 ข้าง ของหลอดแก้ว ซึ่งผิวภายในของหลอดฉาบด้วยสารเรื่องแสง อากาศในหลอดแก้วถูกสูบออกจนหมดแล้วใส่ไอปรอทไว้เล็กน้อย
  • 6. อุปกรณ์ที่ใช้เพื่อให้หลอดเรืองแสงทำงาน 1. สตาร์ตเตอร์ (starter) ทำหน้าที่เป็นสวิตซ์อัตโนมัติในขณะหลอดเรืองแสง ยังไม่ติดและหยุดทำงานเมื่อหลอดติดแล้ว 2. แบลลัสต์ (Ballast) ทำหน้าที่เพิ่มความต่างศักย์ เพื่อให้หลอดไฟเรืองแสงติดในตอนแรกและทำหน้าที่ ควบคุมกระแสไฟฟ้าที่ผ่านหลอด ให้ลดลงเมื่อหลอดติดแล้ว การใช้หลอดเรืองแสงต้องต่อวงจรเข้ากับสตาร์ตเตอร์และแบลลัสต์ แล้วจึงต่อเข้ากับสายไฟฟ้าในบ้าน
  • 7. หลักการทำงานของหลอดเรืองแสง เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไส้หลอดจะทำให้ไส้หลอดร้อนขึ้น ความร้อนที่เกิดทำให้ปรอทที่บรรจุไว้ในหลอดกลายเป็นไอมากขึ้น เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไอปรอทได้จะคายพลังงานไฟฟ้าให้ไอปรอท ทำให้อะตอมของไอปรอทอยู่ในภาวะถูกกระตุ้น และอะตอมปรอทจะคายพลังงานออกมาเพื่อลดระดับพลังงานของตนในรูปของรังสีอัลตราไวโอเลต เมื่อรังสีดังกล่าวกระทบสารเรืองแสงที่ฉาบไว้ที่ผิวในของหลอดเรืองแสงนั้นก็จะเปล่งแสงได้ โดยให้แสงสีต่างๆ ตามชนิดของสารเรืองแสงที่ฉาบไว้ภายในหลอดนั้น เช่น แคดเมียมบอเรทจะให้แสงสีชมพู ซิงค์ซิลิเคทให้แสงสีเขียว แมกนีเซียมทังสเตนให้แสงสีขาวอมฟ้า และยังอาจผสมสารเหล่านี้เพื่อให้ได้สีผสมที่แตกต่างออกไปอีกด้วย
  • 8. ข้อดีของหลอดเรืองแสง 1. มีประสิทธิภาพสูงกว่าหลอดไฟฟ้าธรรมดา เสียค่าไฟฟ้าเท่ากัน แต่ได้ไฟที่สว่างกว่า 2. ให้แสงที่เย็นตา กระจายไปทั่วหลอด ไม่รวมเป็นจุดเหมือนหลอดไฟฟ้าธรรมดา 3. อาจจัดสีของแสงแปรเปลี่ยนได้ โดยการเปลี่ยนชนิดสารเรืองแสง 4. อุณหภูมิของหลอดเรืองแสงไม่สูงเท่ากับหลอดไฟธรรมดาขณะทำงาน 3. หลอดนีออน หรือหลอดไฟโฆษณา เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นแสงสว่าง มีลักษณะเป็นหลอดแก้วที่ถูกลนไฟ ดัดเป็นรูปหรืออักษรต่างๆ สูบอากาศออกเป็นสูญญากาศ แล้วใส่ก๊าซบางชนิดที่ให้แสงสีต่างๆ ออกมาได้ เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านหลอดชนิดนี้ไม่มีไส้หลอดไฟ แต่ใช้ขั้วไฟฟ้าทำด้วยโลหะติดอยู่ที่ปลายทั้ง 2 ข้าง แล้วต่อกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์สูงประมาณ 10,000 โวลต์ ซึ่งมีความต่างศักย์ที่สูงมาก จะทำให้ก๊าซที่บรรจุไว้ในหลอดเกิดการแตกตัวเป็นนีออนและนำไฟฟ้าได้ เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านก๊าซเหล่านี้จะทำให้ก๊าซร้อนติดไฟให้แสงสีต่างๆ ได้
  • 9. ข้อแนะนำการใช้หลอดไฟอย่างประหยัด 1. ใช้หลอดเรืองแสงจะให้แสงสว่างมากกว่าหลอดธรรมดาประมาณ 4 เท่า เมื่อใช้พลังงานไฟฟ้าเท่ากัน และอายุการใช้งานจะทนกว่าประมาณ 8 เท่า 2. ใช้แสงสว่างให้เหมาะกับการใช้งาน ที่ใดต้องการแสงสว่างไม่มากนักควรติดไฟน้อยดวง 3. ทำความสะอาดโป๊ะไฟ จะให้แสงสว่างเต็มที่ 4. ปิดไฟทุกครั้งที่ไม่จำเป็นต้องใช้
  • 10. การเปลี่ยนรูปพลังงานนิวเคลียสเป็นพลังงานความร้อน พลังงานแสง ... พลังงานนิวเคลียร์ พลังงานแสง พลังงานความร้อน       เตาอบไมโครเวฟเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่สามารถเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงาน        ซึ่งไปมีผลทำให้โมเลกุลของน้ำและไขมันในอาหารสั่นสะเทือนจน เกิดความร้อนการเปลี่ยนรูปของพลังงานมีดังนี้ พลังงานไฟฟ้า พลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า พลังานกล พลังงานความร้อน     พลังงานนิวเคลียร์ส่วนใหญ่ถูกนำมาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า        นิวเคลียร์ฟิชชันที่สามารถควบคุมได้ภายในเตาปฏิกรณ์ปรมาณูพลังงานความร้อนจำนวนมหาศาลที่ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์       จะนำไปใช้ในการทำน้ำเดือดกลายเป็นไอ เพื่อขับดันกังหันและผลิตกระแสไฟฟ้าแต่การสร้างโรงผลิตกระแสไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์นั้น ต้องทุนสูง และหาสถานที่ก่อสร้างอยาก เนื่องจากกากที่ได้จากปฏิกิริยาเป็นสารกัมมันตรังสีซึ่งเป็นอันตราย และใช้เวลานานในการสลายตัว
  • 11.        ข้อดีของพลังงานสุริยะ คือ        1.ไม่ต้องเสียค่าเชื้อเพลิง        2.สะอาดและไม่ทำให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม        3.มีให้ใช้ได้อีกนาน เพราะไม่เป็นเชื้อเพลิงที่ใช้แล้วหมดไป        4.สามารถใช้ได้ทุกที่ไม่ว่าจะอยู่ที่ใดบนโลก         ข้อเสียของพลังงานสุริยะ คือ        1.อุปกรณ์ที่ใช้กับพลังงานสุริยะมีราคาแพง        2 .สามารถใช้ได้เฉาะเวลากลางวันเท่านั้น        3.ต้องขึ้นอยู่กับสภาพดินฟ้าอากาศ คือ ใช้ได้เฉพาะวันอากาศแจ่มใส
  • 12.  เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล                 เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล  มีการเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล โดยอาศัยหลักการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า ด้วยอุปกรณ์ ที่เรียกว่า มอเตอร ์และ เครื่องควบคุมความเร็วซึ่งเป็นอุปกรณ์หลักในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล ตัวอย่าง เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล เช่น เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น เครื่องดูดฝุ่น พัดลม เครื่องซักผ้า เครื่องปั่นน้ำผลไม้ ฯลฯ
  • 13.  มอเตอร์   เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล  ประกอบด้วยขดลวดที่พันรอบแกนโลหะที่วางอยู่ระหว่างขั้วแม่เหล็ก โดยเมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปยังขดลวดที่อยู่ระหว่างขั้วแม่เหล็ก จะทำให้ขดลวดหมุนไปรอบแกน และเมื่อสลับขั้วไฟฟ้า การหมุนของขดลวดจะหมุนกลับทิศทางเดิม    มอเตอร์  มี 2 ประเภท คือ มอเตอร์กระแสตรง และมอร์กระแสสลับ    มอเตอร์กระแสตรง เป็นมอเตอร์ที่ต้องใช้ไฟฟ้กระแสตรงผ่านเข้าไปในขดลวดอาร์เมเจอร์เพื่อทำให้ เกิดการดูดและผลักกันของแม่เหล็กถาวรกับแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากขดลวด มอเตอร์จึงหมุนได้   มอเตอร์กระแสสลับ เป็นมอเตอร์ที่ต้องใช้กับไฟฟ้ากระแสสลับ โดยใช้หลักการดูดและผลักกันของแม่เหล็กถาวรกับแม่เหล็กไฟฟ้าจากขดลวดมาทำให้ เกิดการหมุนของมอเตอร์
  • 14.     ขณะที่มอเตอร์กำลังหมุนจะเกิดการเหนี่ยวนำไฟฟ้าขึ้นทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าซ้อนขึ้นภายในขดลวด แต่มีทิศทางการไหลสวนทางกับกระแสไฟฟ้าที่มาจากแหล่งกำเนิดพลังงานไฟฟ้าเดิม ทำให้ขดลวดของมอเตอร์ไม่ร้อนจนเกิดไฟไหม้ได้   เครื่องควบคุมความเร็วของมอเตอร์  ทำได้โดย การเพิ่มหรือลดความต้านทานให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้มากหรือน้อยภานในเครื่องใช้ไฟฟ้านั้น ซึ่งเป็นผลให้ความเร็วของการหมุนมอเตอร์เปลี่ยนไปจากเดิม  เช่น เมื่อต้องการให้พัดลมหมุนช้าลง ก็ให้เพิ่มความต้านทานเพื่อให้กระแสไฟฟ้าเข้าได้น้อยลงเป็นผลให้พัดลมหมุนช้าลง  ฉะนั้นในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกลจะต้องมีเครื่องควบคุมความเร็วของมอตอร์เสมอ   
  • 15. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง                 เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง ได้แก่  เครื่องรับวิทยเครื่องขยายเสียงุ เครื่องบันทึกเสียง ฯลฯ                   เครื่อง รับวิทยุ   เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง โดยรับคลื่นวิทยุ จากสถานีส่งแล้วใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขยายสัญญาณเสียงที่มีอยู่ในรูปของ สัญญาณไฟฟ้าให้แรงขึ้นเมื่อผ่านสัญญาณไฟฟ้านี้ไปยังลำโพงจะทำให้ลำโพงสั่น สะเทือนเปลี่ยนเป็นเสียงที่สามารถรับฟังได้   เสาอากาศ         ขยายสัญญาณ          ลำโพง                  เสียง                                 (รับคลื่นวิทยุ)                                              แผนผังการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียงของเครื่องรับวิทยุ
  • 16. เครื่องบันทึกเสียง (Tape recorder)                 เครื่องบันทึกเสียง ขณะบันทึกด้วยการพูดผ่านไมโครโฟน ซึ่งจะเปลี่ยนพลังงานเสียงเป็นสัญญาณไฟฟ้า แล้วบันทึกลงในแถบบันทึกเสียงซึ่งฉาบด้วยสารแม่เหล็กในรูปของสัญญาณแม่เหล็ก ดังแผนผัง                   เสียง     ไมโครโฟน     สัญญาณไฟฟ้า   บันทึกเป็นสัญญาณแม่เหล็ก                                                                                                         ลง บนแถบบันทึกเสียง
  • 17.    เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง     หลอดไฟฟ้า เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีใช้ในทุกบ้านที่มีการใช้พลังงานไฟฟ้า เป็นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า ไปเป็นพลังงานแสง หลอดไฟฟ้าที่ใช้ทั่วไป มี 3 ชนิด คือ  หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา  1. ไส้หลอด ทำด้วยโลหะที่มีจุดหลอดเหลวสูง ทนความร้อนได้มาก มีความทานสูง  เช่น ทังสเตน  2. หลอดแก้วทำจากแก้วที่ทนความร้อนได้ดี ไม่แตกง่าย สูบอากาศออกจนหมดภายในบรรจุก๊าซไนโตรเจนและอาร์กอนเล็กน้อย ก๊าซชนิดนี้ทำปฏิกิริยายาก ช่วยป้องกันไม่ให้ไส้หลอดระเหิดไปจับที่หลอดแก้ว และช่วยไม่ให้ไส้หลอดไม่ขาดง่าย ถ้าบรรจุก๊าซออกซิเจนจะทำปฏิกิริยากับไส้หลอด ซึ่งทำให้ไส้หลอดขาดง่าย  3.   ขั้วหลอดไฟ เป็นจุดต่อวงจรไฟฟ้า มี 2 แบบ คือ แบบเขี้ยวและแบบเกลียว   นื่องจากหลอดไฟฟ้าประเภทนี้ให้แสงสว่างได้ด้วยการเปล่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อนก่อนที่จะให้แสงสว่างออกมา จึงทำให้สิ้นเปลื่องพลังงานไฟฟ้ามากกว่าหลอดชนิดอื่น ในขนาด กำลังไฟฟ้าของหลอดไฟซึ่งจะกำหนดไว้ที่หลอดไฟทุกดวง เช่น หลอดไฟ้าขนาด 100 วัตต์  เป็นต้น
  • 18. หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์(Fluorescent Lamp) หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Lamp) ทำด้วยหลอดแก้วที่สูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทไว้เล็กน้อย มีไส้ที่ปลายหลอดทั้งสองข้าง หลอดเรืองแสงอาจทำเป็นหลอดตรง หรือครึ่งวงกลมก็ได้  ส่วนประกอบและการทำงานของหลอดเรืองแสง มีดังนี้ 1. ตัวหลอด  ภายในสูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทและก๊าซอาร์กอน เล็กน้อย  ผิวด้านในของหลอดเรืองแสงฉาบด้วยสารเรืองแสงชนิดต่างๆ แล้วแต่ความต้องการให้เรืองแสงเป็นสีใด เช่น ถ้าต้องการให้เรืองแสงสีเขียว ต้องฉาบด้วยสารซิงค์ซิลิเคต แสงสีขาวแกมฟ้าฉาบด้วยมักเนเซียมทังสเตน แสงสีชมพูฉาบด้วยแคดเนียมบอเรต เป็นต้น 2. ไส้หลอด ทำด้วยทังสเตนหรือวุลแฟรมอยู่ที่ปลายทั้งสองข้าง เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไส้หลอดจะทำให้ไส้หลอดร้อนขึ้น ความร้อนที่เกิดขึ้นจะทำให้ไอปรอทที่บรรจุไว้ในหลอดกลายเป็นไอมากขึ้น แต่ขณะนั้นกระแสไฟฟ้ายังผ่านไอปรอทไม่สะดวก เพราะปรอทยังเป็นไอน้อยทำให้ความต้านทานของหลอดสูง
  • 19.  3. สตาร์ตเตอร์ ทำหน้าที่เป็นสวิตซ์ไฟฟ้าอัตโนมัติของวงจรโดยต่อขนานกับหลอด ทำด้วยหลอดแก้วภายในบรรจุก๊าซนีออนและแผ่นโลหะคู่ที่งอตัวได้ เมื่อได้รับความร้อน  เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านก๊าซนีออน ก๊าซนีออนจะติดไฟเกิดความร้อนขึ้น ทำให้แผ่นโลหะคู่งอจนแตะติดกันทำให้กลายเป็นวงจรปิดทำให้กระแสไฟฟ้าผ่านแผ่น โลหะได้ครบวงจร   ก๊าซนีออนที่ติดไฟอยู่จะดับและเย็นลง แผ่นโลหะคู่จะแยกออกจากกันทำให้เกิดความต้านทานสูงขึ้นอย่างทันทีซึ่งขณะ เดียวกันกระแสไฟฟ้าจะผ่านไส้หลอดได้มากขึ้นทำให้ไส้หลอดร้อนขึ้นมาก  ปรอทก็จะเป็นไอมากขึ้นจนพอที่นำกระแสไฟฟ้าได้  4. แบลลัสต์  เป็นขดลวดที่พันอยู่บนแกนเหล็ก  ขณะกระแสไฟฟ้าไหลผ่านจะเกิดการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าทำให้เกิดแรงเคลื่อน ไฟฟ้าเหนี่ยวนำขึ้น เมื่อแผ่นโลหะคู่ในสตาร์ตเตอร์แยกตัวออกจากกันนั้นจะเกิดวงจรเปิดชั่วขณะ    แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำที่เกิดขึ้นในแบลลัสต์จึงทำให้เกิดความต่าง ศักย์ระหว่างไส้หลอดทั้งสองข้างสูงขึ้นเพียงพอที่จะทำให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ไอปรอทจากไส้หลอดข้างหนึ่งไปยังไส้หลอดอีกข้างหนึ่งได้   แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำที่เกิดจากแบลลัสต์นั้นจะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า เหนี่ยวนำไหลสวนทางกับกระแสไฟฟ้าจากวงจรไฟฟ้าในบ้าน ทำให้กระแส ไฟฟ้าที่จะเข้าสู่วงจรของหลอดเรืองแสงลดลง
  • 20. หลักการทำงานของหลอดเรืองแสง                      เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไอปรอทจะคายพลังงานไฟฟ้าให้อะตอมไอปรอท ทำให้อะตอมของไอปรอทอยู่ในสภาวะถูกกระตุ้น (excited state) และอะตอมของปรอทจะคายพลังงานออกมาเพื่อลดระดับพลังงาน  ในรูปของรังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งอยู่ในช่วงของแสงที่มองไม่เห็น เมื่อรังสีนี้กระทบสารเรืองแสงที่ฉาบไว้ที่ผิวหลอด สารเรืองแสงจะเปล่งแสงสีต่างๆตามชนิดของสารเรืองแสงที่ฉาบไว้ในหลอดนั้น      ข้อดีของหลอดเรืองแสง          1. เมื่อให้พลังงานไฟฟ้าเท่ากันจะให้แสงสว่างมากกว่าหลอดไฟฟ้าแบบธรรมดาประมาณ 4  เท่า และมีอายุการใช้งานนานกว่าหลอดไฟฟ้าธรรมดาประมาณ 8 เท่า         2. อุณหภูมิของหลอดไม่สูงเท่ากับหลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา         3. ถ้าต้องการแสงสว่างเท่ากับหลอดไฟฟ้าธรรมดา จะใช้วัตต์ที่ต่ำกว่า จึงเสียค่าไฟฟ้าน้อยกว่า
  • 22. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน               เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน  เป็นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน โดยใช้หลักการคือ เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวนำที่มีความต้านทานสูงๆ ลวดตัวนำนั้นจะร้อนจนสามารถนำความร้อนออกไปใช้ประโยชน์ได้ เนื่องจากเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อนมาก จึงสิ้นเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ามากเมื่อเปรียบกับการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทอื่นๆ มื่อใช้ในเวลาที่เท่ากัน   ฉะนั้นขณะใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าให้พลังงานความร้อนจึงควรใช้ด้วยความระมัดระวังตัวอย่างเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน เช่น เตารีด หม้อหุงข้าว กระทะไฟฟ้า กาต้มน้ำ เครื่องต้มกาแฟ เตาไฟฟ้า ฯลฯ
  • 23.  ส่วนประกอบในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน มีดังนี้     1. ขดลวดความร้อน หรือแผ่นความร้อน มักทำจากโลหะผสมระหว่างนิเกิลกับโครเมียม เรียกว่า นิโครม ซึ่งมีสมบัติคือมีจุดหลอมเหลวสูงมากจึงทนความร้อนได้สูงเมื่อมีความร้อนเกิดขึ้นมากๆจึงไม่ขาด และมีความต้านทานสูงมาก     2. เทอร์โมสตาร์ท หรือสวิตซ์ความร้อนอัตโนมัติ ทำหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิไม่ให้ร้อนเกินไป มีส่วนประกอบเป็นโลหะต่างชนิดกัน 2 แผ่นมาประกบกัน เมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัวได้ไม่เท่ากัน เช่น เหล็กกับทองเหลือง  โดยให้แผ่นโลหะที่ขยายตัวได้น้อย(เหล็ก)อยู่ด้านบน ส่วนโลหะที่จะขยายตัวได้มาก(ทองเหลือง)อยู่ด้านล่าง เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านแผ่นโลหะทั้งสองมากขึ้น จะทำให้มีอุณหภูมิสูงจนแผ่นโลหะทั้งสองซึ่งขยายตัวได้ต่างกันโลหะที่ขยายตัวได้มากจะขยายตัวโค้งงอ เป็นเหตุให้จุดสัมผัสแยกออกจากกัน เกิดเป็นวงจรเปิด กระแสไฟฟ้าจึงไหลผ่านไม่ได้ และเมื่อแผ่นโลหะทั้งสองเย็นลงก็จะสัมผัสกันเหมือนเดิม เกิดเป็นวงจรปิด กระแสไฟฟ้าจึงไหลผ่านได้อีกครั้งหนึ่ง
  • 24.    3. แผ่นไมกา หรือ แผ่นใยหิน ซึ่งเป็นฉนวนไฟฟ้า ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงาน     ความร้อนบางชนิด เช่นเตารีด หม้อหุงข้าว เตาไฟฟ้า จะมีแผ่นไมกา หรือใยหิน เพื่อป้องกันไม่ให้ขดลวดหลอมละลาย และป้องกันไฟฟ้ารั่วขณะใช้งาน     ข้อควรระวังในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน         เนื่องจากเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อนจะมีกระแสไฟฟ้าปริมาณมากไหลผ่าน มากกว่าเครื่องใช้ประเภทอื่นๆ จึงควรใช้ด้วยความระมัดระวังดังนี้        1. หมั่นตรวจสอบดูแลสายไฟ เต้ารับ เต้าเสียบ ให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยไม่ชำรุด        2. เมื่อเลิกใช้งานต้องถอดเต้าเสียบออกจากเต้ารับทุกครั้งไม่ควรเสียบทิ้งไว้            ในการเลือกเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดต้องพิจารณาถึงคุณภาพของเครื่องใช้ไฟฟ้า  รู้จักวิธีใช้ที่ถูกต้อง รู้จักวิธีป้องกันอันตรายจากไฟฟ้ารั่วและไฟฟ้าลักวงจรและตรวจดูแลอุปกรณ์อยู่เสมอ
  • 25. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่พลังงานหลายรูปพร้อมกัน            เครื่องใช้ไฟฟ้าบางชนิดขณะใช้งานจะมีการเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานอื่นได้พร้อมกันหลายรูปแบบ เช่น          โทรทัศน์   จะเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าเป็น พลังงานแสง และ พลังงานเสียง          ไดร์เป่าผม  จะเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล และพลังงานความร้อน           วิทยุเทป    จะปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังานกลและพลังงานเสียง  เป็นต้น           คุณรู้จักเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทนี้ชนิดอื่นๆอีกหรือไม่