SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 29
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงทางเสียงของ
คา
การศึกษาภาษาไทยย้อนไปถึงสมัยที่กรุงสุโขทัยเป็นเมืองหลวงเพราะยังมีจารึกในสมัย
อยู่ จารึกเท่าที่พบในตอนนั้นคือ จารึกพ่อขุนรามคาแหงมหาราช คาบางคาแสดงถึงความ
เปลี่ยนแปลงทางเสียงของคา ดังตัวอย่าง
• กูขี่ช้างเบกพล กูขับเข้าก่อนพ่อกู
• ในน้ามีปลา ในนามีข้าว
• พ่อกูจึงขึ้นชื่อกู ชื่อรามคาแหง
• เหย้าเรือนพ่อเชื้อเสื้อคามัน ไว้แก่ลูกมันสิ้น
• สังเกตคาว่า เข้า ข้าว คาแหง และ (เสื้อ)คา ในข้อความข้างต้นจะเห็นได้
คาว่า เข้า เขียนตามอักขรวิธีเป็น เฃ๋า พยัญชนะต้นเป็น ฃ
คาว่า ข้าว เขียนตามอักขรวิธีเป็น เข๋า พยัญชนะต้นเป็น ข
คาว่า คาแหง เขียนตามอักขรวิธีเป็น คาแหง พยัญชนะต้นเป็น ค
คาว่า (เสื้อ)คา เขียนตามอักขรวิธีเป็น (เส๋ออ)ฅา พยัญชนะต้นคือ ฅ
พยัญชนะ ฃ ฅ เราได้เลิกใช้กันไปนานแล้ว เพราะมีการออกเสียงเหมือนพยัญชนะ ข ค
แต่นักภาษาศาสตร์สันนิษฐานกันว่า ในสมัยสุโขทัย ฃ น่าจะออกสียงต่างกับ ข และ ฅ น่าจะออก
เสียงต่างจาก ค พ่อขุนรามคาแหงทรงเห็นถึงความแต่ต่างนี้จึงทรงให้ใช้ ฃ และ ฅ แต่ต่อมาได้ออก
เสียงอย่างเดียวกับ ข และ ค จึงสับสนในการใช้ ข ฃ และ ค ฅ จนมีการเลิกใช้ ฃ และ ฅ ไปในที่สุด
นอกจากนี้ในไตรภูมิกถาคาบางคาที่มีการสะกดการันต์ แสดงว่าออกเสียง
ต่างกับในปัจจุบัน เช่น ระใบ ซึ่งในปัจจุบันออกเสียงว่า ระบาย ดังข้อความต่อไปนี้
.....รถนั้นเทียรย่อมทองคาแลประดับด้วยแก้วสัตตพิธรัตนะและมีสร้อยมุ
(ก)ดาห้อยย้อยลง แลมีดอกไม้ทิพย์กรองเป็นมาลัย แลมีทั้งแก้วแลทั้งทองห้อยย้อย
ลงทุกราย และมีระใบแก้วแลพรวนทองอันมีรัศมีรุ่งเรืองดั่งสายอินธนู.....
คาว่า ระใบ และ อินธนู ปัจจุบันเขียนว่า ระบาย และ อินทรธนู คาว่า อิน
ธนู กับ อินทรธนู เขียนไม่เหมือนกันแต่ออกเสียงเหมือนกัน ส่วนคาว่า ระใบ กับ
ระบาย เขียนไม่เหมือนกันและออกเสียงไม่เหมือนกัน
การเปลี่ยนแปลงทางความหมายของคา
ในจารึกนครชุมซึ่งเป็นจารึกเมื่อมหาศักราช ๑๒๗๙ มีข้อความกล่าวถึงประชาชนในสมัยนั้นที่ทา
มาหากินอย่างสงบสุขว่า
“ ไพร่ฟ้ าข้าไทย ขี่เรือไปค้าขี่ม้าขาย ”
ปัจจุบันเราจะไม่พูดว่า ขี่เรือ
คาว่า ขี่ มีความหมายว่า นั่งเอาขาคร่อมโดยหมายถึงนั่งไปในยานพาหนะ
ผู้ศึกษาค้นคว้าสมัยเก่ากล่าวว่า คาว่า ขี่ ใช้กับเรือมาจนถึงสมัยรัชกาลที่ ๓ กรุงรัตนโกสินทร์
เดิมคาว่า ขี่ ใช้กับเรือได้แต่ต่อมาเลิกใช้ต้องถือว่าความหมายของคาแคบเข้า มีที่ใช้
จากัดลง คาต่างสมัยนั้นอาจมีความหมายต่างกันไปได้ ๒ ลักษณะ คือ
๑. คาหนึ่งความหมายกว้างกว่าอีกคาหนึ่ง
๒. คาหนึ่งความหมายต่างกับอีกคาหนึ่ง
คาหนึ่งความหมายกว้างกว่าอีกคาหนึ่ง
ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า ความหมายแคบเข้า คือเดิมเคยมีหลายความหมาย ต่อมา
ก็เหลือความหมายเดียว หรือเดิมเคยใช้กับคาได้หลายคา ต่อมาก็ใช้กับคาเดียว เช่น
ไหล สมัยสุโขทัย หมายถึง เลื่อนไปอย่างของเหลว อาจปรากฏร่วมกับคาว่า ปลา
และ รัศมี เช่น
๑.มีฝูงปลาใหญ่ ไหลไปขบปลาเล็ก
๒.เมื่อนั้นบุญนางแก้วนั้น มีรัศมีไหลออกจากตนนางแก้วนั้นได้แล ๑๐ ศอก
ปัจจุบัน ไหล หมายถึง การเคลื่อนที่ไปอย่างของเหลวใช้เป็นกิริยาของเหลวเท่านั้น
เวน สมัยสุโขทัย หมายถึง มอบให้ ยกให้ ใช้กับคาว่า คืน เป็นเวนคืน
การเวนคืนใช้เฉพาะกับที่ดิน แต่ในบางถิ่นใช้กับคาอื่น เช่น
เวนข้าวพระ หมายถึง ถวายข้าวพระ
“กูไป่ท่บ้านท่เมือง ได้ช้าง ได้งวงได้ปั่วได้นาง
ได้เงือน ได้ทอง กูเอามาเวนแก่พ่อกู”
คาว่า พยาบาล สมัยสุโขทัยและอยุธยา
หมายถึง ดูแล ใช้กับสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได้ไม่จากัด เช่น
๑.ยืมโคท่านไปใช้ แลมิได้พญาบาล โคท่านขาดไปเข้าไร่นาท่าน
ท่านให้ใช้ทุนโคท่าอันหายล้มตายนั้น
๒.ถ้าผู้พยาบาลพระนั้นทาด้วยโจรรู้เหนเปนใจด้วยโจร ให้ฆ่าเสีย
ด้วย
ปัจจุบัน พยาบาล หมายถึง ดูแล ใช้เฉพาะการดูแลบุคคลที่ป่วย
หรือบาดเจ็บไม่ใช้กับสัตว์
ส่วนคาสมัยโบราณมีความหมายแคบกว่าคาในสมัยปัจจุบันก็มีอยู่
บ้าง ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า ความหมายกว้างออก เป็นต้นว่า
เถื่อน สมัยสุโขทัย หมายถึง ป่า เช่น
เข้าเถื่อนอย่าลืมพร้า หน้าศึกอย่านอนใจ
ปัจจุบัน เถื่อน ยังคงหมายถึง ป่า มักใช้ในคาประพันธ์และใช้ขยาย
คาอื่นหมายถึงนอกกฎหมาย เช่น ฝิ่นเถื่อน หมอเถื่อน หรือไม่ก็
หมายถึงที่ไม่เจริญ
คาบางคาในสมัยโบราณมีความหมายหนึ่ง แต่ในปัจจุบันมีความหมายหนึ่ง
ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า ความหมายย้ายที่ เช่น จังหวัด ตั้งแต่สมัยอยุธยาถึง
สมัยรัตนโกสินทร์ หมายถึง เขต บริเวณ เช่น
๑."ปราการหนึ่งดีบุกส่วยษาอากร ณ เมืองกลางแลจังหวัดนั้น ก็ให้ชาว
คลังเรียกเอานามทาเนียมแลแต่ในเดือนสิบ ปีมะโรง สัมฤทธิศก..."
(สัญญาไทย-ฝรั่งเศส ครั้งสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ในประชุม
จดหมายเหตุ สมัยอยุธยา ภาค ๑)
๒. " ที่นี่ตั้งอยู่บนชายเนินเป็นที่กว้างแลยังแผ่จังหวัดออกไปอีก..."
(จดหมายเหตุเสด็จพระราชดาเนินประพาสทวีปยุโรป ครั้งที่ ๒ เล่ม ๑"
คำหนึ่งควำมหมำยต่ำงกับอีกคำหนึ่ง
ปัจจุบัน คาว่า จังหวัด หมายถึง หน่วยการปกครองส่วนภูมิภาคที่รวม
ท้องที่หลายๆอาเภอเข้าด้วยกัน มีฐานะเป็นนิติบุคคล มีผู้ว่าราชการ
จังหวัดเป็นหัวหน้าปกครอง
อนึ่ง คาบางคาอาจไม่ถึงกับเปลี่ยนความหมายไป แต่เปลี่ยนขอบเขต
การใช้ เช่น คาว่า โกหก ใช้เป็นคาต่า สุภาพชนไม่ใช้ แต่ปัจจุบันมีผู้ใช้
กันทั่วไป เราถือว่าทั้งมีขอบเขตการใช้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
การเลือกใช้คาเดิมและเปลี่ยนเป็ นคาใหม่
นอกจากคาจะเปลี่ยนเสียงหรือความหมายแล้ว คาบางคายังเลิกใช้ไปจากภาษา
ปรากฏอยู่ในเอกสารเก่า และมีคาใหม่ๆเกิดขึ้นแทน
การเลิกใช้คา
ข้อความต่อไปนี้คัดมาจากจดหมายหลวงอุดมสมบัติซึ่งเขียนไว้สมัยต้น
รัตนโกสินทร์
จะกล่าวไปอย่างไรๆ ให้มากก็จะเพ้อเสียเปล่า
ป่วยงานเขียนเปลืองกระดาษเปลืองดินสอทั้งนั้น
ย้อนเวลาไปในอดีตสมัยอยุธยา มีคาว่า หมดหน้า ในกฎหมำยตรำสำมดวง
หลายแห่ง เช่น
“คือเหนเขาหมดหน้าพึงใจไปเกาะกุมเอามาเปนเมียตน โดยพลการเอง ๑...”
(พระไอยการอาชญาหลวง)
คาว่า หมดหน้า นี้ อักขรำภิธำนศรับท์ ของหมอบรัดเล ซึ่งพิมพ์เมื่อ
พ.ศ. ๒๔๑๖ ให้ความหมายไว้ว่า “หมดหน้า, คือคนมีของดีมีผ้านุ่ง ผ้าห่มเปนตัน,
สะอาดงาม, ว่าคนนั้นมีของหมดหน้าของตัว.”
เมื่อพิจารณาคาว่า หมดหน้า ในข้อความที่คัดมาจากกฎหมำยตรำสำมดวง
ประกอบกับความหมายของคาว่า หมดหน้า ที่อักขรภิธำนศรับท์ให้ไว้ หมดหน้า
น่าจะหมายถึงสะอาด งาม มีความหมายทานองเดียวกับคาว่า หมดจด แต่ใน
ปัจจุบันคาว่า หมดหน้า เลิกใช้ไปแล้ว
การสร้างคาใหม่
เมื่อมีสิ่งใหม่ๆ หรือเหตุการณ์ใหม่ๆ เกิดขึ้น จาเป็นต้องมีคา
ใช้เรียก เราก็อาจจะสร้างคาใหม่ได้โดยนึกเอาใหม่ทั้งหมด หรือนาคา
นาคาทีมีอยู่แล้วมาเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมให้เป็นคาใหม่ตั้งแต่โบราณ
โบราณมา การสร้างคามีวิธีต่างๆ ดังนี้
๑.คิดคาขึ้นใหม่โดยเลียนเลียนเสียงธรรมชาติหรือคาที่มีอยู่
เดิม เช่น เรียกเครื่องใช้ชนิดหนึ่งว่า กริ่ง เพราะเสียงดังเช่นนั้น เรียกสัตว์
ชนิดหนึ่งว่า จิ้งจก เพราะมันร้องเช่นนั้น เรียกรถชนิดหนึ่งว่า รถตุ๊กๆ
เพราะเวลาแล่น รถชนิดนี้ทาเสียงเช่นนั้น
๒.ประกอบคาขึ้นใหม่ อาจประกอบคาตามแบบไทยคือซ้า
เสียง หรือประสมคาหรือซ้อนคา หรือยืมวิธีประกอบคาของภาษาอื่น
เรียกคาที่ประกอบขึ้นใหม่ว่า คาซ้า คาประสม คาซ้อน หรือคาสมาส
แล้วแต่ประกอบคาด้วยวิธีใด เช่น เด็กๆ เป็นการซ้าคา ชาวนา เป็นคา
ประสม สร้างสรรค์ เป็นคาซ้อน ภูมิประเทศ เป็นคาสมาส
การเปลี่ยนแปลงรูปประโยค
ข้อสังเกตเกี่ยวการเปลี่ยนแปลงรูปประโยค
๑.ประโยคกรรมมีมำกขึ้น
ในภาษาไทยมักจะเรียงประโยคแบบ ประธาน กริยา กรรม แต่ถ้าต้องการเน้นกรรม ก็จะ
นากรรมมาไว้ต้นประโยค เรียนว่า “ประโยคกรรม” ดังตัวอย่างเช่น
- คนร้ายถูกตารวจจับได้แล้ว
คนร้าย เป็นกรรมที่วางอยู่ต้นประโยค และในประโยคนี้ยังมีคาว่า ถูก วางหน้า
คากริยา อีกด้วย
ในปัจจุบัน มีประโยคที่นากรรมไว้ต้นประโยค และมีคาว่า ถูก วางหน้าคานามเป็นจานวน
มาก ดังเช่น
- เงินของเขาถูกถอนออกจากธนาคาร
- รถยนต์จานวนมากถูกผลิตที่เมื่องนี้
คาว่า ถูก นั้นมักจะใช้กับความที่ไม่ดี เช่น ถูกติ ถูกทาร้าย จึงมีผู้ใช้คาว่า ได้รับ แทน
เขาได้รับเชิญให้เป็นวิทยากรการสัมมนาวิชาการ
๒. ประโยคที่ใช้สรรพนาม มัน ขึ้นต้นประโยค แต่ไม่ได้ใช้แทนสัตว์
หรือสิ่งของ ดังตัวอย่างเช่น
- มันเป็นการง่ายที่จะเข้าใจผิด
คาว่า มัน ในภาษาไทยมักไม่นิยมใช้ขึ้นต้นประโยค จึงตัดคาว่า มัน
มัน ออก แต่ถ้าในประโยคยังขึ้นต้นคาว่า เป็น อยู่ก็ยังฟังสานวนเป็น
เป็นอังกฤษอยู่ ดังเช่น
เป็นเรื่องที่ไม่น่าเชื่อเลยที่เขาจะช่วยคุณ
๓.ประโยคต่ำงๆมีบุพบทมำกขึ้น ทาให้ประโยคยาวขึ้น ดัง
ตัวอย่างเช่น
- เราควรจะสนใจในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
๔. ประโยคต่ำงๆมีคำอำกำรนำมมำกขึ้น ถ้าเติมคาว่า การ หรือ
ความ แล้วก็ต้องเพิ่มทากริยาที่ใช้กับอาการนามนั้นด้วย จึงทาให้
ประโยคยาวขึ้น
- การสะดุดหยุดลงของการค้าทาให้พวกพ่อค้าสูญหายไป
- การมีเงินทองอย่างพอเพียงเป็นสิ่งที่จาเป็นต่อการรักษา
ความศักดิ์สิทธิ์ของกฎหมาย
๕.มีประโยคที่นำส่วนขยำยมำไว้ต้นประโยค ส่วนขยายมักอยู่หลังคา
หรือวลีที่ถูกขยายไม่ใช่อยู่ต้นประโยค แต่ปัจจุบันมีผู้ใช้ประโยคที่เรียง
ส่วนขยายไว้ต้นประโยค เช่น
- จากการตรวจค้นภายในรถ ตารวจพบหลักฐานหลายอย่าง
- เกี่ยวกับเรื่องนี้ข้าพเจ้าไม่มีความเห็น
บางประโยคอาจใช้ได้ในบางบริบทแต่หากเรียบเรียงเป็นภาษาไทยที่
กระชับและสื่อความหมายชัดเจนยิ่งขึ้น ก็ควรเลือกใช้รูปประโยค
ภาษาไทยแทน
สาเหตุของความเปลี่ยนแปลง
๑.ความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
เมื่อมีสิ่งใหม่ๆ ความคิดใหม่ๆ กระบวนการใหม่ๆ เกิดขึ้น ก็จะต้องมีศัพท์ใช้
เรียกสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่เหล่านี้ เช่น โทรศัพท์ไร้สาย พืชตัดต่อพันธุกรรม
สิ่งที่เคยมีอยู่เดิม เมื่อเลิกใช้ก็อาจทาให้คาที่ใช้เรียกสิ่งนั้นสูญไปจากภาษาด้วย
หรือถึงแม้คานั้นจะยังคงอยู่ คนรุ่นใหม่ก็อาจไม่รู้ความหมาย หรือเข้าใจ
ความหมายผิดไปได้
ตัวอย่างคาที่เกิดขึ้นใหม่เพราะความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมมีอยู่มาก เช่น
รถไฟ ไฟฟ้ า ไฟฉาย ไม้ขีดไฟ ตู้เย็น พัดลม
ที่ เขี่ ยบุหรี่ น้าแข็ง เครื่ องดื่ ม เตารีด ตู้นิรภัย เตาอบ
บางคาสร้างขึ้นใหม่เพื่อทันกับความหน้าทางวิชาการ
คาเหล่านี้มักเรียกกันว่า ศัพท์บัญญัติ ศัพท์บัญญัติบางคาเป็นคาประสม เช่น
บางคาได้มาจากภาษาบาลีสันสกฤตโดยเปลี่ยนแปลงเสียงและความหมาย
เล็กน้อย เช่น
ปฎิรูป (บาลี) สมควร เหมาะ ปฏิรูป (ไทย) reform
บางคาก็มีการตกแต่งโดยเติมอุปสรรคหน้าคาบ้าง สมาสกับคาอื่นบ้าง เช่น
ปฎิกิริยา reaction
อนุภาค participle
เอกภาพ unity
คาที่คิดขึ้นใหม่นี้ บางคาก็มีเสียงคล้ายคลึงและความหมายตรงกับศัพท์ใน
ภาษาอังกฤษ เช่น
สัมมนา seminar
ปรสิต parasite
ตรีโกณมิติ trigonometry
๒.ความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมทางสังคม
คนบางกลุ่มในสังคม เช่น สื่อมวลชน วัยรุ่น มักสร้างคาหรือสานวนขึ้นใช้
เพื่อให้เกิดความแปลกใหม่ ทาให้ภาษาของตน
น่าสนใจ เช่น งานเข้า ตัวแม่ คาที่สร้างขึ้นใช้เฉพาะพวกเฉพาะกลุ่มเพื่อให้เกิด
ความแปลกใหม่เช่นนี้ เรียกกันว่า คาแสลง
คาแสลงส่วนใหญ่ใช้กันในช่วงเวลาสั้นๆ คาแสลงบางคาปัจจุบันก็เลิกใช้กันไป
แล้ว เช่น โลซก ชิ้นเช้สะบัดช่อ เป็นต้น
แต่ก็มีบางคาที่ยังใช้กันอยู่ในปัจจุบัน เช่น ทึ่ง เก๋ โคมลอย เป็นต้น
นอกจากผู้ใช้ภาษาจะสร้างคาเพื่อให้เกิดความแปลกใหม่แล้ว
ความหมายของคาบางคาอาจแปรเปลี่ยนไปเพราะการเรียน
ภาษาของเด็ก เด็กเรียนภาษาจากบุคคลใกล้ชิด เมื่อเด็กได้ยินคาพูด ก็
แปลงให้เป็นภาษาของตนเอง เราจะสังเกตได้ว่า
ภาษาของเด็กและผู้ใหญ่จะไม่เหมือนกัน เด็กอาจเข้าใจความหมายของ
คา ออกเสียงคา และใช้คาไม่ตรงกับผู้ใหญ่
เด็กจะค่อยๆพัฒนาภาษาของตนจากการเรียนรู้ ค่อยๆแก้ไขส่วนที่
ผิดเพี้ยนไปจนใกล้เคียงกับภาษาของผู้ใหญ่
แต่ก็อาจเป็นไปได้ว่า ภาษาของเด็กจะไม่ตรงกับภาษาของผู้ใหญ่ไปซะ
ทีเดียว
การพูดจากันในชีวิตประจาวันก็อาจทาให้ถ้อยคาในภาษา
เปลี่ยนไปได้ ถ้าผู้พูดไม่พยายามพูดให้ชัดเจน เสียงของคาก็
อาจจะเปลี่ยนไป นานๆเข้าคาที่เปลี่ยนไปก็ติดอยู่ในภาษา คาเดิม
อาจจะค่อยๆสูญไปหรือใช้ในความหมายที่ต่างออกไป
ขอบคุณค่ะ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนmonnawan
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทยหน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทยWilawun Wisanuvekin
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)nunrutchadaphun
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทยหน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทยWilawun Wisanuvekin
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5กชนุช คำเวียง
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนKroo R WaraSri
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)B'Ben Rattanarat
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 

La actualidad más candente (20)

คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทยหน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
การใช้ a/an/some/any
การใช้ a/an/some/any การใช้ a/an/some/any
การใช้ a/an/some/any
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทยหน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 

Similar a การเปลี่ยนแปลงของภาษา

ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ absinthe39
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Prom Pan Pluemsati
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรkruthai40
 
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยครูเจริญศรี
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมNomoretear Cuimhne
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมNomoretear Cuimhne
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำNook Kanokwan
 
การยืมคำ ตปท.มาใช้
การยืมคำ ตปท.มาใช้การยืมคำ ตปท.มาใช้
การยืมคำ ตปท.มาใช้Thanit Lawyer
 
การยืมคำ ตปท.มาใช้
การยืมคำ ตปท.มาใช้การยืมคำ ตปท.มาใช้
การยืมคำ ตปท.มาใช้Anan Pakhing
 

Similar a การเปลี่ยนแปลงของภาษา (20)

ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
 
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 
การยืมคำ ตปท.มาใช้
การยืมคำ ตปท.มาใช้การยืมคำ ตปท.มาใช้
การยืมคำ ตปท.มาใช้
 
การยืมคำ ตปท.มาใช้
การยืมคำ ตปท.มาใช้การยืมคำ ตปท.มาใช้
การยืมคำ ตปท.มาใช้
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 

การเปลี่ยนแปลงของภาษา