SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 7
Descargar para leer sin conexión
ใบงานที่ 3 : 8 ปรเด็นโลกศึกษา

ปรเด็นโลกศึกษา(Global Education) ?
โลกศึกษาเป็นมุมมองทางการศึกษาซึ่งพัฒนามาจากข้อเท็จจริงที่วามนุษย์ปัจจุบันมี
                                                               ่
ความเป็นอยู่ และมีปฏิสัมพันธ์กันในโลกยุคโลกาภิวัตน์มากขึ้น
“โลกศึกษา” หรือมีผู้บัญญัติว่า “โลกาภิวัตน์ศกษา” เป็นการศึกษาที่เปิดตา และเปิดใจ
                                             ึ
ของคนให้รับรู้ความเป็นจริงต่างๆ ของโลกยุคโลกาภิวัตน์ (Globalized world) และ
ปลุกให้ผู้เรียนได้ลุกขึ้นมาสร้างโลกที่มี ความชอบธรรมเสมอภาค และเคารพสิทธิ
มนุษยชนมากขึ้น
โลกศึกษาเป็นการศึกษาความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาด้านสิทธิมนุษยชน การพัฒนาที่
ยั่งยืน สันติภาพ การป้องกันความขัดแย้ง และการศึกษาระหว่างวัฒนธรรมตลอดจน
ความเป็นพลเมืองโลก
โลกศึกษาเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงในเชิงลึก ทั้งด้านพื้นฐาน
ความคิด ความรู้สึกและการกระทาที่มุ่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลง การเชือมโยงประสาน
                                                                   ่
สัมพันธ์ ความเสมอภาคเท่าเทียม ความยุติธรรมในสังคม ความเข้าใจกันในระหว่าง
มนุษย์ โดยมีขั้นตอนหลักในการเรียนรู้เชิงการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวกับโลกศึกษา คือ
1. การวิเคราะห์สถานการณ์โลกปัจจุบัน
2. วิสัยทัศน์ในการกาหนดทิศทาง หรือพัฒนาหารูปแบบวิธีการในการแก้ปัญหา
3. การจัดการเรียนรู้จะมุ่งเน้นกระบวนการตัดสินใจแบบมีส่วนร่วมเพื่อให้ผู้เรียน มี
ความตระหนักรู้ในตนเองร่วมกัน นอกจากนี้ยงส่งเสริมให้หาหนทาง ในการ
                                               ั
เปลี่ยนแปลงในระดับท้องถิ่นที่จะส่งผลต่อระดับโลก
กระบวนการเปลี่ยนแปลงเพือมุ่งสู่ความเป็นพลเมืองโลกที่รับผิดชอบ
                             ่



เนื้อหาสาระของโลกศึกษาไม่ได้เกิดจากแนวคิดที่จา แนกองค์ความรู้
ที่เป็นนามธรรมหากแต่เกิดจากความต้องการและความจา เป็นที่เกิดขึ้น
ปรากฏ และแสดงออกของมนุษย์ ได้แก่
- ใกล้ตัวของผู้เรียน การวิเคราะห์เหตุการณ์และการพัฒนาที่เกิดขึน้ ในจุดเล็ก ๆ ที่เป็น
ความจริง
- การเลือกประเด็นเรื่องราวที่เฉพาะเจาะจงและสัมพันธ์กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
- กับระดับโลกในภาพกว้าง และให้มีการอภิปราย สนทนา แลกเปลี่ยนความ
คิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ดงกล่าว
                                            ั
การกระตุ้นให้ตระหนักถึงความเชือมโยงเหตุการณ์ดังกล่าวในระดับท้องถิ่น
                                  ่
แนวคิดหลักของโลกศึกษามอี ะไรบ้าง?
โลกศึกษามีมิติที่เป็นแนวคิดหลัก ซึ่ง สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
8 ด้านดังนี้
DIMENSION
     ในสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน(Human Rightsความรู้ ความเข้าใจและยึดมั่นและตระหนักในความ
หลากหลายทางเชือ้ ชาติ เผ่าพันธ์ สังคมวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี รวมทัง้
ความหลากหลายทางชีวภาพตลอดจนผลกระทบของสภาพแวดล้อมที่มีต่อเศรษฐกิจ
สังคมและวัฒนธรรมความหลากหลาย (Diversity) ความรู้ ความเข้าใจการยอมรับ
     ความเป็นธรรมในสังคม (Social Justice)
ความสานึก ตระหนักในความสาคัญของความเสมอภาคและความยุตธรรมในสังคม มีิ
บทบาทและมีส่วนร่วมในการสร้างความเท่าเทียมและความเป็นธรรมในสังคม
     การแก้ปัญหาความขัดแย้ง (Conflict Resolution)
ความรู้ความเข้าใจธรรมชาติของความขัดแย้ง มีขันติอดทนอดกลั้นต่อความแตกต่าง
ขัดแย้ง สามารถเจรจาต่อรอง เชื่อมประสาน เพื่อลดปัญหาหรือคลายปมขัดแย้ง โดย
ปราศจากการใช้ความรุนแรง
     การพึ่งพาอาศัยกัน (Interdependence)
ความเข้าใจตระหนักรู้ถงความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างกันของผู้คน ถิ่นฐาน เศรษฐกิจ
                          ึ
ธรรมชาติสิ่งแวดล้อมทีต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน เข้าใจสภาวการณ์ในระดับโลก
                        ่
สามารถเรียนรู้ที่จะจัดการกับความซับซ้อนได้
   ค่านิยมและการตระหนักรับรู้ (Values and Perceptions)
ความสามารถในการประเมินค่าเกี่ยวกับประเด็นสาคัญระดับโลกและผลที่กระทบต่อ
เจตคติและค่านิยมของผู้คนที่เกี่ยวข้อง โดยคานึงถึงความสาคัญและค่านิยมด้านสิทธิ
มนุษยชน
   การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development)
ความรู้ ความเข้าใจหรือความจาเป็นในการจรรโลง รักษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต โดย
ปราศจากการทาลายโลกใบนี้ เพือความอยู่รอดของชีวิตในรุ่นต่อไป โดยคานึงถึงการ
                                ่
พัฒนาอย่างยั่งยืน
   ความเป็นพลเมืองโลก (Global Citizenship)
ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดหลักการ และสถาบัน การมีบทบาทที่เกี่ยวข้องใน
ฐานะสมาชิกของสังคมทั้งในระดับท้องถิ่น ประเทศ และระดับโลก ตลอดจนการมี
ส่วนร่วมรับผิดชอบในฐานะพลเมืองที่ดีของสังคมที่คานึงถึงสิทธิมนุษยชนและ
อุดมการณ์ประชาธิปไตย
ขอบข่ายเนื้อหาสาระโลกศึกษาควรมีอะไรบ้าง ?
เนื่องจากโลกศึกษา
(Interdisplinary) ไม่มุ่งเน้นการสอนเนื้อหาใหม่ ๆ แต่เน้นการเพิ่มพูนความรู้ ความคิด
รวบยอดและเนือหาสาระของสาขาวิชาที่ศึกษาทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาในมิติ
                 ้
ที่ขยายกว้างระดับโลกซึ่งจาแนกได้ดงนี้
                                    ั
o ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการโลกาภิวตน์และการพัฒนาสังคมโลก
                                      ั
o ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความเป็นมาและปรัชญาความคิดของมนุษยชาติ
o ความรู้เกี่ยวกับความเป็นสังคมชุมชนและความแตกต่าง
o ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการโลกาภิวตน์ และการพัฒนาสังคมโลก
                                        ั
จุดเน้นของโลกศึกษาคือ
ความเป็นธรรมในสังคม และการพัฒนาอย่างยั่งยืนเพื่อเปิดโอกาสให้กับชีวิตของ
มนุษย์ทุกคน ดังนัน ขอบข่ายเนื้อหาควรประกอบด้วยประเด็นที่สาคัญว่าด้วย สภาพ
                     ้
การดารงชีวตในระดับท้องถิ่น และส่วนอื่น ๆ ของโลก สังคมที่มีวัฒนธรรม
              ิ
หลากหลาย สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและวัฒนธรรม
ความสัมพันธ์และการพึงพาอาศัยกันระหว่า ภูมิภาค ประเทศ และทวีปตลอดจน
ทรัพยากรธรรมชาติที่จากัด สังคมข้อมูลข่าวสารและสื่อมวลชนและไซเบอร์สเปซ
(Cyber Space)
1 ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความเป็นมา และปรัชญาความคิดของมนุษยชาติ
โลกศึกษามีขอบข่ายสาระความรู้ที่เกี่ยวกับความคิดรวบยอดของความเป็นมนุษยชาติ
เช่นสิทธิมนุษยชน ประชาธิปไตย และธรรมาภิบาล เศรษฐศาสตร์ ความยุติธรรมใน
สังคม การค้าที่เป็นธรรม ความเสมอภาคทางเพศ สันติภาพและความขัดแย้ง การ
เปลี่ยนแปลง ความเป็นพลเมือง ความหลากหลาย ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรม
การพัฒนาอย่างยังยืน สุขภาพอนามัยและความเสมอภาคเท่าเทียมในการเข้าถึง
                   ่
ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความรู้เกี่ยวกับความเป็นสังคมชุมชน
ความหลากหลายและความแตกต่าง
ได้แก่ความรู้ ?
ทักษะที่มุ่งพัฒนาในการเรียนรู้โลกศึกษามีอะไรบ้าง
1.ทักษะการคิดวิเคราะห์วิจารณ์และการวิเคราะห์
2. ทักษะการมองต่างมุม หรือเปลี่ยนมุมมอง
มุ่งให้ผู้เรียนรู้จักเปลี่ยนมุมมอง และพิจารณาสถานการณ์ที่เกิดขึ้น จากทัศนะที่แตกต่าง
กันหลายๆแง่มุม
3.ทักษะการตระหนักรู้เกี่ยวกับอคติและความลาเอียง
มุ่งให้ผู้เรียนตระหนักถึงอคติหรือทัศนะที่เป็นลบต่อการแบ่งแยกเชือชาติ สีผิว
                                                                   ้
เผ่าพันธุ์
4.ความสามารถในการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม
มุ่งให้ผู้เรียนทาความเข้าใจและสามารถสื่อสารกับผู้คนต่างภาษา ต่างวัฒนธรรมได้
5.ทักษะการทางานเป็นทีมและการให้ความร่วมมือช่วยเหลือกัน
มุ่งให้ผู้เรียนปฏิบัติต่อกันในฐานะเพื่อน ทาความเข้าใจและกระตุนหมูคณะให้สามารถ
                                                                ้ ่
ทางานร่วมกันได้
6. ความใส่ใจและเข้าถึง
มุ่งให้ผู้เรียนเข้าใจอารมณ์ ความรู้สึก ทัศนะ และค่านิยมของคนกลุ่มอื่นที่มีความ
แตกต่าง ทางเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม
7. ทักษะการสนทนาและการกล้าแสดงออก
มุ่งให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะในการพูดคุยสนทนา เช่น การฟังอย่างตังใจ การเคารพความ
                                                                 ้
คิดเห็นของผู้อื่น การสือสารที่ชัดเจน และกล้าแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ เหมาะสม
                           ่
8. ทักษะการจัดการกับความซับซ้อน ความไม่แน่นอน และการเผชิญความขัดแย้ง
มุ่งให้ผู้เรียนเข้าใจความซับซ้อนในโลก ตระหนักถึงความไม่แน่นอน และรู้ว่าไม่มี
วิธีการใดวิธีเดียวในการแก้ปัญหาที่ซับซ้อนอย่างได้ผล นอกจากนี้ยังมุ่งให้ผู้เรียนรู้จัก
เผชิญกับปัญหาความขัดแย้งอย่างชาญฉลาด สร้างสรรค์ และเป็นระบบ
9. ทักษะการศึกษา ค้นคว้า วิจัย
มุ่งให้ผู้เรียนสามารถค้นคว้า หาความรู้ในประเด็นต่างๆของโลกโดยแสวงหาจาก
แหล่งข้อมูลที่แตกต่างหลากหลาย
10. ทักษะการตัดสินใจ
มุ่งให้ผู้เรียนเข้ามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจด้วยกระบวนการประชาธิปไตย
11. การบริโภคสื่อและข้อมูลข่าวสาร
มุ่งให้ผู้เรียนตระหนักและพัฒนาทักษะในการบริโภคสื่อและข่าวสารอย่างจาแนก
แยกแยะและวิเคราะห์วจารณ์  ิ
12. การใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มุ่งให้ผู้เรียนมีทักษะในการใช้ประโยชน์จากผลงานทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
อย่างมีความรับผิดชอบ
ค่านิยมและเจตคติที่ควรปลูกฝังให้เกิด จากการเรียนรู้โลกศึกษาคืออะไร ?
ความมุ่งหมายสูงสุดของโลกศึกษาคือการพัฒนาค่านิยมทีอยู่บนพืนฐานความรู้ในเรือง
                                                          ่     ้                ่
ต่างๆของโลก และทักษะที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อสร้างเสริมเจตคติในการเป็นพลเมืองโลก
ที่รับผิดชอบทั้งในระดับบุคคลและหมู่เหล่า
ค่านิยมดังกล่าว ได้แก่
1.ความนับถือ และ เชื่อมั่นในตนเอง
2.ความรับผิดชอบต่อสังคม
3. ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และมีส่วนร่วมรับผิดชอบ
4.ความเคารพในตน และความเคารพ
5. การเปิดใจกว้าง
 มุ่งให้ผู้เรียนเสนอความคิดเห็นเชิงวิพากษ์ในประเด็นต่างๆด้วยจิตใจที่เปิดเผย มีเหตุมี
ผล สามารถจาแนกระหว่าง หลักการ กับลัทธิ ความเชื่อต่างๆตลอดจนการโฆษณาชวน
เชื่อ และอคติ
เกี่ยวกับความเป็นชุมชน และความแตกต่างหลากหลาย(Diversity) แบบแผนของการ
ดารงชีวิต (Life Styles) ศาสนา วัฒนธรรม ชีวิตของคนต่างรุ่น ต่างวัย ( Generations))
6.เจตคติในการพัฒนา ต่อผู้อื่น วิสัยทัศน์
7.เป็นสมาชิกชุมชนที่แข็งขัน

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านPlam Preeya
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์nang_phy29
 
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศPa'rig Prig
 
Digital literacy
Digital literacyDigital literacy
Digital literacyMarreea Mk
 
Youth learningcm600602
Youth learningcm600602Youth learningcm600602
Youth learningcm600602Pattie Pattie
 
ทักษะทางสารนิเทศเทอม154
ทักษะทางสารนิเทศเทอม154ทักษะทางสารนิเทศเทอม154
ทักษะทางสารนิเทศเทอม154nawasai
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษ...
การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษ...การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษ...
การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษ...Panita Wannapiroon Kmutnb
 

La actualidad más candente (12)

มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
Atack
AtackAtack
Atack
 
Atack
AtackAtack
Atack
 
พลเมืองโลก
พลเมืองโลกพลเมืองโลก
พลเมืองโลก
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
 
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
 
Digital literacy
Digital literacyDigital literacy
Digital literacy
 
บทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่นบทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่น
 
Youth learningcm600602
Youth learningcm600602Youth learningcm600602
Youth learningcm600602
 
ทักษะทางสารนิเทศเทอม154
ทักษะทางสารนิเทศเทอม154ทักษะทางสารนิเทศเทอม154
ทักษะทางสารนิเทศเทอม154
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษ...
การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษ...การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษ...
การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษ...
 

Destacado

Einfuehrung in Elasticsearch
Einfuehrung in ElasticsearchEinfuehrung in Elasticsearch
Einfuehrung in ElasticsearchFlorian Hopf
 
Introduction to elasticsearch
Introduction to elasticsearchIntroduction to elasticsearch
Introduction to elasticsearchFlorian Hopf
 
League Of Nations Revision
League Of Nations RevisionLeague Of Nations Revision
League Of Nations RevisionLungi Holl
 
Mathura of my Dreams by Charul Agarwal
Mathura of my Dreams by Charul AgarwalMathura of my Dreams by Charul Agarwal
Mathura of my Dreams by Charul AgarwalPaarth Institute
 
Serco corporate brochure
Serco corporate brochureSerco corporate brochure
Serco corporate brochureTony3773
 
Course 3 social media st
Course 3 social media stCourse 3 social media st
Course 3 social media stPipelime Inc.
 
La raccolta differenziata e la tarsu
La raccolta differenziata e la tarsuLa raccolta differenziata e la tarsu
La raccolta differenziata e la tarsuexlab
 
Exlab coaching
Exlab coachingExlab coaching
Exlab coachingexlab
 
Risk Mitigation Trees - Review test handovers with stakeholders (2004)
Risk Mitigation Trees - Review test handovers with stakeholders (2004)Risk Mitigation Trees - Review test handovers with stakeholders (2004)
Risk Mitigation Trees - Review test handovers with stakeholders (2004)Neil Thompson
 
The Brazilian Corporate Law 11.04.2013
The Brazilian Corporate Law   11.04.2013The Brazilian Corporate Law   11.04.2013
The Brazilian Corporate Law 11.04.2013Noronha Noad
 
How video views are counted on Facebook, Snapchat and other Social Networks
How video views are counted on Facebook, Snapchat and other Social NetworksHow video views are counted on Facebook, Snapchat and other Social Networks
How video views are counted on Facebook, Snapchat and other Social NetworksPressboard
 
Thriller seqeunce pitch
Thriller seqeunce pitchThriller seqeunce pitch
Thriller seqeunce pitchcharwolfefilm
 
Elasticsearch und die Java-Welt
Elasticsearch und die Java-WeltElasticsearch und die Java-Welt
Elasticsearch und die Java-WeltFlorian Hopf
 
Speak Easy, Achieve More!
Speak Easy, Achieve More!Speak Easy, Achieve More!
Speak Easy, Achieve More!Dr Nahin Mamun
 
ใบมอบหมายงาน ที่ 1
ใบมอบหมายงาน ที่  1ใบมอบหมายงาน ที่  1
ใบมอบหมายงาน ที่ 1krusuparat01
 

Destacado (20)

Einfuehrung in Elasticsearch
Einfuehrung in ElasticsearchEinfuehrung in Elasticsearch
Einfuehrung in Elasticsearch
 
Periodontics gum lift
Periodontics gum liftPeriodontics gum lift
Periodontics gum lift
 
Introduction to elasticsearch
Introduction to elasticsearchIntroduction to elasticsearch
Introduction to elasticsearch
 
Grade 1lessonplans
Grade 1lessonplansGrade 1lessonplans
Grade 1lessonplans
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติ
 
League Of Nations Revision
League Of Nations RevisionLeague Of Nations Revision
League Of Nations Revision
 
Mathura of my Dreams by Charul Agarwal
Mathura of my Dreams by Charul AgarwalMathura of my Dreams by Charul Agarwal
Mathura of my Dreams by Charul Agarwal
 
Tissues
TissuesTissues
Tissues
 
Serco corporate brochure
Serco corporate brochureSerco corporate brochure
Serco corporate brochure
 
Course 3 social media st
Course 3 social media stCourse 3 social media st
Course 3 social media st
 
Nepal
NepalNepal
Nepal
 
La raccolta differenziata e la tarsu
La raccolta differenziata e la tarsuLa raccolta differenziata e la tarsu
La raccolta differenziata e la tarsu
 
Exlab coaching
Exlab coachingExlab coaching
Exlab coaching
 
Risk Mitigation Trees - Review test handovers with stakeholders (2004)
Risk Mitigation Trees - Review test handovers with stakeholders (2004)Risk Mitigation Trees - Review test handovers with stakeholders (2004)
Risk Mitigation Trees - Review test handovers with stakeholders (2004)
 
The Brazilian Corporate Law 11.04.2013
The Brazilian Corporate Law   11.04.2013The Brazilian Corporate Law   11.04.2013
The Brazilian Corporate Law 11.04.2013
 
How video views are counted on Facebook, Snapchat and other Social Networks
How video views are counted on Facebook, Snapchat and other Social NetworksHow video views are counted on Facebook, Snapchat and other Social Networks
How video views are counted on Facebook, Snapchat and other Social Networks
 
Thriller seqeunce pitch
Thriller seqeunce pitchThriller seqeunce pitch
Thriller seqeunce pitch
 
Elasticsearch und die Java-Welt
Elasticsearch und die Java-WeltElasticsearch und die Java-Welt
Elasticsearch und die Java-Welt
 
Speak Easy, Achieve More!
Speak Easy, Achieve More!Speak Easy, Achieve More!
Speak Easy, Achieve More!
 
ใบมอบหมายงาน ที่ 1
ใบมอบหมายงาน ที่  1ใบมอบหมายงาน ที่  1
ใบมอบหมายงาน ที่ 1
 

Similar a ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน

มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านsuperglag
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านNattayaporn Dangjun
 
มิติโลก 8 ด้านปอ
มิติโลก 8 ด้านปอมิติโลก 8 ด้านปอ
มิติโลก 8 ด้านปอsuperglag
 
มิติโลก 8 ด้านปอ
มิติโลก 8 ด้านปอมิติโลก 8 ด้านปอ
มิติโลก 8 ด้านปอsuperglag
 
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้านสอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน0866589628
 
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้านสอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน0866589628
 
มิติโลก+8..
มิติโลก+8..มิติโลก+8..
มิติโลก+8..KoNg KoNgpop
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านDawloveyou
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านDawloveyou
 
สุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาสุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาEkarach Inthajan
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้sirirak Ruangsak
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุคKruBeeKa
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างPz'Peem Kanyakamon
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Prapatsorn Chaihuay
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน krupornpana55
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 

Similar a ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน (20)

มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้านปอ
มิติโลก 8 ด้านปอมิติโลก 8 ด้านปอ
มิติโลก 8 ด้านปอ
 
มิติโลก 8 ด้านปอ
มิติโลก 8 ด้านปอมิติโลก 8 ด้านปอ
มิติโลก 8 ด้านปอ
 
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้านสอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
 
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้านสอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก+8..
มิติโลก+8..มิติโลก+8..
มิติโลก+8..
 
Atack
AtackAtack
Atack
 
แนวทาง Tok
แนวทาง Tokแนวทาง Tok
แนวทาง Tok
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
สุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาสุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนา
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 

Más de princess Thirteenpai

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์princess Thirteenpai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์princess Thirteenpai
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6princess Thirteenpai
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6princess Thirteenpai
 
ใบกิจกรรม เรื่อง การตั้งชื่อเรื่องและสรุปใจคามสำคัญ
ใบกิจกรรม เรื่อง การตั้งชื่อเรื่องและสรุปใจคามสำคัญใบกิจกรรม เรื่อง การตั้งชื่อเรื่องและสรุปใจคามสำคัญ
ใบกิจกรรม เรื่อง การตั้งชื่อเรื่องและสรุปใจคามสำคัญprincess Thirteenpai
 
ใบกิจกรรม เรื่อง การตั้งชื่อเรื่องและสรุปใจคามสำคัญ
ใบกิจกรรม เรื่อง การตั้งชื่อเรื่องและสรุปใจคามสำคัญใบกิจกรรม เรื่อง การตั้งชื่อเรื่องและสรุปใจคามสำคัญ
ใบกิจกรรม เรื่อง การตั้งชื่อเรื่องและสรุปใจคามสำคัญprincess Thirteenpai
 
ใบกิจกรรม เรื่อง การตั้งชื่อเรื่องและสรุปใจคามสำคัญ
ใบกิจกรรม เรื่อง การตั้งชื่อเรื่องและสรุปใจคามสำคัญใบกิจกรรม เรื่อง การตั้งชื่อเรื่องและสรุปใจคามสำคัญ
ใบกิจกรรม เรื่อง การตั้งชื่อเรื่องและสรุปใจคามสำคัญprincess Thirteenpai
 
ใบงานที่เกาหลี
ใบงานที่เกาหลีใบงานที่เกาหลี
ใบงานที่เกาหลีprincess Thirteenpai
 
ใบงานที่เกาหลี
ใบงานที่เกาหลีใบงานที่เกาหลี
ใบงานที่เกาหลีprincess Thirteenpai
 
ใบงานที่เกาหลี
ใบงานที่เกาหลีใบงานที่เกาหลี
ใบงานที่เกาหลีprincess Thirteenpai
 
ใบงานที่ ประวัติส่วนตัว2
ใบงานที่ ประวัติส่วนตัว2ใบงานที่ ประวัติส่วนตัว2
ใบงานที่ ประวัติส่วนตัว2princess Thirteenpai
 

Más de princess Thirteenpai (11)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
ใบกิจกรรม เรื่อง การตั้งชื่อเรื่องและสรุปใจคามสำคัญ
ใบกิจกรรม เรื่อง การตั้งชื่อเรื่องและสรุปใจคามสำคัญใบกิจกรรม เรื่อง การตั้งชื่อเรื่องและสรุปใจคามสำคัญ
ใบกิจกรรม เรื่อง การตั้งชื่อเรื่องและสรุปใจคามสำคัญ
 
ใบกิจกรรม เรื่อง การตั้งชื่อเรื่องและสรุปใจคามสำคัญ
ใบกิจกรรม เรื่อง การตั้งชื่อเรื่องและสรุปใจคามสำคัญใบกิจกรรม เรื่อง การตั้งชื่อเรื่องและสรุปใจคามสำคัญ
ใบกิจกรรม เรื่อง การตั้งชื่อเรื่องและสรุปใจคามสำคัญ
 
ใบกิจกรรม เรื่อง การตั้งชื่อเรื่องและสรุปใจคามสำคัญ
ใบกิจกรรม เรื่อง การตั้งชื่อเรื่องและสรุปใจคามสำคัญใบกิจกรรม เรื่อง การตั้งชื่อเรื่องและสรุปใจคามสำคัญ
ใบกิจกรรม เรื่อง การตั้งชื่อเรื่องและสรุปใจคามสำคัญ
 
ใบงานที่เกาหลี
ใบงานที่เกาหลีใบงานที่เกาหลี
ใบงานที่เกาหลี
 
ใบงานที่เกาหลี
ใบงานที่เกาหลีใบงานที่เกาหลี
ใบงานที่เกาหลี
 
ใบงานที่เกาหลี
ใบงานที่เกาหลีใบงานที่เกาหลี
ใบงานที่เกาหลี
 
ใบงานที่ ประวัติส่วนตัว2
ใบงานที่ ประวัติส่วนตัว2ใบงานที่ ประวัติส่วนตัว2
ใบงานที่ ประวัติส่วนตัว2
 

ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน

  • 1. ใบงานที่ 3 : 8 ปรเด็นโลกศึกษา ปรเด็นโลกศึกษา(Global Education) ? โลกศึกษาเป็นมุมมองทางการศึกษาซึ่งพัฒนามาจากข้อเท็จจริงที่วามนุษย์ปัจจุบันมี ่ ความเป็นอยู่ และมีปฏิสัมพันธ์กันในโลกยุคโลกาภิวัตน์มากขึ้น “โลกศึกษา” หรือมีผู้บัญญัติว่า “โลกาภิวัตน์ศกษา” เป็นการศึกษาที่เปิดตา และเปิดใจ ึ ของคนให้รับรู้ความเป็นจริงต่างๆ ของโลกยุคโลกาภิวัตน์ (Globalized world) และ ปลุกให้ผู้เรียนได้ลุกขึ้นมาสร้างโลกที่มี ความชอบธรรมเสมอภาค และเคารพสิทธิ มนุษยชนมากขึ้น โลกศึกษาเป็นการศึกษาความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาด้านสิทธิมนุษยชน การพัฒนาที่ ยั่งยืน สันติภาพ การป้องกันความขัดแย้ง และการศึกษาระหว่างวัฒนธรรมตลอดจน ความเป็นพลเมืองโลก โลกศึกษาเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงในเชิงลึก ทั้งด้านพื้นฐาน ความคิด ความรู้สึกและการกระทาที่มุ่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลง การเชือมโยงประสาน ่ สัมพันธ์ ความเสมอภาคเท่าเทียม ความยุติธรรมในสังคม ความเข้าใจกันในระหว่าง มนุษย์ โดยมีขั้นตอนหลักในการเรียนรู้เชิงการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวกับโลกศึกษา คือ 1. การวิเคราะห์สถานการณ์โลกปัจจุบัน 2. วิสัยทัศน์ในการกาหนดทิศทาง หรือพัฒนาหารูปแบบวิธีการในการแก้ปัญหา 3. การจัดการเรียนรู้จะมุ่งเน้นกระบวนการตัดสินใจแบบมีส่วนร่วมเพื่อให้ผู้เรียน มี ความตระหนักรู้ในตนเองร่วมกัน นอกจากนี้ยงส่งเสริมให้หาหนทาง ในการ ั เปลี่ยนแปลงในระดับท้องถิ่นที่จะส่งผลต่อระดับโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงเพือมุ่งสู่ความเป็นพลเมืองโลกที่รับผิดชอบ ่ เนื้อหาสาระของโลกศึกษาไม่ได้เกิดจากแนวคิดที่จา แนกองค์ความรู้
  • 2. ที่เป็นนามธรรมหากแต่เกิดจากความต้องการและความจา เป็นที่เกิดขึ้น ปรากฏ และแสดงออกของมนุษย์ ได้แก่ - ใกล้ตัวของผู้เรียน การวิเคราะห์เหตุการณ์และการพัฒนาที่เกิดขึน้ ในจุดเล็ก ๆ ที่เป็น ความจริง - การเลือกประเด็นเรื่องราวที่เฉพาะเจาะจงและสัมพันธ์กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น - กับระดับโลกในภาพกว้าง และให้มีการอภิปราย สนทนา แลกเปลี่ยนความ คิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ดงกล่าว ั การกระตุ้นให้ตระหนักถึงความเชือมโยงเหตุการณ์ดังกล่าวในระดับท้องถิ่น ่ แนวคิดหลักของโลกศึกษามอี ะไรบ้าง? โลกศึกษามีมิติที่เป็นแนวคิดหลัก ซึ่ง สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน 8 ด้านดังนี้ DIMENSION ในสิทธิมนุษยชน สิทธิมนุษยชน(Human Rightsความรู้ ความเข้าใจและยึดมั่นและตระหนักในความ หลากหลายทางเชือ้ ชาติ เผ่าพันธ์ สังคมวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี รวมทัง้ ความหลากหลายทางชีวภาพตลอดจนผลกระทบของสภาพแวดล้อมที่มีต่อเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมความหลากหลาย (Diversity) ความรู้ ความเข้าใจการยอมรับ ความเป็นธรรมในสังคม (Social Justice) ความสานึก ตระหนักในความสาคัญของความเสมอภาคและความยุตธรรมในสังคม มีิ บทบาทและมีส่วนร่วมในการสร้างความเท่าเทียมและความเป็นธรรมในสังคม การแก้ปัญหาความขัดแย้ง (Conflict Resolution) ความรู้ความเข้าใจธรรมชาติของความขัดแย้ง มีขันติอดทนอดกลั้นต่อความแตกต่าง ขัดแย้ง สามารถเจรจาต่อรอง เชื่อมประสาน เพื่อลดปัญหาหรือคลายปมขัดแย้ง โดย ปราศจากการใช้ความรุนแรง การพึ่งพาอาศัยกัน (Interdependence)
  • 3. ความเข้าใจตระหนักรู้ถงความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างกันของผู้คน ถิ่นฐาน เศรษฐกิจ ึ ธรรมชาติสิ่งแวดล้อมทีต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน เข้าใจสภาวการณ์ในระดับโลก ่ สามารถเรียนรู้ที่จะจัดการกับความซับซ้อนได้ ค่านิยมและการตระหนักรับรู้ (Values and Perceptions) ความสามารถในการประเมินค่าเกี่ยวกับประเด็นสาคัญระดับโลกและผลที่กระทบต่อ เจตคติและค่านิยมของผู้คนที่เกี่ยวข้อง โดยคานึงถึงความสาคัญและค่านิยมด้านสิทธิ มนุษยชน การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) ความรู้ ความเข้าใจหรือความจาเป็นในการจรรโลง รักษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต โดย ปราศจากการทาลายโลกใบนี้ เพือความอยู่รอดของชีวิตในรุ่นต่อไป โดยคานึงถึงการ ่ พัฒนาอย่างยั่งยืน ความเป็นพลเมืองโลก (Global Citizenship) ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดหลักการ และสถาบัน การมีบทบาทที่เกี่ยวข้องใน ฐานะสมาชิกของสังคมทั้งในระดับท้องถิ่น ประเทศ และระดับโลก ตลอดจนการมี ส่วนร่วมรับผิดชอบในฐานะพลเมืองที่ดีของสังคมที่คานึงถึงสิทธิมนุษยชนและ อุดมการณ์ประชาธิปไตย
  • 4. ขอบข่ายเนื้อหาสาระโลกศึกษาควรมีอะไรบ้าง ? เนื่องจากโลกศึกษา (Interdisplinary) ไม่มุ่งเน้นการสอนเนื้อหาใหม่ ๆ แต่เน้นการเพิ่มพูนความรู้ ความคิด รวบยอดและเนือหาสาระของสาขาวิชาที่ศึกษาทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาในมิติ ้ ที่ขยายกว้างระดับโลกซึ่งจาแนกได้ดงนี้ ั o ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการโลกาภิวตน์และการพัฒนาสังคมโลก ั o ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความเป็นมาและปรัชญาความคิดของมนุษยชาติ o ความรู้เกี่ยวกับความเป็นสังคมชุมชนและความแตกต่าง o ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการโลกาภิวตน์ และการพัฒนาสังคมโลก ั จุดเน้นของโลกศึกษาคือ ความเป็นธรรมในสังคม และการพัฒนาอย่างยั่งยืนเพื่อเปิดโอกาสให้กับชีวิตของ มนุษย์ทุกคน ดังนัน ขอบข่ายเนื้อหาควรประกอบด้วยประเด็นที่สาคัญว่าด้วย สภาพ ้ การดารงชีวตในระดับท้องถิ่น และส่วนอื่น ๆ ของโลก สังคมที่มีวัฒนธรรม ิ หลากหลาย สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและวัฒนธรรม ความสัมพันธ์และการพึงพาอาศัยกันระหว่า ภูมิภาค ประเทศ และทวีปตลอดจน ทรัพยากรธรรมชาติที่จากัด สังคมข้อมูลข่าวสารและสื่อมวลชนและไซเบอร์สเปซ (Cyber Space) 1 ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความเป็นมา และปรัชญาความคิดของมนุษยชาติ โลกศึกษามีขอบข่ายสาระความรู้ที่เกี่ยวกับความคิดรวบยอดของความเป็นมนุษยชาติ เช่นสิทธิมนุษยชน ประชาธิปไตย และธรรมาภิบาล เศรษฐศาสตร์ ความยุติธรรมใน สังคม การค้าที่เป็นธรรม ความเสมอภาคทางเพศ สันติภาพและความขัดแย้ง การ เปลี่ยนแปลง ความเป็นพลเมือง ความหลากหลาย ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรม การพัฒนาอย่างยังยืน สุขภาพอนามัยและความเสมอภาคเท่าเทียมในการเข้าถึง ่ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความรู้เกี่ยวกับความเป็นสังคมชุมชน ความหลากหลายและความแตกต่าง
  • 5. ได้แก่ความรู้ ? ทักษะที่มุ่งพัฒนาในการเรียนรู้โลกศึกษามีอะไรบ้าง 1.ทักษะการคิดวิเคราะห์วิจารณ์และการวิเคราะห์ 2. ทักษะการมองต่างมุม หรือเปลี่ยนมุมมอง มุ่งให้ผู้เรียนรู้จักเปลี่ยนมุมมอง และพิจารณาสถานการณ์ที่เกิดขึ้น จากทัศนะที่แตกต่าง กันหลายๆแง่มุม 3.ทักษะการตระหนักรู้เกี่ยวกับอคติและความลาเอียง มุ่งให้ผู้เรียนตระหนักถึงอคติหรือทัศนะที่เป็นลบต่อการแบ่งแยกเชือชาติ สีผิว ้ เผ่าพันธุ์ 4.ความสามารถในการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม มุ่งให้ผู้เรียนทาความเข้าใจและสามารถสื่อสารกับผู้คนต่างภาษา ต่างวัฒนธรรมได้ 5.ทักษะการทางานเป็นทีมและการให้ความร่วมมือช่วยเหลือกัน มุ่งให้ผู้เรียนปฏิบัติต่อกันในฐานะเพื่อน ทาความเข้าใจและกระตุนหมูคณะให้สามารถ ้ ่ ทางานร่วมกันได้ 6. ความใส่ใจและเข้าถึง มุ่งให้ผู้เรียนเข้าใจอารมณ์ ความรู้สึก ทัศนะ และค่านิยมของคนกลุ่มอื่นที่มีความ แตกต่าง ทางเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม 7. ทักษะการสนทนาและการกล้าแสดงออก มุ่งให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะในการพูดคุยสนทนา เช่น การฟังอย่างตังใจ การเคารพความ ้ คิดเห็นของผู้อื่น การสือสารที่ชัดเจน และกล้าแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ เหมาะสม ่ 8. ทักษะการจัดการกับความซับซ้อน ความไม่แน่นอน และการเผชิญความขัดแย้ง มุ่งให้ผู้เรียนเข้าใจความซับซ้อนในโลก ตระหนักถึงความไม่แน่นอน และรู้ว่าไม่มี วิธีการใดวิธีเดียวในการแก้ปัญหาที่ซับซ้อนอย่างได้ผล นอกจากนี้ยังมุ่งให้ผู้เรียนรู้จัก เผชิญกับปัญหาความขัดแย้งอย่างชาญฉลาด สร้างสรรค์ และเป็นระบบ
  • 6. 9. ทักษะการศึกษา ค้นคว้า วิจัย มุ่งให้ผู้เรียนสามารถค้นคว้า หาความรู้ในประเด็นต่างๆของโลกโดยแสวงหาจาก แหล่งข้อมูลที่แตกต่างหลากหลาย 10. ทักษะการตัดสินใจ มุ่งให้ผู้เรียนเข้ามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจด้วยกระบวนการประชาธิปไตย 11. การบริโภคสื่อและข้อมูลข่าวสาร มุ่งให้ผู้เรียนตระหนักและพัฒนาทักษะในการบริโภคสื่อและข่าวสารอย่างจาแนก แยกแยะและวิเคราะห์วจารณ์ ิ 12. การใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มุ่งให้ผู้เรียนมีทักษะในการใช้ประโยชน์จากผลงานทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อย่างมีความรับผิดชอบ ค่านิยมและเจตคติที่ควรปลูกฝังให้เกิด จากการเรียนรู้โลกศึกษาคืออะไร ? ความมุ่งหมายสูงสุดของโลกศึกษาคือการพัฒนาค่านิยมทีอยู่บนพืนฐานความรู้ในเรือง ่ ้ ่ ต่างๆของโลก และทักษะที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อสร้างเสริมเจตคติในการเป็นพลเมืองโลก ที่รับผิดชอบทั้งในระดับบุคคลและหมู่เหล่า ค่านิยมดังกล่าว ได้แก่ 1.ความนับถือ และ เชื่อมั่นในตนเอง 2.ความรับผิดชอบต่อสังคม 3. ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และมีส่วนร่วมรับผิดชอบ 4.ความเคารพในตน และความเคารพ 5. การเปิดใจกว้าง มุ่งให้ผู้เรียนเสนอความคิดเห็นเชิงวิพากษ์ในประเด็นต่างๆด้วยจิตใจที่เปิดเผย มีเหตุมี ผล สามารถจาแนกระหว่าง หลักการ กับลัทธิ ความเชื่อต่างๆตลอดจนการโฆษณาชวน เชื่อ และอคติ
  • 7. เกี่ยวกับความเป็นชุมชน และความแตกต่างหลากหลาย(Diversity) แบบแผนของการ ดารงชีวิต (Life Styles) ศาสนา วัฒนธรรม ชีวิตของคนต่างรุ่น ต่างวัย ( Generations)) 6.เจตคติในการพัฒนา ต่อผู้อื่น วิสัยทัศน์ 7.เป็นสมาชิกชุมชนที่แข็งขัน