การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย

Punyapon Tepprasit
Punyapon TepprasitChief Executive Officer (CEO) en MVP Consultant
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
SUPPLY CHAIN STRATEGIES MANGAMENT A CASE STUDY OF
THAILAND ELECTRONICS INDUSTRY
ปุญญภณ เทพประสิทธิ์
อาจารย์ สาขาเทคโนโลยีโลจิสติกส์ และการจัดการระบบขนส่ง บริหารธุรกิจ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ
E-Mail: punyapon@mvpconsultant.com
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน 5 ขั้นตอนที่นาไปสู่การสร้าง
คุณค่าที่แท้จริงให้กับองค์กร และศึกษาประสิทธิผลของการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชนในด้านยอดขาย ต้นทุน
การดาเนินงาน และอัตราส่วนความผิดพลาดในการทางาน โดยได้ทาการศึกษาจากผู้ส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์
และส่วนประกอบของไทย จานวน 268 ตัวอย่าง และใช้สถิติการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ด้วยวิธี Enter ในการ
ทดสอบสมมติฐาน
ผลการศึกษาพบว่า การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน 5 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) การคัดเลือกผู้นาที่
เหมาะสม และการพัฒนาความสามารถด้านซัพพลายเชน 2) การปรับปรุงเทคโนโลยีซัพพลายเชนให้ร่วมสมัย
3) การขจัดการขาดความเชื่อโยงระหว่างหน่วยงาน 4) การร่วมมือกับผู้จาหน่ายวัตถุดิบ และลูกค้า และ 5) การ
ปรับปรุงกระบวนการของโครงการ และการจัดการการเปลี่ยนแปลง มีอิทธิพลต่อการรักษาฐานลูกค้าเดิม ต้นทุน
การดาเนินงาน และยอดขายที่ระดับนัยสาคัญ 0.05
คาสาคัญ : การจัดการซัพพลายเชน กลยุทธ์ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ของไทย
ABSTRACT
This research aims at studying the supply chain strategies management a case study of Thailand
electronics industry by emphasizing the impacts of supply chain strategies management on the effectiveness
regarding sales volume, operating cost and defect ratio. The samples of the research were gathered from 268
electronics export companies. The multiple regression (enter method) was used as a measurement tool to
analyze research hypotheses.
The results indicate that the 5 steps of supply chain strategies management, including 1) selecting the
right leaders and developing supply chain talent; 2) updating supply chain technologies and trends;
3) eliminating crippling cross-functional disconnects; 4) collaborating with suppliers and customers; and
5) implementing a disciplined process of project and changing management, significantly influence the
organization effectiveness with respect to sales volume, operating cost and defect ratio at 0.05 level.
KEYWORDS: Supply chain management, Strategy, Thailand electronics industry
1. ความสาคัญและความเป็นมาของปัญหา
การจัดการซัพพลายเชน เป็นแนวคิดที่มุ่งสร้างเครือข่ายทางธุรกิจของผู้ประกอบการให้มีการพัฒนา
แนวคิด กลยุทธ์ และวิธีการดาเนินกิจกรรมทางธุรกิจร่วมกันระหว่าง ผู้ผลิต ผู้ส่งมอบวัตถุดิบ ผู้ขนส่งหรือกระจาย
สินค้า และผู้ขาบ เป็นต้น เพื่อก่อให้เกิดนวัตกรรมของสินค้า บริการ ตลอดจนกระบวนการดาเนินงาน จนนาไปสู่
การสร้างคุณค่าให้กับองค์กรที่อยู่ในซัพพลายเชนเดียวกัน ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในเรื่องของต้นทุน
ยอดขายที่เพิ่มขึ้น ตลอดจนการลดความผิดพลาดในการทางานของกระบวนการทางานตั้งแต่ต้นน้าจนถึงปลายน้า
ณ ปัจจุบัน ประเทศไทยและกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ได้สร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจร่วมกันภายใต้
ข้อตกลงประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) (กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ,
2553) ซึ่งสนับสนุนการเคลื่อนย้ายกาลังการผลิต สินค้า การลงทุน ทรัพยากรวัตถุดิบ และแรงงานระหว่างประเทศ
สมาชิกในรูปแบบเสรีเพื่อมุ่งหวังในการสร้างความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคที่ทัดเทียมกลุ่มประเทศ
พัฒนาแล้ว แต่ทั้งนี้ AEC ยังสร้างความกังวลต่อผู้ประกอบการในการที่จะต้องแข่งขันกับคู่แข่งจากประเทศ
สมาชิกที่มีศักยภาพ และนวัตกรรมโดยไม่มีข้อกีดกันทางการค้า ผู้ประกอบการจึงต้องเร่งพัฒนาศักยภาพของตน
ให้มีประสิทธิภาพและมีความได้เปรียบทางการแข่งขัน การจัดการซัพพลายเชน จึงเป็นกลยุทธ์สาคัญที่จะสร้าง
ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล และยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ของ
ประเทศไทยอย่างยั่งยืน
2. กรอบแนวความคิดและทฤษฎี
ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน
1. การคัดเลือกผู้นาที่เหมาะสม และการพัฒนา
ความสามารถด้านซัพพลายเชน
2. การปรับปรุงเทคโนโลยีซัพพลายเชนให้ร่วมสมัย
3. การขจัดการขาดความเชื่อโยงระหว่างหน่วยงาน
4. การร่วมมือกับผู้จาหน่ายวัตถุดิบ และลูกค้า
5. การปรับปรุงกระบวนการของโครงการ และการ
จัดการ การเปลี่ยนแปลง
ประสิทธิผล
1. ยอดขาย
2. ต้นทุนการดาเนินงาน
3. อัตราส่วนความผิดพลาดของการ
ทางาน
Slone, Dittmann & Mentzer (2010) ได้นาเสนอการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชนที่นาไปสู่ความสาเร็จได้
องค์กรหรือผู้ประกอบการจะต้องมีการวางรากฐานของการจัดการซัพพลายเชนที่ถูกต้องและเหมาะสม ตาม
องค์ประกอบทั้ง 5 ดังนี้
องค์ประกอบที่ 1 การคัดเลือกผู้นาที่เหมาะสม และการพัฒนาความสามารถด้านซัพพลายเชน เป็นขั้น
แรกของการพัฒนา และปรับปรุงการจัดการซัพพลายเชนให้มีประสิทธิภาพ และก่อให้เกิดประสิทธิผล โดย
องค์กรจะต้องมีการคัดเลือกผู้นาด้าน ซัพพลายเชนที่จะเข้ามาบริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะต้องมองถึงเรื่อง
ต่างๆ เช่น ทักษะ ความรู้ การศึกษา ประสบการณ์ที่สาคัญที่อยู่ในขอบข่ายของการจัดการซัพพลายเชน Slone,
Dittmann & Mentzer (2010) ยังได้กล่าวว่า องค์กรที่มีอานาจ และอิทธิพลต่อตลาดมากมาย เคยล้มเหลวในการ
จัดการด้านซัพพลายเชน เพราะขาดบุคลากรผู้นาที่มีศักยภาพ
องค์ประกอบที่ 2 การปรับปรุงเทคโนโลยีซัพพลายเชนให้ร่วมสมัย มีความสาคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากการ
เชื่อมโยงเครือข่ายของซัพพลายเชนขององค์กรจาเป็นที่จะต้องมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสนับสนุน
การสื่อสาร และครอบคลุมการทางานทั่วทั้งองค์กร โดยต้องสามารถเชื่อมโยงกับคู่ค้า ผู้จาหน่ายวัตถุดิบ และลูกค้า
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
องค์ประกอบที่ 3 การขจัดการขาดความเชื่อโยงระหว่างหน่วยงาน การจัดการซัพพลายเชนนั้น คือการ
จัดการที่เกี่ยวข้องกับการข้ามองค์กรไปยังหน่วยงานหรือองค์กรอื่นที่อยู่ในเครือข่ายซัพพลายเชนเดียวกัน ดังนั้น
กิจกรรมต่างๆ จึงเกิดขึ้นในลักษณะกิจกรรมระหว่างองค์กร ซึ่งบางครั้งหากการเชื่อมโยงระหว่างองค์กรมีความ
ผิดพลาดไม่เข้าใจซึ่งกันและกัน จะทาให้เกิดความเสียหายที่ตามมามากมาย เช่น ผู้จาหน่ายวัตถุดิบไม่ทราบความ
ต้องการวัตถุดิบที่ชัดเจนของผู้ผลิต ทาให้ส่งวัตถุดิบจานวนมากไปยังผู้ผลิต ก่อนระยะเวลาที่เหมาะสมส่งผลให้
การรับวัตถุดิบเข้าคลังสินค้าต้องจัดวางในที่ที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการเสียหายของวัตถุดิบได้ หรือ
ผู้ผู้ผลิตปฏิเสธการรับวัตถุดิบดังกล่าวในขณะนั้น ผู้จาหน่วยวัตถุดิบก็จะต้องแบกรับต้นทุนค่าขนส่ง และค่าเก็บ
รักษาวัตถุดิบที่สูงขึ้น (Rushton & Walker, 2007)
องค์ประกอบที่ 4 การร่วมมือกับผู้จาหน่ายวัตถุดิบ และลูกค้า องค์กรจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมี
การบูรณาการด้านการจัดการซัพพลายเชนโดยการสร้างความร่วมมือกับคู่ค้า ผู้จาหน่ายวัตถุดิบ ลูกค้าในเครือข่าย
ของตนเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการให้บริการให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลอย่างยั่งยืน เนื่องจาก
การแข่งขันของธุรกิจในปัจจุบันได้มุ่งเน้นการแข่งขันในระดับเครือข่ายของซัพพลายเชน มากกว่าระดับองค์กรต่อ
องค์กร เพื่อการบูรณาการที่มีประสิทธิภาพของเครือข่ายซัพพลายเชน จะก่อให้เกิดความสามารถทางการแข่งขัน
เชิงได้เปรียบ (Power, Desouza, & Bonifazi, 2006)
องค์ประกอบที่ 5 การปรับปรุงกระบวนการของโครงการ และการจัดการ การเปลี่ยนแปลง ผู้บริหาร
ด้านซัพพลายเชน จะต้องวางกลยุทธ์ในการพัฒนาปรับปรุงรูปแบบของการจัดการซัพพลายเชน และโครงการ
กิจกรรมต่างๆ ขององค์กร ที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกขององค์กร
Slone, Dittmann & Mentzer (2010) ได้นาเสนอว่าการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชนทั้ง 5 องค์ประกอบ
สามารถที่จะสร้างความสาเร็จหรือประสิทธิภาพ และประสิทธิผลให้กับองค์กรได้อย่างยั่งยืน เพราะเป็นการ
บูรณาการเกี่ยวกับการดาเนินกิจกรรมทั้งเครือข่ายซัพพลายเชนเดียวกัน ซึ่งผลที่ได้รับในการทดลองใช้กับธุรกิจ
ต่างๆ ในสหรัฐอเมริกาสามารถสร้างยอดขายที่เพิ่มขึ้นขณะที่ต้นทุนการดาเนินงานลดต่าลงจากความสามารถใน
การดาเนินงานร่วมกันทั้งเครือข่าย และส่งผลให้เกิดการลดความผิดพลาดในการทางานที่เกิดจากการไม่สานงาน
กันระหว่างองค์กรในซัพพลายเชน
3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
เพื่อศึกษาประสิทธิผลการการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชยของกลุ่มอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศ
ไทย
4. วิธีการดาเนินงานวิจัย
ประชากร กลุ่มตัวอย่าง และการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้ผลิตและส่งออกสินค้าประเภทอิเล็กทรอนิกส์ และส่วนประกอบของ
ประเทศไทยจานวน 810 บริษัท (กรมส่งเสริมการส่งออก, 2553) ผู้วิจัยจึงได้กาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้
สูตรของ Taro Yamane (Yamane, 1967) จะทาให้ได้กลุ่มตัวอย่าง จานวน 268 บริษัท และได้ทาการสุ่มแบบอาศัย
ความน่าจะเป็น (Probability sampling) โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบเชิงระบบ (Systematic Sampling) (Zikmund,
2003)
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ผู้วิจัยได้ใช้เครื่องมือ 2 แบบ ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (Semi –structured interview) ด้วยวิธี
Focus Group เพื่อนามาใช้ในการสร้างข้อคาถามของแบบสอบถามต่อไป และ 2) แบบสอบถาม (Questionnaire)
แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 ลักษณะทั่วไปขององค์กร ส่วนที่ 2 การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน
ประกอบด้วย 1) การคัดเลือกผู้นาที่เหมาะสม และการพัฒนาความสามารถด้านซัพพลายเชน 2) การปรับปรุง
เทคโนโลยีซัพพลายเชนให้ร่วมสมัย 3) การขจัดการขาดความเชื่อโยงระหว่างหน่วยงาน 4) การร่วมมือกับผู้
จาหน่ายวัตถุดิบ และลูกค้า และ 5) การปรับปรุงกระบวนการของโครงการ และการจัดการ การเปลี่ยนแปลง
และส่วนที่ 3 ประสิทธิผลของการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ประกอบด้วย ด้านยอดขาย ด้านต้นทุนการ
ดาเนินงาน และด้านอัตราส่วนความผิดพลาดของการทางาน
การพัฒนาเครื่องมือในการวิจัย
ทาการทดสอบหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับวัตถุประสงค์ (Item-Objective
Congruence Index : IOC) จากผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 ท่าน (Saunders, Thornhill & Lewis, 2009) และทาการ
ทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม (Reliability) ด้วยการทดสอบจากกลุ่มตัวอย่างที่ใกล้เคียงกับประชากรที่
ทาการศึกษาจานวน 30 บริษัท พบว่ามีค่า Cronbacth’s Alpha ของส่วนที่ 2 การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน เท่ากับ
0.879
การวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาอิทธิพลของ ตัวแปรอิสระ ได้แก่ การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กับตัวแปรตาม
ได้แก่ ประสิทธิผลของการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน โดยใช้สถิติการวิเคราะห์ถกถอยแบบพหุคูณ(Multi
Regression) แบบ enter method เนื่องจากข้อมูลตัวแปรอิสระและตัวแปรตามเป็นลักษณะข้อมูลเชิงปริมาณ
5. สรุปผลการวิจัย
ตารางที่ 1 การทดสอบความอิทธิพลของตัวแปรอิสระการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชนกับตัวแปรตาม
ประสิทธิผลของการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ด้านยอดขาย
ตัวแปรตาม: ประสิทธิผลของการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ด้านยอดขาย β t p-value
การคัดเลือกผู้นาที่เหมาะสม และการพัฒนาความสามารถด้านซัพพลายเชน .396 4.472 .000*
การปรับปรุงเทคโนโลยีซัพพลายเชนให้ร่วมสมัย .393 4.322 .000*
การขจัดการขาดความเชื่อโยงระหว่างหน่วยงาน .372 3.937 .001*
การร่วมมือกับผู้จาหน่ายวัตถุดิบ และลูกค้า .489 4.637 .000*
การปรับปรุงกระบวนการของโครงการ และการจัดการ .401 4.612 .000*
*P ≤ 0.05
จากตารางที่ 1 พบว่าการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ทั้ง 5 องค์ประกอบ มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของ
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ด้านยอดขาย ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05
ตารางที่ 2 การทดสอบความอิทธิพลของตัวแปรอิสระการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชนกับตัวแปรตาม
ประสิทธิผลของการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ด้านต้นทุนการดาเนินงาน
ตัวแปรตาม: ประสิทธิผลของการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ด้านต้นทุนการ
ดาเนินงาน
β t p-value
การคัดเลือกผู้นาที่เหมาะสม และการพัฒนาความสามารถด้านซัพพลายเชน .371 3.403 .003*
การปรับปรุงเทคโนโลยีซัพพลายเชนให้ร่วมสมัย .403 3.781 .001*
การขจัดการขาดความเชื่อโยงระหว่างหน่วยงาน .507 4.858 .000*
การร่วมมือกับผู้จาหน่ายวัตถุดิบ และลูกค้า .501 4.874 .000*
การปรับปรุงกระบวนการของโครงการ และการจัดการ .526 4.901 .000*
*P ≤ 0.05
จากตารางที่ 2 พบว่าการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ทั้ง 5 องค์ประกอบ มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของ
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ด้านต้นทุนการดาเนินงาน ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05
ตารางที่ 3 การทดสอบความอิทธิพลของตัวแปรอิสระการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชนกับตัวแปรตาม
ประสิทธิผลของการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ด้านอัตราส่วนความผิดพลาดของการทางาน
ตัวแปรตาม: ประสิทธิผลของการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ด้านอัตราส่วน
ความผิดพลาดของการทางาน
β t p-value
การคัดเลือกผู้นาที่เหมาะสม และการพัฒนาความสามารถด้านซัพพลายเชน .659 5.892 .000*
การปรับปรุงเทคโนโลยีซัพพลายเชนให้ร่วมสมัย .640 5.877 .000*
การขจัดการขาดความเชื่อโยงระหว่างหน่วยงาน .671 7.001 .000*
การร่วมมือกับผู้จาหน่ายวัตถุดิบ และลูกค้า .667 6.983 .000*
การปรับปรุงกระบวนการของโครงการ และการจัดการ .683 7.036 .000*
*P ≤ 0.05
จากตารางที่ 3 พบว่าการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ทั้ง 5 องค์ประกอบ มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของ
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ด้านอัตราส่วนความผิดพลาดของการทางาน ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05
6. อภิปรายผล
จากผลการศึกษา พบว่า การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การคัดเลือกผู้นาที่
เหมาะสม และการพัฒนาความสามารถด้านซัพพลายเชน 2) การปรับปรุงเทคโนโลยีซัพพลายเชนให้ร่วมสมัย
3) การขจัดการขาดความเชื่อโยงระหว่างหน่วยงาน 4) การร่วมมือกับผู้จาหน่ายวัตถุดิบ และลูกค้า และ
5) การปรับปรุงกระบวนการของโครงการ และการจัดการ การเปลี่ยนแปลง มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของการ
จัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชนด้านยอดขาย ด้านต้นทุนการดาเนินงาน และด้านอัตราส่วนความผิดพลาดของการ
ทางานที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 พบว่าสอดคล้องกับ Slone, Dittmann & Mentzer (2010) ได้นาเสนอว่าการจัดการ
กลยุทธ์ซัพพลายเชนทั้ง 5 องค์ประกอบ สามารถที่จะสร้างความสาเร็จหรือประสิทธิภาพ และประสิทธิผลให้กับ
องค์กรได้อย่างยั่งยืน เพราะเป็นการบูรณาการเกี่ยวกับการดาเนินกิจกรรมทั้งเครือข่ายซัพพลายเชนเดียวกัน
นอกจากนี้การทดลองของ Slone, Dittmann & Mentzer (2010) กับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นบริษัทในประเทศ
สหรัฐอเมริกา เมื่อมีการนาการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน 5 องค์ประกอบไปปรับปรุงกระบวนการทางาน พบว่า
เมื่อองค์กรมีการพัฒนาตามองค์ประกอบทั้ง 5 สามารถที่สร้างยอดขายให้เกิดขึ้นในอัตราส่วนที่เพิ่มขึ้น ขณะที่
ต้นทุนระยะยาวมีแนวโน้มลดลงซึ่งเกิดจากประสิทธิภาพของการทางานในรูปแบบเครือข่ายภายในซัพพลายเชน
เดียวกัน นอกจากนี้เมื่อเกิดประสิทธิภาพในการทางานร่วมกันยังส่งผลให้เกิดการลดลงของข้อผิดพลาดในการ
ทางาน และของเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิต ประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่เกิดขึ้นสามารถอธิบายได้ดังนี้ การ
คัดเลือกผู้นาที่เหมาะสม และการพัฒนาความสามารถด้านซัพพลายเชน จะเป็นก้าวสาคัญขององค์กรในการ
พัฒนาการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน เพราะการเลือกผู้นาที่มีความรู้ความสามารถอย่างเหมาะสมจะนาไปสู่การ
พัฒนาซัพพลายเชนที่เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม และมีแบบแผน ส่งผลให้เกิดการพัฒนาความสามารถด้าน
ซัพพลายเชนให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ด้านการปรับปรุงเทคโนโลยีซัพพลายเชนให้ร่วมสมัย เป็นการพัฒนาไปสู่
แนวทางในการเชื่อมโยงองค์กรต่างๆ ในซัพพลายเชนเดียวกันให้สามารถดาเนินกิจกรรมได้อย่างสอดประสานซึ่ง
กันและกัน จนนาไปสู่การเชื่อมโยงข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพก่อให้เกิดคุณค่าในการประสานงานร่วมกัน จนเกิด
ประสิทธิผลที่น่าพอใจ ด้านการขจัดการขาดความเชื่อโยงระหว่างหน่วยงาน เป็นขั้นตอนในการที่จะลดข้อกีดกัน
หรืออุปสรรคในการทางานระหว่างแผนกในองค์กร ตลอดจนระหว่างองค์กรต่อองค์กร ซึ่งเป็นการสนับสนุนให้
เกิดการเชื่อมโยงของการสื่อสาร และการทางานร่วมกันที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นทั้งด้านต้นทุนที่คุ้มค่า และการลด
ขั้นตอน ตลอดจนระยะเวลาของการทางาน ด้านการร่วมมือกับผู้จาหน่ายวัตถุดิบ และลูกค้า เป็นการสร้างความ
ร่วมมือระหว่างกันเพื่อนาไปสู่นวัตกรรมที่ลูกค้าต้องการ ด้วยการสนับสนุนจากผู้จาหน่ายวัตถุดิบที่มีความรู้ความ
เข้าใจในวัตถุดิบที่ตนจาหน่ายอย่างลึกซึ้ง สามารถให้คาแนะนาในการพัฒนาวัตถุดิบไปสู่ผลิตภัณฑ์อย่างมีคุณค่า
จนเกิดเป็นนวัตกรรมที่ตรงตามความต้องการของลูกค้าที่เป็นผู้ใช้งานขั้นสุดท้าย และด้านการปรับปรุง
กระบวนการของโครงการ และการจัดการ การเปลี่ยนแปลง เป็นการปรับปรุงเชิงป้ องกันเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ
ในกระบวนการทางาน โดยองค์กรจะวางแผนร่วมกันภายในเครือข่ายซัพพลายเชน และทาการปรับปรุงพัฒนาให้
เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานร่วมกันอย่างมีคุณค่าก่อให้เกิดประสิทธิภาพของ
กระบวนการดาเนินงานอย่างยั่งยืน ซึ่งการดาเนินงานดังกล่าวเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการทางานร่วมกันของ
ซัพพลายเชนทั้งระบบซึ่งได้สร้างคุณค่าที่แท้จริงของการบริหารจัดการในยุคใหม่จนนาไปสู่ประสิทธิผลที่คุ้มค่า
7. ข้อเสนอแนะ
7.1 องค์กรควรทาการวิเคราะห์สถานการณ์ (SWOT Analysis) ขององค์กร และผู้เกี่ยวข้องในซัพพลาย
เชนขององค์กร เพื่อที่จะหาจุดเชื่อมโยงที่จะพัฒนาร่วมกันจนสร้างข้อได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืน
7.2 องค์กรควรนารูปแบบการบริหารสายธารแห่งคุณค่า (Value Chain) มาใช้ในการกาหนดแบ่ง
กิจกรรมขององค์กรตามระบบของการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน เพื่อที่จะวางแผนการทางานของทุก
แผนกให้เกิดการเชื่อมโยง และลดอุปสรรคการทางานร่วมกัน
7.3 องค์กรจะต้องปรับเปลี่ยนวิสัยทัศน์ ไปสู่การพัฒนาร่วมกันกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือการพัฒนา
ร่วมกันขององค์กรในซัพพลายเชน เพื่อที่จะมุ่งก่อให้เกิดการสร้างคุณค่าของข้อได้เปรียบทางการแข่งขันใน
รูปแบบของซัพพลายเชนเพื่อให้เกิดผลประโยชน์อย่างมีคุณค่าร่วมกัน
8. รายการอ้างอิง
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. 2553. “ข้อมูลประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://www.thaifta.com/thaifta/Home (16 มิถุนายน 2553).
กรมส่งเสริมการส่งออก. 2553. “รายชื่อ และจานวนผู้ส่งออกอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย” [ระบบออนไลน์].
แหล่งที่มา http://application.depthai.go.th/Center_Public/thailand_export_directory.
html?category_id=110#result (16 มิถุนายน 2553).
Power, M.J., Desouza, K.C., & Bonifazi, C. 2006. The Outsourcing Handbook How to Implement a
Successful Outsourcing Process. London: Kogan Page.
Rushton, A., & Walker, S. 2007. International Logistics and Supply Chain Outsourcing. London: The
Chartered Institute of Logistics and Transportation.
Saunders, M. K., Thornhill, A., & Lewis, P. 2009. Research Methods for Business Students. New Jersey:
Prentice Hall.
Slone, R.E., Dittmann, J.P., & Mentzer, J.T., 2010. The New Supply Chain Agenda: The 5 Steps That Drive
Real Value. Massachusetts: Harvard Business Press.
Yamane, T. 1967. Statistics, An Introductory Analysis. New York: Harper and Row.
Zikmund, Williams, G. 2003. Business Research Methods. California: Thomson South – Western.

Recomendados

ตำราพิชัยสงครามซุนวู SUNTZU ๑๓ บทไม้ตาย น.อ. จอม รุ่งสว่าง por
ตำราพิชัยสงครามซุนวู SUNTZU  ๑๓ บทไม้ตาย  น.อ. จอม รุ่งสว่างตำราพิชัยสงครามซุนวู SUNTZU  ๑๓ บทไม้ตาย  น.อ. จอม รุ่งสว่าง
ตำราพิชัยสงครามซุนวู SUNTZU ๑๓ บทไม้ตาย น.อ. จอม รุ่งสว่างUtai Sukviwatsirikul
12.1K vistas63 diapositivas
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิธีวิจัยทางธุรกิจ por
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิธีวิจัยทางธุรกิจ1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิธีวิจัยทางธุรกิจ
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิธีวิจัยทางธุรกิจNitinop Tongwassanasong
13.7K vistas36 diapositivas
Supply chain management por
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain managementUtai Sukviwatsirikul
1K vistas24 diapositivas
Cpg alcoholism por
Cpg alcoholismCpg alcoholism
Cpg alcoholismUtai Sukviwatsirikul
5.7K vistas99 diapositivas
แบบเรียนชนิดของคำ por
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำLadawan Munchit
32K vistas21 diapositivas
การควบคุมคุณภาพ por
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพPrakob Chantarakamnerd
134.9K vistas80 diapositivas

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Chapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพ por
Chapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพChapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
Chapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพRonnarit Junsiri
9.9K vistas12 diapositivas
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ por
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพRonnarit Junsiri
13.2K vistas53 diapositivas
Chapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพ por
Chapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพChapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพ
Chapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพRonnarit Junsiri
18.2K vistas17 diapositivas
ห้องสีขาว 1.1 por
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
2.8K vistas21 diapositivas
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่ por
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
9.1K vistas51 diapositivas
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE) por
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)Sasipa YAisong
10.4K vistas5 diapositivas

La actualidad más candente(20)

Chapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพ por Ronnarit Junsiri
Chapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพChapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
Chapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
Ronnarit Junsiri9.9K vistas
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ por Ronnarit Junsiri
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Ronnarit Junsiri13.2K vistas
Chapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพ por Ronnarit Junsiri
Chapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพChapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพ
Chapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพ
Ronnarit Junsiri18.2K vistas
ห้องสีขาว 1.1 por peter dontoom
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
peter dontoom2.8K vistas
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่ por Aj.Mallika Phongphaew
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
Aj.Mallika Phongphaew9.1K vistas
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE) por Sasipa YAisong
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)
Sasipa YAisong10.4K vistas
แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑ por Sam Uijoy
แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑
แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑
Sam Uijoy70.7K vistas
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท por Dr.Krisada [Hua] RMUTT
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
Dr.Krisada [Hua] RMUTT128.7K vistas
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management) por Utai Sukviwatsirikul
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
Utai Sukviwatsirikul3.2K vistas
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ por PariwanButsat
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
PariwanButsat2.4K vistas
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน por Ornkapat Bualom
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Ornkapat Bualom820 vistas
บทที่ 4 การสรรหาและคัดเลือก.compressed por Patteera Somsong
บทที่ 4 การสรรหาและคัดเลือก.compressedบทที่ 4 การสรรหาและคัดเลือก.compressed
บทที่ 4 การสรรหาและคัดเลือก.compressed
Patteera Somsong45.9K vistas
แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ por Hannan Hae
แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้
แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้
Hannan Hae1.8K vistas
Unit5.ppt (read only) por sirinyabh
Unit5.ppt (read only)Unit5.ppt (read only)
Unit5.ppt (read only)
sirinyabh7.5K vistas
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา por jeabjeabloei
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
jeabjeabloei4.5K vistas
การวางแผนกำลังคน Manpower planning por Jirasap Kijakarnsangworn
การวางแผนกำลังคน Manpower planningการวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
A Study of Digital Competency Components of Thai Professional Nurses por ToomTam Nurse
A Study of Digital Competency Components of Thai Professional NursesA Study of Digital Competency Components of Thai Professional Nurses
A Study of Digital Competency Components of Thai Professional Nurses
ToomTam Nurse473 vistas
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022) por Nawanan Theera-Ampornpunt
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)

Similar a การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย

ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร por
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร Punyapon Tepprasit
4.4K vistas6 diapositivas
Plans por
PlansPlans
Plansrukrai
2.5K vistas69 diapositivas
ปัญหาในการจัดการองค์ความรู้ในธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ 3 ของประเทศไทย por
ปัญหาในการจัดการองค์ความรู้ในธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ 3 ของประเทศไทยปัญหาในการจัดการองค์ความรู้ในธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ 3 ของประเทศไทย
ปัญหาในการจัดการองค์ความรู้ในธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ 3 ของประเทศไทยPunyapon Tepprasit
1.1K vistas18 diapositivas
Crm กับบริการสารสนเทศ por
Crm กับบริการสารสนเทศCrm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศNaresuan University Library
1.1K vistas33 diapositivas
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป... por
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...Punyapon Tepprasit
3.2K vistas10 diapositivas
Chapter1 kc por
Chapter1 kcChapter1 kc
Chapter1 kcWanwisate Promwong
452 vistas23 diapositivas

Similar a การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย(20)

ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร por Punyapon Tepprasit
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
Punyapon Tepprasit4.4K vistas
Plans por rukrai
PlansPlans
Plans
rukrai2.5K vistas
ปัญหาในการจัดการองค์ความรู้ในธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ 3 ของประเทศไทย por Punyapon Tepprasit
ปัญหาในการจัดการองค์ความรู้ในธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ 3 ของประเทศไทยปัญหาในการจัดการองค์ความรู้ในธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ 3 ของประเทศไทย
ปัญหาในการจัดการองค์ความรู้ในธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ 3 ของประเทศไทย
Punyapon Tepprasit1.1K vistas
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป... por Punyapon Tepprasit
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...
Punyapon Tepprasit3.2K vistas
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate. por Napin Yeamprayunsawasd
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New) por M.L. Kamalasana
ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
M.L. Kamalasana541 vistas
การบริหารทุนมนุษย์และมุ่งเน้นผลลัพธ์ por DrDanai Thienphut
การบริหารทุนมนุษย์และมุ่งเน้นผลลัพธ์การบริหารทุนมนุษย์และมุ่งเน้นผลลัพธ์
การบริหารทุนมนุษย์และมุ่งเน้นผลลัพธ์
DrDanai Thienphut609 vistas
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม por Setthawut Ruangbun
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
Setthawut Ruangbun336 vistas
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม por Setthawut Ruangbun
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
Setthawut Ruangbun278 vistas
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ por kulachai
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
kulachai2.8K vistas
พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0 por Sudpatapee Wiengsee
พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0
พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0
Sudpatapee Wiengsee158 vistas
Sattakamol mind mapping por Sattakamon
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mapping
Sattakamon217 vistas
Mind mapping por Sattakamon
Mind mappingMind mapping
Mind mapping
Sattakamon592 vistas
Sattakamon mind mapping por Sattakamon
Sattakamon mind mappingSattakamon mind mapping
Sattakamon mind mapping
Sattakamon1K vistas

Más de Punyapon Tepprasit

Food supply chain and Transportation por
Food supply chain and TransportationFood supply chain and Transportation
Food supply chain and TransportationPunyapon Tepprasit
2.8K vistas31 diapositivas
The influence of relationship quality between logistics service provider and ... por
The influence of relationship quality between logistics service provider and ...The influence of relationship quality between logistics service provider and ...
The influence of relationship quality between logistics service provider and ...Punyapon Tepprasit
869 vistas11 diapositivas
Strategic Human Resource Management por
Strategic Human Resource Management Strategic Human Resource Management
Strategic Human Resource Management Punyapon Tepprasit
1.1K vistas14 diapositivas
Mgt 4203 1 sep2013 por
Mgt 4203 1 sep2013Mgt 4203 1 sep2013
Mgt 4203 1 sep2013Punyapon Tepprasit
216 vistas20 diapositivas
ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ... por
ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...
ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...Punyapon Tepprasit
1K vistas9 diapositivas
ประสิทธิผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน por
ประสิทธิผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนประสิทธิผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ประสิทธิผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนPunyapon Tepprasit
228 vistas6 diapositivas

Más de Punyapon Tepprasit(7)

The influence of relationship quality between logistics service provider and ... por Punyapon Tepprasit
The influence of relationship quality between logistics service provider and ...The influence of relationship quality between logistics service provider and ...
The influence of relationship quality between logistics service provider and ...
Punyapon Tepprasit869 vistas
ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ... por Punyapon Tepprasit
ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...
ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...
Punyapon Tepprasit1K vistas
ประสิทธิผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน por Punyapon Tepprasit
ประสิทธิผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนประสิทธิผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ประสิทธิผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
Punyapon Tepprasit228 vistas

การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย

  • 1. การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย SUPPLY CHAIN STRATEGIES MANGAMENT A CASE STUDY OF THAILAND ELECTRONICS INDUSTRY ปุญญภณ เทพประสิทธิ์ อาจารย์ สาขาเทคโนโลยีโลจิสติกส์ และการจัดการระบบขนส่ง บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ E-Mail: punyapon@mvpconsultant.com บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน 5 ขั้นตอนที่นาไปสู่การสร้าง คุณค่าที่แท้จริงให้กับองค์กร และศึกษาประสิทธิผลของการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชนในด้านยอดขาย ต้นทุน การดาเนินงาน และอัตราส่วนความผิดพลาดในการทางาน โดยได้ทาการศึกษาจากผู้ส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ และส่วนประกอบของไทย จานวน 268 ตัวอย่าง และใช้สถิติการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ด้วยวิธี Enter ในการ ทดสอบสมมติฐาน ผลการศึกษาพบว่า การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน 5 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) การคัดเลือกผู้นาที่ เหมาะสม และการพัฒนาความสามารถด้านซัพพลายเชน 2) การปรับปรุงเทคโนโลยีซัพพลายเชนให้ร่วมสมัย 3) การขจัดการขาดความเชื่อโยงระหว่างหน่วยงาน 4) การร่วมมือกับผู้จาหน่ายวัตถุดิบ และลูกค้า และ 5) การ ปรับปรุงกระบวนการของโครงการ และการจัดการการเปลี่ยนแปลง มีอิทธิพลต่อการรักษาฐานลูกค้าเดิม ต้นทุน การดาเนินงาน และยอดขายที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 คาสาคัญ : การจัดการซัพพลายเชน กลยุทธ์ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ของไทย ABSTRACT This research aims at studying the supply chain strategies management a case study of Thailand electronics industry by emphasizing the impacts of supply chain strategies management on the effectiveness regarding sales volume, operating cost and defect ratio. The samples of the research were gathered from 268 electronics export companies. The multiple regression (enter method) was used as a measurement tool to analyze research hypotheses. The results indicate that the 5 steps of supply chain strategies management, including 1) selecting the right leaders and developing supply chain talent; 2) updating supply chain technologies and trends; 3) eliminating crippling cross-functional disconnects; 4) collaborating with suppliers and customers; and
  • 2. 5) implementing a disciplined process of project and changing management, significantly influence the organization effectiveness with respect to sales volume, operating cost and defect ratio at 0.05 level. KEYWORDS: Supply chain management, Strategy, Thailand electronics industry 1. ความสาคัญและความเป็นมาของปัญหา การจัดการซัพพลายเชน เป็นแนวคิดที่มุ่งสร้างเครือข่ายทางธุรกิจของผู้ประกอบการให้มีการพัฒนา แนวคิด กลยุทธ์ และวิธีการดาเนินกิจกรรมทางธุรกิจร่วมกันระหว่าง ผู้ผลิต ผู้ส่งมอบวัตถุดิบ ผู้ขนส่งหรือกระจาย สินค้า และผู้ขาบ เป็นต้น เพื่อก่อให้เกิดนวัตกรรมของสินค้า บริการ ตลอดจนกระบวนการดาเนินงาน จนนาไปสู่ การสร้างคุณค่าให้กับองค์กรที่อยู่ในซัพพลายเชนเดียวกัน ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในเรื่องของต้นทุน ยอดขายที่เพิ่มขึ้น ตลอดจนการลดความผิดพลาดในการทางานของกระบวนการทางานตั้งแต่ต้นน้าจนถึงปลายน้า ณ ปัจจุบัน ประเทศไทยและกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ได้สร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจร่วมกันภายใต้ ข้อตกลงประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) (กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ, 2553) ซึ่งสนับสนุนการเคลื่อนย้ายกาลังการผลิต สินค้า การลงทุน ทรัพยากรวัตถุดิบ และแรงงานระหว่างประเทศ สมาชิกในรูปแบบเสรีเพื่อมุ่งหวังในการสร้างความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคที่ทัดเทียมกลุ่มประเทศ พัฒนาแล้ว แต่ทั้งนี้ AEC ยังสร้างความกังวลต่อผู้ประกอบการในการที่จะต้องแข่งขันกับคู่แข่งจากประเทศ สมาชิกที่มีศักยภาพ และนวัตกรรมโดยไม่มีข้อกีดกันทางการค้า ผู้ประกอบการจึงต้องเร่งพัฒนาศักยภาพของตน ให้มีประสิทธิภาพและมีความได้เปรียบทางการแข่งขัน การจัดการซัพพลายเชน จึงเป็นกลยุทธ์สาคัญที่จะสร้าง ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล และยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ของ ประเทศไทยอย่างยั่งยืน 2. กรอบแนวความคิดและทฤษฎี ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน 1. การคัดเลือกผู้นาที่เหมาะสม และการพัฒนา ความสามารถด้านซัพพลายเชน 2. การปรับปรุงเทคโนโลยีซัพพลายเชนให้ร่วมสมัย 3. การขจัดการขาดความเชื่อโยงระหว่างหน่วยงาน 4. การร่วมมือกับผู้จาหน่ายวัตถุดิบ และลูกค้า 5. การปรับปรุงกระบวนการของโครงการ และการ จัดการ การเปลี่ยนแปลง ประสิทธิผล 1. ยอดขาย 2. ต้นทุนการดาเนินงาน 3. อัตราส่วนความผิดพลาดของการ ทางาน
  • 3. Slone, Dittmann & Mentzer (2010) ได้นาเสนอการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชนที่นาไปสู่ความสาเร็จได้ องค์กรหรือผู้ประกอบการจะต้องมีการวางรากฐานของการจัดการซัพพลายเชนที่ถูกต้องและเหมาะสม ตาม องค์ประกอบทั้ง 5 ดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 การคัดเลือกผู้นาที่เหมาะสม และการพัฒนาความสามารถด้านซัพพลายเชน เป็นขั้น แรกของการพัฒนา และปรับปรุงการจัดการซัพพลายเชนให้มีประสิทธิภาพ และก่อให้เกิดประสิทธิผล โดย องค์กรจะต้องมีการคัดเลือกผู้นาด้าน ซัพพลายเชนที่จะเข้ามาบริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะต้องมองถึงเรื่อง ต่างๆ เช่น ทักษะ ความรู้ การศึกษา ประสบการณ์ที่สาคัญที่อยู่ในขอบข่ายของการจัดการซัพพลายเชน Slone, Dittmann & Mentzer (2010) ยังได้กล่าวว่า องค์กรที่มีอานาจ และอิทธิพลต่อตลาดมากมาย เคยล้มเหลวในการ จัดการด้านซัพพลายเชน เพราะขาดบุคลากรผู้นาที่มีศักยภาพ องค์ประกอบที่ 2 การปรับปรุงเทคโนโลยีซัพพลายเชนให้ร่วมสมัย มีความสาคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากการ เชื่อมโยงเครือข่ายของซัพพลายเชนขององค์กรจาเป็นที่จะต้องมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสนับสนุน การสื่อสาร และครอบคลุมการทางานทั่วทั้งองค์กร โดยต้องสามารถเชื่อมโยงกับคู่ค้า ผู้จาหน่ายวัตถุดิบ และลูกค้า ได้อย่างมีประสิทธิภาพ องค์ประกอบที่ 3 การขจัดการขาดความเชื่อโยงระหว่างหน่วยงาน การจัดการซัพพลายเชนนั้น คือการ จัดการที่เกี่ยวข้องกับการข้ามองค์กรไปยังหน่วยงานหรือองค์กรอื่นที่อยู่ในเครือข่ายซัพพลายเชนเดียวกัน ดังนั้น กิจกรรมต่างๆ จึงเกิดขึ้นในลักษณะกิจกรรมระหว่างองค์กร ซึ่งบางครั้งหากการเชื่อมโยงระหว่างองค์กรมีความ ผิดพลาดไม่เข้าใจซึ่งกันและกัน จะทาให้เกิดความเสียหายที่ตามมามากมาย เช่น ผู้จาหน่ายวัตถุดิบไม่ทราบความ ต้องการวัตถุดิบที่ชัดเจนของผู้ผลิต ทาให้ส่งวัตถุดิบจานวนมากไปยังผู้ผลิต ก่อนระยะเวลาที่เหมาะสมส่งผลให้ การรับวัตถุดิบเข้าคลังสินค้าต้องจัดวางในที่ที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการเสียหายของวัตถุดิบได้ หรือ ผู้ผู้ผลิตปฏิเสธการรับวัตถุดิบดังกล่าวในขณะนั้น ผู้จาหน่วยวัตถุดิบก็จะต้องแบกรับต้นทุนค่าขนส่ง และค่าเก็บ รักษาวัตถุดิบที่สูงขึ้น (Rushton & Walker, 2007) องค์ประกอบที่ 4 การร่วมมือกับผู้จาหน่ายวัตถุดิบ และลูกค้า องค์กรจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมี การบูรณาการด้านการจัดการซัพพลายเชนโดยการสร้างความร่วมมือกับคู่ค้า ผู้จาหน่ายวัตถุดิบ ลูกค้าในเครือข่าย ของตนเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการให้บริการให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลอย่างยั่งยืน เนื่องจาก การแข่งขันของธุรกิจในปัจจุบันได้มุ่งเน้นการแข่งขันในระดับเครือข่ายของซัพพลายเชน มากกว่าระดับองค์กรต่อ องค์กร เพื่อการบูรณาการที่มีประสิทธิภาพของเครือข่ายซัพพลายเชน จะก่อให้เกิดความสามารถทางการแข่งขัน เชิงได้เปรียบ (Power, Desouza, & Bonifazi, 2006) องค์ประกอบที่ 5 การปรับปรุงกระบวนการของโครงการ และการจัดการ การเปลี่ยนแปลง ผู้บริหาร ด้านซัพพลายเชน จะต้องวางกลยุทธ์ในการพัฒนาปรับปรุงรูปแบบของการจัดการซัพพลายเชน และโครงการ กิจกรรมต่างๆ ขององค์กร ที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกขององค์กร Slone, Dittmann & Mentzer (2010) ได้นาเสนอว่าการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชนทั้ง 5 องค์ประกอบ สามารถที่จะสร้างความสาเร็จหรือประสิทธิภาพ และประสิทธิผลให้กับองค์กรได้อย่างยั่งยืน เพราะเป็นการ บูรณาการเกี่ยวกับการดาเนินกิจกรรมทั้งเครือข่ายซัพพลายเชนเดียวกัน ซึ่งผลที่ได้รับในการทดลองใช้กับธุรกิจ ต่างๆ ในสหรัฐอเมริกาสามารถสร้างยอดขายที่เพิ่มขึ้นขณะที่ต้นทุนการดาเนินงานลดต่าลงจากความสามารถใน
  • 4. การดาเนินงานร่วมกันทั้งเครือข่าย และส่งผลให้เกิดการลดความผิดพลาดในการทางานที่เกิดจากการไม่สานงาน กันระหว่างองค์กรในซัพพลายเชน 3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาประสิทธิผลการการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชยของกลุ่มอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศ ไทย 4. วิธีการดาเนินงานวิจัย ประชากร กลุ่มตัวอย่าง และการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้ผลิตและส่งออกสินค้าประเภทอิเล็กทรอนิกส์ และส่วนประกอบของ ประเทศไทยจานวน 810 บริษัท (กรมส่งเสริมการส่งออก, 2553) ผู้วิจัยจึงได้กาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ สูตรของ Taro Yamane (Yamane, 1967) จะทาให้ได้กลุ่มตัวอย่าง จานวน 268 บริษัท และได้ทาการสุ่มแบบอาศัย ความน่าจะเป็น (Probability sampling) โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบเชิงระบบ (Systematic Sampling) (Zikmund, 2003) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้ใช้เครื่องมือ 2 แบบ ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (Semi –structured interview) ด้วยวิธี Focus Group เพื่อนามาใช้ในการสร้างข้อคาถามของแบบสอบถามต่อไป และ 2) แบบสอบถาม (Questionnaire) แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 ลักษณะทั่วไปขององค์กร ส่วนที่ 2 การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ประกอบด้วย 1) การคัดเลือกผู้นาที่เหมาะสม และการพัฒนาความสามารถด้านซัพพลายเชน 2) การปรับปรุง เทคโนโลยีซัพพลายเชนให้ร่วมสมัย 3) การขจัดการขาดความเชื่อโยงระหว่างหน่วยงาน 4) การร่วมมือกับผู้ จาหน่ายวัตถุดิบ และลูกค้า และ 5) การปรับปรุงกระบวนการของโครงการ และการจัดการ การเปลี่ยนแปลง และส่วนที่ 3 ประสิทธิผลของการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ประกอบด้วย ด้านยอดขาย ด้านต้นทุนการ ดาเนินงาน และด้านอัตราส่วนความผิดพลาดของการทางาน การพัฒนาเครื่องมือในการวิจัย ทาการทดสอบหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับวัตถุประสงค์ (Item-Objective Congruence Index : IOC) จากผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 ท่าน (Saunders, Thornhill & Lewis, 2009) และทาการ ทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม (Reliability) ด้วยการทดสอบจากกลุ่มตัวอย่างที่ใกล้เคียงกับประชากรที่ ทาการศึกษาจานวน 30 บริษัท พบว่ามีค่า Cronbacth’s Alpha ของส่วนที่ 2 การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน เท่ากับ 0.879 การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาอิทธิพลของ ตัวแปรอิสระ ได้แก่ การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กับตัวแปรตาม ได้แก่ ประสิทธิผลของการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน โดยใช้สถิติการวิเคราะห์ถกถอยแบบพหุคูณ(Multi Regression) แบบ enter method เนื่องจากข้อมูลตัวแปรอิสระและตัวแปรตามเป็นลักษณะข้อมูลเชิงปริมาณ
  • 5. 5. สรุปผลการวิจัย ตารางที่ 1 การทดสอบความอิทธิพลของตัวแปรอิสระการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชนกับตัวแปรตาม ประสิทธิผลของการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ด้านยอดขาย ตัวแปรตาม: ประสิทธิผลของการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ด้านยอดขาย β t p-value การคัดเลือกผู้นาที่เหมาะสม และการพัฒนาความสามารถด้านซัพพลายเชน .396 4.472 .000* การปรับปรุงเทคโนโลยีซัพพลายเชนให้ร่วมสมัย .393 4.322 .000* การขจัดการขาดความเชื่อโยงระหว่างหน่วยงาน .372 3.937 .001* การร่วมมือกับผู้จาหน่ายวัตถุดิบ และลูกค้า .489 4.637 .000* การปรับปรุงกระบวนการของโครงการ และการจัดการ .401 4.612 .000* *P ≤ 0.05 จากตารางที่ 1 พบว่าการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ทั้ง 5 องค์ประกอบ มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของ การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ด้านยอดขาย ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 ตารางที่ 2 การทดสอบความอิทธิพลของตัวแปรอิสระการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชนกับตัวแปรตาม ประสิทธิผลของการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ด้านต้นทุนการดาเนินงาน ตัวแปรตาม: ประสิทธิผลของการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ด้านต้นทุนการ ดาเนินงาน β t p-value การคัดเลือกผู้นาที่เหมาะสม และการพัฒนาความสามารถด้านซัพพลายเชน .371 3.403 .003* การปรับปรุงเทคโนโลยีซัพพลายเชนให้ร่วมสมัย .403 3.781 .001* การขจัดการขาดความเชื่อโยงระหว่างหน่วยงาน .507 4.858 .000* การร่วมมือกับผู้จาหน่ายวัตถุดิบ และลูกค้า .501 4.874 .000* การปรับปรุงกระบวนการของโครงการ และการจัดการ .526 4.901 .000* *P ≤ 0.05 จากตารางที่ 2 พบว่าการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ทั้ง 5 องค์ประกอบ มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของ การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ด้านต้นทุนการดาเนินงาน ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 ตารางที่ 3 การทดสอบความอิทธิพลของตัวแปรอิสระการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชนกับตัวแปรตาม ประสิทธิผลของการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ด้านอัตราส่วนความผิดพลาดของการทางาน ตัวแปรตาม: ประสิทธิผลของการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ด้านอัตราส่วน ความผิดพลาดของการทางาน β t p-value การคัดเลือกผู้นาที่เหมาะสม และการพัฒนาความสามารถด้านซัพพลายเชน .659 5.892 .000* การปรับปรุงเทคโนโลยีซัพพลายเชนให้ร่วมสมัย .640 5.877 .000* การขจัดการขาดความเชื่อโยงระหว่างหน่วยงาน .671 7.001 .000* การร่วมมือกับผู้จาหน่ายวัตถุดิบ และลูกค้า .667 6.983 .000* การปรับปรุงกระบวนการของโครงการ และการจัดการ .683 7.036 .000* *P ≤ 0.05
  • 6. จากตารางที่ 3 พบว่าการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ทั้ง 5 องค์ประกอบ มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของ การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน ด้านอัตราส่วนความผิดพลาดของการทางาน ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 6. อภิปรายผล จากผลการศึกษา พบว่า การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การคัดเลือกผู้นาที่ เหมาะสม และการพัฒนาความสามารถด้านซัพพลายเชน 2) การปรับปรุงเทคโนโลยีซัพพลายเชนให้ร่วมสมัย 3) การขจัดการขาดความเชื่อโยงระหว่างหน่วยงาน 4) การร่วมมือกับผู้จาหน่ายวัตถุดิบ และลูกค้า และ 5) การปรับปรุงกระบวนการของโครงการ และการจัดการ การเปลี่ยนแปลง มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของการ จัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชนด้านยอดขาย ด้านต้นทุนการดาเนินงาน และด้านอัตราส่วนความผิดพลาดของการ ทางานที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 พบว่าสอดคล้องกับ Slone, Dittmann & Mentzer (2010) ได้นาเสนอว่าการจัดการ กลยุทธ์ซัพพลายเชนทั้ง 5 องค์ประกอบ สามารถที่จะสร้างความสาเร็จหรือประสิทธิภาพ และประสิทธิผลให้กับ องค์กรได้อย่างยั่งยืน เพราะเป็นการบูรณาการเกี่ยวกับการดาเนินกิจกรรมทั้งเครือข่ายซัพพลายเชนเดียวกัน นอกจากนี้การทดลองของ Slone, Dittmann & Mentzer (2010) กับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นบริษัทในประเทศ สหรัฐอเมริกา เมื่อมีการนาการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน 5 องค์ประกอบไปปรับปรุงกระบวนการทางาน พบว่า เมื่อองค์กรมีการพัฒนาตามองค์ประกอบทั้ง 5 สามารถที่สร้างยอดขายให้เกิดขึ้นในอัตราส่วนที่เพิ่มขึ้น ขณะที่ ต้นทุนระยะยาวมีแนวโน้มลดลงซึ่งเกิดจากประสิทธิภาพของการทางานในรูปแบบเครือข่ายภายในซัพพลายเชน เดียวกัน นอกจากนี้เมื่อเกิดประสิทธิภาพในการทางานร่วมกันยังส่งผลให้เกิดการลดลงของข้อผิดพลาดในการ ทางาน และของเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิต ประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่เกิดขึ้นสามารถอธิบายได้ดังนี้ การ คัดเลือกผู้นาที่เหมาะสม และการพัฒนาความสามารถด้านซัพพลายเชน จะเป็นก้าวสาคัญขององค์กรในการ พัฒนาการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน เพราะการเลือกผู้นาที่มีความรู้ความสามารถอย่างเหมาะสมจะนาไปสู่การ พัฒนาซัพพลายเชนที่เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม และมีแบบแผน ส่งผลให้เกิดการพัฒนาความสามารถด้าน ซัพพลายเชนให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ด้านการปรับปรุงเทคโนโลยีซัพพลายเชนให้ร่วมสมัย เป็นการพัฒนาไปสู่ แนวทางในการเชื่อมโยงองค์กรต่างๆ ในซัพพลายเชนเดียวกันให้สามารถดาเนินกิจกรรมได้อย่างสอดประสานซึ่ง กันและกัน จนนาไปสู่การเชื่อมโยงข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพก่อให้เกิดคุณค่าในการประสานงานร่วมกัน จนเกิด ประสิทธิผลที่น่าพอใจ ด้านการขจัดการขาดความเชื่อโยงระหว่างหน่วยงาน เป็นขั้นตอนในการที่จะลดข้อกีดกัน หรืออุปสรรคในการทางานระหว่างแผนกในองค์กร ตลอดจนระหว่างองค์กรต่อองค์กร ซึ่งเป็นการสนับสนุนให้ เกิดการเชื่อมโยงของการสื่อสาร และการทางานร่วมกันที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นทั้งด้านต้นทุนที่คุ้มค่า และการลด ขั้นตอน ตลอดจนระยะเวลาของการทางาน ด้านการร่วมมือกับผู้จาหน่ายวัตถุดิบ และลูกค้า เป็นการสร้างความ ร่วมมือระหว่างกันเพื่อนาไปสู่นวัตกรรมที่ลูกค้าต้องการ ด้วยการสนับสนุนจากผู้จาหน่ายวัตถุดิบที่มีความรู้ความ เข้าใจในวัตถุดิบที่ตนจาหน่ายอย่างลึกซึ้ง สามารถให้คาแนะนาในการพัฒนาวัตถุดิบไปสู่ผลิตภัณฑ์อย่างมีคุณค่า จนเกิดเป็นนวัตกรรมที่ตรงตามความต้องการของลูกค้าที่เป็นผู้ใช้งานขั้นสุดท้าย และด้านการปรับปรุง กระบวนการของโครงการ และการจัดการ การเปลี่ยนแปลง เป็นการปรับปรุงเชิงป้ องกันเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ในกระบวนการทางาน โดยองค์กรจะวางแผนร่วมกันภายในเครือข่ายซัพพลายเชน และทาการปรับปรุงพัฒนาให้ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานร่วมกันอย่างมีคุณค่าก่อให้เกิดประสิทธิภาพของ
  • 7. กระบวนการดาเนินงานอย่างยั่งยืน ซึ่งการดาเนินงานดังกล่าวเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการทางานร่วมกันของ ซัพพลายเชนทั้งระบบซึ่งได้สร้างคุณค่าที่แท้จริงของการบริหารจัดการในยุคใหม่จนนาไปสู่ประสิทธิผลที่คุ้มค่า 7. ข้อเสนอแนะ 7.1 องค์กรควรทาการวิเคราะห์สถานการณ์ (SWOT Analysis) ขององค์กร และผู้เกี่ยวข้องในซัพพลาย เชนขององค์กร เพื่อที่จะหาจุดเชื่อมโยงที่จะพัฒนาร่วมกันจนสร้างข้อได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืน 7.2 องค์กรควรนารูปแบบการบริหารสายธารแห่งคุณค่า (Value Chain) มาใช้ในการกาหนดแบ่ง กิจกรรมขององค์กรตามระบบของการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน เพื่อที่จะวางแผนการทางานของทุก แผนกให้เกิดการเชื่อมโยง และลดอุปสรรคการทางานร่วมกัน 7.3 องค์กรจะต้องปรับเปลี่ยนวิสัยทัศน์ ไปสู่การพัฒนาร่วมกันกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือการพัฒนา ร่วมกันขององค์กรในซัพพลายเชน เพื่อที่จะมุ่งก่อให้เกิดการสร้างคุณค่าของข้อได้เปรียบทางการแข่งขันใน รูปแบบของซัพพลายเชนเพื่อให้เกิดผลประโยชน์อย่างมีคุณค่าร่วมกัน 8. รายการอ้างอิง กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. 2553. “ข้อมูลประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.thaifta.com/thaifta/Home (16 มิถุนายน 2553). กรมส่งเสริมการส่งออก. 2553. “รายชื่อ และจานวนผู้ส่งออกอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://application.depthai.go.th/Center_Public/thailand_export_directory. html?category_id=110#result (16 มิถุนายน 2553). Power, M.J., Desouza, K.C., & Bonifazi, C. 2006. The Outsourcing Handbook How to Implement a Successful Outsourcing Process. London: Kogan Page. Rushton, A., & Walker, S. 2007. International Logistics and Supply Chain Outsourcing. London: The Chartered Institute of Logistics and Transportation. Saunders, M. K., Thornhill, A., & Lewis, P. 2009. Research Methods for Business Students. New Jersey: Prentice Hall. Slone, R.E., Dittmann, J.P., & Mentzer, J.T., 2010. The New Supply Chain Agenda: The 5 Steps That Drive Real Value. Massachusetts: Harvard Business Press. Yamane, T. 1967. Statistics, An Introductory Analysis. New York: Harper and Row. Zikmund, Williams, G. 2003. Business Research Methods. California: Thomson South – Western.