SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 84
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 2
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
• โลกมีสมบัติทางกายภาพในแต่ละชั้นแตกต่างกัน
• ส่งผลให้โลกเกิดการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
• มนุษย์จึงพยายามศึกษาหาสาเหตุการเปลี่ยนแปลง
ของโลก
• ทาให้เกิดทฤษฎีที่สาคัญที่เป็นที่ยอมรับในปัจจุบัน
คือ ทฤษฎีธรณีแปรสัณฐานแผ่นธรณี
(plate tectonic theory)
ทฤษฎีธรณีแปรสัณฐานแผ่นธรณี
• เป็นทฤษฎีที่ใช้อธิบายการเกิด และการเปลี่ยนแปลงของ
ทวีปและมหาสมุทร ซึ่งทฤษฎีนี้มีรากฐานมาจาก
ทฤษฎีทวีปเลื่อน (continental drift theory)
ของเวเกเนอร์ (Dr. Alfred Wagener) และ
ทฤษฎีพื้นสมุทรแผ่ขยาย (sea-floor spreading
theory) ของเฮส (Dr. Harry H. Hess)
การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก
แผ่นเปลือกโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ?
2.1 ทฤษฎีทวีปเลื่อนของเวเกเนอร์
ในปี พ.ศ. 2458 นักอุตุนิยมวิทยา
ชาวเยอรมัน ชื่อ ดร. อัลเฟรด เวเก
เนอร์ ได้ตั้งสมมุติฐานว่าผืนแผ่นดิน
ทั้งหมดบนโลกแต่เดิมเป็นผืนแผ่นดิน
ผืนเดียวกัน เรียกว่า พันเจีย
(Pangaea) ซึ่งเป็นภาษากรีก
แปลว่า แผ่นดินทั้งหมด
พันเจีย (Pangaea)
• เป็นมหาทวีปคลุมพื้นที่จากขั้วโลกเหนือถึงขั้วโลกใต้ ล้อมรอบ
ด้วยมหาสมุทรพันทาลัสซา ซึ่งแบ่งมหาสมุทรออกเป็น 2 ส่วน
ส่วนเหนือเส้นศูนย์สูตร คือ ลอเรเซีย และส่วนใต้เส้นศูนย์สูตร
คือ กอนด์วานา
• ลอเรเซีย ประกอบด้วย ทวีปอเมริกาเหนือ กรีนแลนด์ และทวีป
ยูเรเซีย (ยกเว้นอินเดีย)
• กอนด์วานา ประกอบด้วย ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปแอฟริกา ทวีป
แอนตาร์กติกา ทวีปออสเตรเลีย อนุทวีปอินเดีย และเกาะ
มาดากัสการ์
การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก
ทฤษฎี การแปรสัณฐานแผ่นธรณี
(Theory of Continental Drift)
หรือ Plate Tectonics
โดย Dr. Alfred Wegener
Pangaea
ทฤษฎีทวีปเลื่อน
• นักเรียนคิดว่าแผนที่โลกในอดีตตามความคิดของเว
เกเนอร์ กับแผนที่โลกปัจจุบัน มีความเหมือนหรือ
แตกต่างกันอย่างไร ?
• กิจกรรม 2.1 แผ่นทวีปของโลก
..วีดิทัศน์YouTube - รอบรู้ธรณีไทย 1_12 โลก.flv
• หลักฐานที่แสดงว่าทวีปต่าง ๆ เคยเชื่อมต่อกันมี
อะไรบ้าง?
หลักฐานที่แสดงว่าทวีปต่าง ๆ เคยเชื่อมต่อกัน
1. หลักฐานรูปร่างของขอบทวีปที่สามารถเชื่อมต่อกัน
ได้
2. หลักฐานความคล้ายคลึงกันของกลุ่มหิน และแนว
เทือกเขาที่ต่อกันได้
3. หลักฐานที่เกี่ยวกับหินที่เกิดจากการสะสมตัวของ
ตะกอนจากธารน้าแข็ง
4. หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์
นักเรียนคิดว่าหลักฐานสาคัญที่ทาให้เวเกเนอร์เชื่อว่า
ผืนแผ่นดินทั้งหมดบนโลกแต่เดิมเป็นผืนแผ่นเดียวกัน
คืออะไรบ้าง ?
1.หลักฐานจากรอยต่อของทวีป
ต่อกันได้โดยใช้ขอบ
ทวีปที่ระดับความ
ลึก 2,000 เมตร
จากระดับน้าทะเล
ซึ่งเป็นแนวลาด
ทวีป
รูปร่างทวีปต่างๆสามารถมาต่อกันได้อย่างพอเหมาะ
2. หลักฐานจากความคล้ายคลึงกันของกลุ่มหินและแนวภูเขา
2. หลักฐานจากความคล้ายคลึงกันของกลุ่มหินและแนวภูเขา
กลุ่มหินที่พบในทวีปอเมริกาใต้ ทวีปแอนตาร์กติกา
ทวีปแอฟริกา ทวีปออสเตรเลีย และอนุทวีปอินเดีย เป็นกลุ่มหินที่เกิด
ในช่วง 359 – 146 ล้านปี (ยุคคาร์บอนิเฟอรัสถึงยุคจูแรสซิก) เกิด
อยู่ในสภาพแวดล้อมบนบกที่หนาวเย็น และมีการระเบิดของภูเขาไฟ
เหมือนกัน
• นอกจากนี้แนวเทือกเขายังเป็นหลักฐานที่นามาใช้
อธิบายการเชื่อมต่อของทวีปได้ เช่น แนวเทือกเขา
แอปพาเลเชียน (Appalachain Mountains)
ฝั่งตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือ จะมีอายุเดียวกัน
กับแนวเทือกเขาที่พบบริเวณด้านตะวันออกของ
กรีนแลนด์ ไอร์แลนด์ อังกฤษ และนอร์เวย์
2. หลักฐานจากความคล้ายคลึงกันของกลุ่มหินและแนวภูเขา
2) หลักฐานจากความคล้ายคลึงกันของกลุ่มหิน และแนวภูเขา
เช่น แนวเทือกเขาในทวีปอเมริกาเหนือ จะมีอายุเดียวกันกับแนวเทือกเขา
ทางเกาะอังกฤษ เกาะกรีนแลนด์
3.หลักฐานจากหินที่เกิดจากการสะสมตัวของ
ตะกอนจากธารน้าแข็ง
• แผ่นดินบริเวณที่เคยเป็นส่วนของกอนด์วานาถูกปก
คลุมด้วยแผ่นน้าแข็ง และเมื่อนาหลักฐานเกี่ยวกับ
หินตะกอนที่เกิดจากตัวกลางที่เป็นน้าแข็งที่มีอายุ
เดียวกัน และทิศทางการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็ง
สอดคล้องกันซึ่งสังเกตจากรอยขูดในหินที่พบใน
ทวีปต่าง ๆ
3) หลักฐานจากหินที่เกิดจากการสะสมตัวของตะกอนจากธารน้าแข็ง
พบหลักฐานว่า แผ่นดินบริเวณที่เคยเป็นส่วนของกอนด์วานาถูกปก
คลุมด้วยแผ่นน้าแข็ง และแยกจากกันในเวลาต่อมา ทิศทางการเคลื่อนที่
ของธารน้าแข็ง ที่สังเกตได้จากรอยขูดในหินที่พบในทวีปต่างๆ ที่สอดคล้องกัน
4.หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์
• หลักฐานที่สนับสนุนสมมติฐานการเชื่อมต่อกันของทวีปที่เคย
ต่อกันเป็น กอนด์วานา มาจากการพบซากดึกดาบรรพ์ 4
ประเภท คือ
- มีโซซอรัส (Mesosaurus)
- ลีสโทรซอรัส (Lystrosaurus)
- ไซโนกาทัส (Cynognathus)
- กลอสโซพเทรีส (Glossopteris)
4.หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์ (ต่อ)
มีโซซอรัส
เป็นสัตว์เลื้อยคลานที่อาศัยในน้้าจืด พบเฉพาะบริเวณทวีป
อเมริกาใต้ และแอฟริกาตอนใต้เท่านั้น เนื่องจากเป็นสัตว์น้้าจืด
จึงไม่สามารถที่จะว่ายน้้าข้ามมหาสมุทรได้ ปัจจุบันเชื่อว่า ใน
อดีตมีโซซอรัสอาศัยในพื้นที่ที่เป็นทะเลสาบน้้าจืด ที่ครอบคลุม
พื้นที่ทั้ง 2 ทวีป
ลีสโทรซอรัสและไซโนกาทัส
เป็นสัตว์เลื้อยคลานที่อาศัยอยู่บนบก จะพบ
เฉพาะในบางทวีปที่เคยเป็นแผ่นดินกอนด์วานา
ด้วยเหตุที่สัตว์ดังกล่าวเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่บนบก
จึงไม่สามารถที่จะว่ายน้าข้ามมหาสมุทรได้
กลอสโซพเทรีส
เป็นพืชตระกูลเฟิร์น มีเมล็ด ซึ่ง
ขยายพันธุ์โดยใช้สปอร์อาศัยลมช่วยในการ
ขยายพันธุ์จึงกระจายพันธุ์ได้ในพื้นทีกว้าง
แต่ไม่สามารถกระจายพันธุ์จากทวีปหนึ่งไป
อีกทวีปหนึ่งได้ ถึงแม้ว่า กลอสโซพเทรีสเป็น
พืชที่มีเมล็ด และเมล็ดสามารถลอยตามน้้า
ได้ แต่นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าเมล็ดของ
กลอสโซพเทรีสไม่สามารถอยู่รอดใน
มหาสมุทรได้
2.2 หลักฐานและข้อมูลทางธรณีวิทยา
ที่สนับสนุนการเคลื่อนที่ทวีป
2.2.1 เทือกสันเขาใต้สมุทรและร่องลึกก้นสมุทร
แนวเทือกเขาขนาน
ไปตามรูปร่างของทวีปโดย
ด้านหนึ่งขนานกับชายฝั่ง
ของทวีปอเมริกาและอีก
ด้านหนึ่งขนานกับชายฝั่ง
ของทวีปยุโรปและแอฟริกา
2.2.1 เทือกสันเขาใต้สมุทรและร่องลึกก้นสมุทร(ต่อ)
- ส่วนยอดของเทือกสันเขาใต้สมุทรจะเกิดลักษณะภูมิ
ประเทศแบบหุบเขาทรุด (rift valley)
- มีลักษณะเป็นรอยแยกตลอดความยาวของเทือกเขา รอย
แยกเหล่านี้เป็นศูนย์กลางของการเกิดแผ่นดินไหวและ
ภูเขาไฟระเบิด
- บริเวณประเทศอังกฤษยังคงเป็นเกาะที่อยู่บนไหล่ทวีปที่มี
ส่วนของแผ่นดินใต้พื้นน้าต่อเนื่องกับทวีปยุโรป
2.2.1 เทือกสันเขาใต้สมุทรและร่องลึกก้นสมุทร(ต่อ)
• ร่องลึกก้นสมุทร เกิดเป็นแนวแคบแต่ลึกมาก เช่น ร่องลึกก้นสมุทร
มาเรียนา มีความลึกประมาณ 11 กิโลเมตร
• ร่องลึกก้นสมุทรพบอยู่บริเวณขอบของทวีปบางทวีป เช่น บริเวณ
ด้านตะวันตกของทวีปอเมริกากลางและอเมริกาใต้ หรือเกิดใกล้
กับแนวหมู่เกาะภูเขาไฟรูปโค้ง เช่น หมู่เกาะญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ เกาะ
สุมาตรา
• เทือกสันเขาใต้สมุทร เป็นบริเวณที่เกิดการปะทุของภูเขาไฟ การ
แทรกดันของแมกมาในบริเวณดังกล่าว จะดันให้แผ่นธรณี
มหาสมุทรเคลื่อนที่ออกจากกัน จากส่วนกลางของเทือกสันเขาใต้
สมุทร ในขณะที่บริเวณร่องลึกก้นสมุทรจะเป็นการจมตัวของชั้น
ธรณีภาค ทาให้ธรณีภาคเคลื่อนที่
สันเขาใต้สมุทร หรือ เทือกสันเขา
ใต้สมุทร (oceanic-ridge)
ร่องลึกใต้สมุทรหรือร่องลึก
ก้นสมุทร (trench)
2.2.2 อายุหินบริเวณพื้นมหาสมุทร
• จากการสารวจมหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรแอตแลนติก และ
มหาสมุทรอินเดีย รวมทั้งทะเลใกล้เคียงพบหินบะซอลต์ที่บริเวณหุบเขา
ทรุดหรือรอยแยกบริเวณสันเขาใต้สมุทร
• หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุมากกว่าหินบะซอลต์ที่อยู่ใกล้
หุบเขาทรุด
• นักวิทยาศาสตร์อธิบายว่า เมื่อแผ่นธรนีเกิดรอยแยก จะเกิดการเคลื่อน
ตัวออกจากกันอย่างช้า ๆ ตลอดเวลา ในขณะเดียวกันเนื้อของหินบะ
ซอลต์จากส่วนล่างจะแทรกเสริมขึ้นมาตรงรอยแยกเป็นชั้นใหม่ ทาให้
บริเวณรอยแยกเกินหินบะซอลต์ใหม่เรื่อย ๆ
• ดังนั้นแผ่นธรณีบริเวณเทือกสันเขาใต้สมุทรจึงมีอายุอ่อนที่สุด
แผ่นธรณีใกล้ขอบทวีปจะมีอายุมากกว่า
อายุหินบริเวณพื้นมหาสมุทร
2.2.3 ภาวะแม่เหล็กโลกบรรพกาล
• หมายถึง ร่องรอยสนามแม่เหล็กโลกในอดีต นิยมศึกษาจากหินบะซอลต์ ที่มีแร่
แมกนีไทต์ (Fe3O4) เป็นองค์ประกอบ ในขณะที่ลาวาบะซอลต์ไหลบนผิวโลก
อะตอมของธาตุเหล็กที่อยู่ในแร่แมกนีไทต์ จะถูกเหนี่ยวนาโดยสนามแม่เหล็ก
โลก ทาให้มีการเรียงตัวในทิศทางเดียวกับเส้นแรงแม่เหล็กโลก
• สนามแม่เหล็กในปัจจุบันเป็นสนามแม่เหล็กแบบขั้วปกติ (normal
magnetism) คือ ขั้วเหนือและขั้วใต้ของสนามแม่เหล็กโลกจะอยู่บริเวณ
ใกล้กับขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ทางภูมิศาสตร์คล้ายคลึงกับปัจจุบัน
• ภาวะของสนามแม่เหล็กโลกบรรพกาลในบางช่วงเวลาทางธรณีวิทยาเป็น
สนามแม่เหล็กแบบกลับขั้ว (reverse magnetism) หมายถึง ขั้วเหนือ
ของแม่เหล็กโลกจะอยู่ใกล้ขั้วโลกใต้ และขั้วใต้ของแม่เหล็กโลกจะอยู่ขั้วโลก
เหนือ
แร่แมกนีไทต์ในหินบะซอลต์ถูกเหนี่ยวนาให้
แสดงสมบัติทางแม่เหล็กวางตัวในแนวปกติ ตามทิศ
เหนือ – ใต้ ของสนามแม่เหล็กโลก
การกลับขั้วของสนามแม่เหล็กโลก ทาให้แร่ใน
หินบะซอลต์ที่เกิดในช่วงเวลาดังกล่าวแสดงค่า
สนามแม่เหล็กแบบกลับขั้ว
สนามแม่เหล็กโลกกลับมาปกติอีกครั้ง แร่
ในหินบะซอลต์ที่เกิดขึ้นจึงแสดงค่า
สนามแม่เหล็กโลกแบบขั้วปกติ
2.3 กระบวนการที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
(4/10, 4/16)
กระบวนการที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
- เกิดจากการถ่ายโอนความร้อนภายในโลก ซึ่งมี
เปลือกโลกที่เป็นของแข็งห่อหุ้มไว้ โดยส่วนล่างของ
เทือกสันเขาใต้สมุทร จะมีสารร้อนไหลเวียนขึ้นมา เมื่อ
สารร้อนมีอุณหภูมิลดลงจะมีความหนาแน่นมากขึ้น
และมุดตัวลงสู่ชั้นเนื้อโลกบริเวณร่องลึกก้นสมุทร
เกิดจากการถ่ายโอนความร้อนภายในโลก
กระบวนการที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค
1. การเคลื่อนที่ของหินหนืดในชั้นแมนเทิล
2. การแทรกตัวของหินหนืดตามรอยแยกของแผ่นเปลือกโลก
(ม.4/8)
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีมีลักษณะใดบ้าง?
..วีดิทัศน์YouTube - รอบรู้ธรณีไทย 4_12 กาเนิดสุวรรณภูมิ.flv
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
• เคลื่อนที่ชนกัน
• เคลื่อนที่แยกออกจากกัน
• การเคลื่อนที่ผ่านกัน
แผ่นธรณี (plate)
• มีสถานะเป็นของแข็ง ประกอบด้วยชั้นเปลือกโลก
รวมกันส่วนบนสุดของชั้นเนื้อโลก แผ่นธรณี
แบ่งเป็น 2 แบบ คือ
- แผ่นธรณีทวีป (continental plate)
- แผ่นธรณีมหาสมุทร (oceanic plate)
แผ่นธรณีทวีปจะมีความหนามากกว่าแต่มีความ
หนาแน่นน้อยกว่าแผ่นธรณีมหาสมุทร
แผ่นธรณีบนโลก
2.4 ลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
2.4.1 แผ่นธรณีเคลื่อนที่แยกออกจากกัน (divergent plates)
เนื่องมาจากการดันตัวของสารร้อนในชั้นฐานธรณีภาค ทาให้
แผ่นธรณีโก่งตัวขึ้น ส่วนยอดจะยืดออกและบางลง พร้อมกับเกิดรอย
แตกและทรุดตัวลง กลายเป็นหุบเขาทรุด (rift valley)
ในขณะเดียวกันความดันในชั้นฐานธรณีภาคจะลดลง ทาให้หิน
ในชั้นฐานธรณีภาคหลอมละลายบางส่วนเกิดเป็นแมกมาและแทรก
ตัวขึ้นมา ทาให้แผ่นธรณีเคลื่อนที่แยกออกจากกันซึ่งการเคลื่อนที่
แยกออกจากกัน
แผ่นธรณีทวีปเคลื่อนที่แยกออกจากกัน
เช่น บริเวณทะเลแดง
แผ่นธรณีมหาสมุทรเคลื่อนที่แยกออกจากกัน
เช่น บริเวณเทือกสันเขาใต้มหาสมุทรแอตแลนติก
• การแยกออก
จากกันของ
แผ่นธรณีทวีป
บริเวณทะเล
แดง
การแยกออกจากกันของแผ่นธรณีมหาสมุทร
บริเวณเทือกสันเขาใต้มหาสมุทรแอตแลนติก
2.4.2 แผ่นธรณีที่เคลื่อนที่เข้าหากัน
(convergent plates)
แนวที่แผ่นธรณีชนหรือมุดซ้อนกันเป็นไปได้ 3 แบบ
1) แผ่นธรณีมหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีมหาสมุทร
2) แผ่นธรณีมหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีทวีป
3) แผ่นธรณีทวีปชนกับแผ่นธรณีทวีป
1) แผ่นธรณีมหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีมหาสมุทร
• เมื่อแผ่นธรณีมหาสมุทร 2 แผ่น เคลื่อนที่เข้าหากันอย่างช้า ๆ
แผ่นที่มีอายุมาก มีความหนาแน่นมาก และอุณหภูมิต่ากว่า จะ
มุดตัวลงไปในชั้นเนื้อโลกที่บริเวณแนวมุดตัวทาให้เกิดร่องลึกก้น
สมุทรและทาให้หินบริเวณเนื้อโลกตอนบนของแผ่นที่อยู่ด้านบน
มีจุดหลอมเหลวต่าลง เกิดการหลอมเหลวบางส่วนเกิดเป็นแมก
มา แมกมาดังกล่าวจะเคลื่อนตัวขึ้นสู่ผิวโลก เกิดเป็นหมู่เกาะ
ภูเขาไฟรูปโค้ง (valcanic island arc) ซึ่งขนานไปกับแนว
ร่องลึกก้นสมุทร แนวมุดตัวดังกล่าวจะเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่
แผ่นดินไหวระดับลึก และภูเขาไฟมีพลัง
การชนกันระหว่างแผ่นธรณีมหาสมุทรกับแผ่นธรณีมหาสมุทร
เช่น หมู่เกาะมาริอานาส์ หมู่เกาะอาลูเทียน และหมู่เกาะฟิลิปปินส์
2) แผ่นธรณีมหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีทวีป
4/10-2
แผ่นธรณีมหาสมุทรซึ่งมีความหนาแน่นมากกว่าจะ
มุดลงใต้แผ่นธรณีทวีป ทาให้เกิดรอยคดโค้งเป็นเทือกเขา
บนแผ่นธรณีทวีป เช่น บริเวณชายฝั่งตะวักตกของทวีป
อเมริกาใต้ และชายฝั่งตะวันตกของรัฐโอเรกอน ประเทศ
สหรัฐอเมริกา นอกจากนั้นยังทาให้เกิดร่องลึกก้นสมุทร
ขนานไปกับขอบแผ่นธรณีทวีปและมีภูเขาไฟปะทุในส่วน
ที่เป็นแผ่นดิน เกิดเป็นแนวภูเขาไฟและแผ่นดินไหวรุนแรง
การเคลื่อนที่เข้าหากันระหว่างแผ่นธรณีมหาสมุทรกับแผ่นธรณีทวีป
3) แผ่นธรณีทวีปชนกับแผ่นธรณีทวีป
การที่แผ่นธรณีทวีปชนกับแผ่นธรณีทวีปอีกแผ่น
หนึ่ง แผ่นธรณีทั้งสองมีความหนามาก เมื่อชนกันจึง
ทาให้ส่วนหนึ่งมุดลง อีกส่วนหนึ่งเกยกันอยู่ เกิดเป็น
เทือกเขาสูงแนวยาวอยู่ในแผ่นธรณีทวีป เช่น
เทือกเขาหิมาลัยในทวีปเอเชีย เทือกเขาแอลป์ ใน
ทวีปยุโรป
การเคลื่อนที่เข้าหากันระหว่างแผ่นธรณีทวีปกับแผ่นธรณีทวีป
2.4.3 แผ่นธรณีเคลื่อนที่ผ่านกันหรือแผ่นธรณี
เคลื่อนที่เฉือนกัน (transform plates)
• วงจรการพาความร้อน และ แรงดัน – แรงดึง ที่เกิดบริเวณ
เทือกสันเขาใต้สมุทร – เขตมุดตัว ส่งผลให้แผ่นธรณีไถล
เลื่อนผ่านและเฉือนกัน เกิดเป็นรอยเลื่อนเฉือนระนาบ
ด้านข้าง (transform fault)
• แผ่นธรณีเคลื่อนที่ผ่านกัน พบได้ทั้งในมหาสมุทรและบนทวีป
แผ่นธรณีที่เคลื่อนที่ผ่านกันในมหาสมุทรเกิดบริเวณเทือกสัน
เขาใต้สมุทร โดยที่แผ่นธรณีมหาสมุทรและบางส่วนของ
เทือกเขาใต้มหาสมุทรเลื่อนผ่านกัน
2.4.3 แผ่นธรณีเคลื่อนที่ผ่านกันหรือแผ่นธรณี
เคลื่อนที่เฉือนกัน (transform plates)(ต่อ)
• รอยเลื่อนจะตัดตั้งฉากกับเทือกเขากลางมหาสมุทร และมี
แผ่นดินไหวระดับตื้นเกิดขึ้นในบริเวณรอยต่อที่แผ่นธรณีเคลื่อนที่
ผ่านกัน • ตัวอย่าง
แผ่นธรณีเคลื่อนที่ผ่าน
กันในมหาสมุทร เช่น
บริเวณแนวเทือกเขาใต้
มหาสมุทรแอตแลนติก
และมหาสมุทรแปซิฟิก
• ในกรณีแผ่นธรณีเคลื่อนที่
ผ่านกันบนทวีป เช่น รอย
เลื่อนแซนแอนเดรียส (San
Andreas fault) ในรัฐ
แคลิฟอเนียร์ ประเทศ
สหรัฐอเมริกา เป็นการ
เคลื่อนที่ผ่านกันของแผ่น
ธรณีแปซิฟิกกับแผ่นธรณี
อเมริกาเหนือ
2.4.3 แผ่นธรณีเคลื่อนที่ผ่านกันหรือแผ่นธรณี
เคลื่อนที่เฉือนกัน (transform plates)(ต่อ)
รอยเลื่อนอัลไพน์ ประเทศนิวซีแลนด์ เป็นการเคลื่อนที่ผ่านกัน
ของแผ่นธรณีอินเดีย – ออสเตรเลีย กับ แผ่นธรณีแปซิฟิก
2.5 การเปลี่ยนลักษณะของเปลือกโลก
เปลือกโลกมีการเปลี่ยนลักษณะ อันเนื่องมาจาก
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี ลักษณะการเปลี่ยนที่
สาคัญ และพบเห็นได้ ได้แก่
• ชั้นหินคดโค้ง(fold)
• รอยเลื่อน(fault)
2.5.1ชั้นหินคดโค้ง(fold)
• การโค้งงอของชั้นหิน เป็นการเปลี่ยนลักษณะของชั้นหินที่
มีสมบัติเป็นพลาสติก (เปลี่ยนรูปแล้วไม่คืนตัวกลับสู่
สภาพเดิมเมื่อแรงที่มากระทาหมดไป) รูปแบบของการ
โค้งงอ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท
คือ ชั้นหินคดโค้งรูปประทุน (anticline) และชั้นหิน
คดโค้งรูปประทุนหงาย (syncline)
• โดยชั้นหินคดโค้งรูปประทุน เป็นการโค้งงอของชั้นหินที่มีส่วนโค้งตั้งขึ้นเหมือน
หลังคาเรือ ส่วนชั้นหินคดโค้งรูปประทุนหงายเป็นการโค้งงอของชั้นหินที่มีส่วน
โค้งคว่าลง
• การโค้งงอของชั้นหิน มักเกิดเป็นรูปประทุน และรูป
ประทุนหงายสลับกัน ระนาบสมมติที่แบ่งผ่านส่วนโค้ง
ที่สุดของชั้นหิน เรียกว่า ระนาบแกนชั้นหินคดโค้ง
(axial plane) และระนาบดังกล่าวจะตั้งฉากกับแรง
ที่กระทาต่อหิน ผลของการโค้งงอของชั้นหินดังกล่าว จะ
ทาให้ได้ลักษณะหุบเขาและสันเขาสลับกัน
2.5.1ชั้นหินคดโค้ง(fold) (ต่อ)
2.5.2 รอยเลื่อน (fault)
• รอยเลื่อน คือ ระนาบรอยแตกตัดผ่านหินซึ่งมีการ
เคลื่อนที่ผ่านกัน และหินจะเคลื่อนที่ตามระนาบรอยแตก
นั้น เราสามารถจาแนกรอยเลื่อนออกได้เป็น 3 ประเภท
หลัก ๆ
- รอยเลื่อนปกติ (normal fault)
- รอยเลื่อนย้อน (reverse fault)
- รอยเลื่อนตามแนวระดับ (strike-slip fault)
รอยเลื่อนปกติ (normal fault)
เป็นรอยเลื่อนที่มีการเคลื่อนที่ตามมุมเทของระนาบรอย
เลื่อนโดยที่หินเพดานมีการเคลื่อนที่ลง เปรียบเทียบกับหินพื้นที่
มีการเคลื่อนที่ขึ้น โดยทั่วไประนาบรอยเลื่อนของรอยเลื่อนปกติ
จะมีมุมเทมากกว่า 45 อาศา
รอยเลื่อนย้อน (reverse fault)
เป็นรอยเลื่อนที่มีการเคลื่อนที่ตามมุมเทของระนาบรอยเลื่อน เช่นเดียวกับ
รอยเลื่อนปกติ แต่ทิศทางของการเคลื่อนที่จะกลับกัน กล่าวคือ หิน
เพดานจะเคลื่อนที่ขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับหินพื้น โดยทั่วไประนาบรอย
เลื่อนของรอยเลื่อนย้อน จะมีมุมเทมากกว่า 45 องศา แต่ถ้าค่าของมุม
เท น้อยกว่า 45 องศา จะมีชื่อเรียกเฉพาะว่า รอยเลื่อนย้อนมุมต่า
(trust fault)
รอยเลื่อนตามแนวระดับ (strike-slip fault)
• เป็นรอยเลื่อนที่มีมุมเทของระนาบรอยเลื่อน มีค่า 90
องศา และหินจะเคลื่อนที่ในทิศเดียวกับแนวระดับของ
ระนาบรอยเลื่อน
..วีดิทัศน์YouTube - รอบรู้ธรณีไทย 5_12 เทือกเขา.flv
..วีดิทัศน์YouTube - รอบรู้ธรณีไทย 6_12 กัดเซาะ.flv
สรุป
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
2.1 ทฤษฎีทวีปเลื่อนของเวเกเนอร์
หลักฐานและเหตุผล
1) หลักฐานจากรอยต่อของทวีป
2) หลักฐานจากความคล้ายคลึงกันของกลุ่มหินและแนวภูเขา
3) หลักฐานจากหินที่เกิดจากการสะสมตัวของตะกอนจากธารน้าแข็ง
4) หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์
2.2 หลักฐานและข้อมูลทางธรณีวิทยา ที่สนับสนุน
การเคลื่อนที่ทวีป
1) เทือกสันเขาใต้สมุทร และร่องลึกก้นสมุทร
2) อายุหินบริเวณพื้นมหาสมุทร
3) ภาวะแม่เหล็กโลกบรรพกาล
2.3 กระบวนการที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
- เกิดจากการถ่ายโอนความร้อนภายในโลก
- วงจรการพาความร้อน (convection cell)
2.4 ลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
1) เคลื่อนที่แยกออกจากกัน
2) เคลื่อนที่เข้าหากัน (ชนกัน)
- แผ่นมหาสมุทรชนกับแผ่นมหาสมุทร
- แผ่นมหาสมุทรชนกับแผ่นทวีป
- แผ่นทวีปชนกับแผ่นทวีป
3) การเคลื่อนที่ผ่านกัน
2.5 การเปลี่ยนลักษณะของเปลือกโลก
1) ชั้นหินคดโค้ง(fold)
2) รอยเลื่อน(fault)
- รอยเลื่อนปกติ (normal fault)
- รอยเลื่อนย้อน (reverse fault)
- รอยเลื่อนตามแนวระดับ (strike-slip fault)
THE END

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืช
dnavaroj
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
Sirintip Arunmuang
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
narongsakday
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาวหน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
krupornpana55
 

La actualidad más candente (20)

บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืช
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
Astronomy V
Astronomy VAstronomy V
Astronomy V
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาวหน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 

Destacado

การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
A Bu'mbim Kanittha
 
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISAตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
Chay Kung
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
Chay Kung
 
Plate tectonics
Plate tectonicsPlate tectonics
Plate tectonics
Chay Kung
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
พัน พัน
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02
Chay Kung
 

Destacado (20)

แผ่นธรณีภาค
แผ่นธรณีภาคแผ่นธรณีภาค
แผ่นธรณีภาค
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
 
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
 
แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษาแนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
 
เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...
เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...
เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...
 
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISAตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
 
Astronomy VII
Astronomy VIIAstronomy VII
Astronomy VII
 
Astronomy 05
Astronomy 05Astronomy 05
Astronomy 05
 
เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้
เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้
เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
 
เล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร
เล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรเล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร
เล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร
 
เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 
Plate tectonics
Plate tectonicsPlate tectonics
Plate tectonics
 
Astronomy 04
Astronomy 04Astronomy 04
Astronomy 04
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
 
Astronomy 01
Astronomy 01Astronomy 01
Astronomy 01
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VI
 

Similar a Astronomy 03

วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
LPRU
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
Jira Boonjira
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
Wichai Likitponrak
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
mocxx
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
Kroo Mngschool
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
Wan Ngamwongwan
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
Wan Ngamwongwan
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
Jiraporn
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
Miewz Tmioewr
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
Anana Anana
 
9789740331315
97897403313159789740331315
9789740331315
CUPress
 

Similar a Astronomy 03 (20)

วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาคแบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
 
10 intro-taxonomy
10 intro-taxonomy10 intro-taxonomy
10 intro-taxonomy
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
ไดโนเสาร
ไดโนเสาร ไดโนเสาร
ไดโนเสาร
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
4.ตรวจเอกสาร
4.ตรวจเอกสาร4.ตรวจเอกสาร
4.ตรวจเอกสาร
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
 
นำเสนอโลก
นำเสนอโลกนำเสนอโลก
นำเสนอโลก
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
9789740331315
97897403313159789740331315
9789740331315
 

Astronomy 03