SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 59
Descargar para leer sin conexión
Agricultural
commodities
แนวโน้มอุตสาหกรรมเกษตรปี 2023 มีแนวโน้มเติบโต
ในลักษณะรูปตัว K ซึ่งต่างจากภาวะตลาดในปี 2022
ที่ขยายตัวในทุกอุตสาหกรรม
EIC Industry insight 2023
The information contained in this report has been obtained from sources believed to be reliable. However, neither we nor any of our respective affiliates, employees or representatives make any representation or warranty, express or implied, as
to the accuracy or completeness of any of the information contained in this report, and we and our respective affiliates, employees or representatives expressly disclaim any and all liability relating to or resulting from the use of this report or
such information by the recipient or other persons in whatever manner.
Any opinions presented herein represent our subjective views and our current estimates and judgments based on various assumptions that may be subject to change without notice, and may not prove to be correct.
This report is for the recipient’s information only. It does not represent or constitute any advice, offer, recommendation, or solicitation by us and should not be relied upon as such. We, or any of our associates, may also have an interest in
the companies mentioned here in.
บทสรุปผู้บริหาร หน้า 03
อุตสาหกรรมน้าตาล หน้า 06
EIC Industry insight : Agricultural commodities
อุตสาหกรรมมันส้าปะหลัง หน้า 18
อุตสาหกรรมข้าว หน้า 29
อุตสาหกรรมยางพารา หน้า 38
ประเด็นส้าคัญใน
อุตสาหกรรมเกษตร
ที่ต้องจับตามองและ
นัยต่อผู้ประกอบการ
หน้า 55
อุตสาหกรรมปาล์มน้ามัน หน้า 47
Contents
3
EIC Industry insight : Agricultural commodities
ประเด็นสำคัญที่จะส่งผลต่อทิศทำงอุตสำหกรรมเกษตรในปี 2023 มีดังนี้
• กำรขยำยตัวของเศรษฐกิจโลกที่ Uneven เศรษฐกิจโลกโดยเฉพาะกลุ่ม
ประเทศพัฒนาแล้วที่มีแนวโน้มเติบโตชะลอลง ส่งผลให้ราคาสินค้าเกษตร
ที่อิงกับความต้องการบริโภคในตลาดโลก ทั้งน้าตาลและยางพารามีแนวโน้ม
ปรับตัวลดลง ในทางตรงกันข้าม เศรษฐกิจจีนที่มีแนวโน้มเติบโตเร่งขึ้น
ส่งผลให้ราคามันสาปะหลัง ซึ่งอิงกับความต้องการในจีนเป็นหลัก มีแนวโน้ม
เพิ่มขึ้น
• รำคำน้ำมันที่มีแนวโน้มปรับตัวลดลง ส่งผลให้ราคาของพืชพลังงาน
(น้าตาล ปาล์มน้ามัน) และพืชที่ใช้ทดแทนยางสังเคราะห์ (ยางพารา)
มีแนวโน้มปรับตัวลดลงตามไปด้วย
• กำรผ่อนคลำยมำตรกำรป้องกันกำรแพร่ระบำดของ COVID-19 โดยเฉพำะ
กำรเคลื่อนย้ำยแรงงำนต่ำงด้ำว ส่งผลให้ปริมาณผลผลิตน้ามันปาล์มจาก
ประทศผู้ผลิตหลักอย่างมาเลเซียปรับตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากปัญหาขาดแคลน
แรงงานเก็บผลปาล์มคลี่คลายลง ซึ่งเป็นปัจจัยกดดันให้ราคาน้ามันปาล์ม
ปรับตัวลดลง
• ควำมกังวลด้ำนควำมมั่นคงด้ำนอำหำร โดยเฉพำะนโยบำยควบคุม
กำรส่งออกข้ำวของอินเดีย ส่งผลให้ราคาและปริมาณการส่งออกข้าวไทย
มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น
• ปริมำณน้ำฝนและน้ำในเขื่อนที่เพียงพอต่อกำรเพำะปลูกพืชและรำคำ
สินค้ำเกษตรที่อยู่ในเกณฑ์ดี ส่งผลให้ปริมาณผลผลิตอ้อย มันสาปะหลัง
ข้าว ยางพารา และปาล์มน้ามันปรับตัวเพิ่มขึ้น
Executive
Summary
EIC คาดว่าอุตสาหกรรมเกษตรในปี 2023 มีแนวโน้มเติบโตในลักษณะรูปตัว K ซึ่งต่างจากภาวะตลาดในปี 2022
ที่ขยายตัวในทุกอุตสาหกรรม ทั้งนี้คาดว่าในปี 2023 อุตสาหกรรมน้าตาล มันสาปะหลัง และข้าว
ยังมีแนวโน้มขยายตัวได้ต่อเนื่อง ขณะที่อุตสาหกรรมยางพาราและปาล์มน้ามันมีแนวโน้มกลับมาหดตัว
แนวโน้มภำวะอุตสำหกรรมเกษตรรำยอุตสำหกรรม
• อุตสำหกรรมน้ำตำลมีแนวโน้มขยำยตัวต่อเนื่อง จำกปริมำณผลผลิตน้ำตำลและมูลค่ำตลำด
น้ำตำลที่มีแนวโน้มเติบโต โดยในปี 2023 คาดว่ามูลค่าการส่งออกน้าตาลของไทยและมูลค่าตลาด
น้าตาลในประเทศจะปรับตัวเพิ่มขึ้น 9.2%YOY และ 3.8%YOY ตามลาดับ แต่อย่างไรก็ดี ยังต้อง
จับตาความเสี่ยงจากภาวะเศรษฐกิจโลกและนโยบายควบคุมการส่งออกน้าตาลของอินเดีย
• อุตสำหกรรมมันสำปะหลังมีแนวโน้มขยำยตัวต่อเนื่อง ตำมปริมำณผลผลิตและรำคำมัน
สำปะหลังที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยในปี 2023 คาดว่า มูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์มันสาปะหลัง
จะปรับตัวเพิ่มขึ้น 5.7% แต่อย่างไรก็ดี ยังต้องจับตาความเสี่ยงจากภาวะเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า
นโยบายเกษตรของจีน และการกลับมาระบาดของโรคใบด่าง
• อุตสำหกรรมข้ำวมีแนวโน้มขยำยตัวต่อเนื่อง จำกปริมำณผลผลิตและรำคำข้ำวที่มีแนวโน้ม
ปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยในปี 2023 คาดว่ามูลค่าการส่งออกข้าวจะขยายตัว 25.8%YOY แต่อย่างไรก็ดี
ยังต้องจับตาความเสี่ยงจากนโยบายส่งออกข้าวของอินเดียและต้นทุนการผลิตข้าวของไทยที่สูง
กว่าคู่แข่ง
• อุตสำหกรรมยำงพำรำมีแนวโน้มกลับมำหดตัว จำกรำคำและมูลค่ำกำรส่งออกยำงพำรำที่มี
แนวโน้มปรับตัวลดลง ประกอบกับผลผลิตยำงพำรำมีแนวโน้มเติบโตในระดับต่ำ โดย EIC
คาดว่า ในปี 2023 มูลค่าการส่งออกยางพาราจะปรับตัวลดลง 7.5%YOY อย่างไรก็ดี ยังต้องจับตา
ความเสี่ยงจากภาวะเศรษฐกิจโลก และการแพร่ระบาดของโรคใบร่วงยางพาราชนิดใหม่
• อุตสำหกรรมปำล์มน้ำมันมีแนวโน้มหดตัว ตำมรำคำน้ำมันปำล์มดิบและอุปสงค์น้ำมันปำล์มดิบ
ที่มีแนวโน้มปรับตัวลดลง ประกอบกับผลผลิตปำล์มน้ำมันมีแนวโน้มเติบโตในระดับต่ำ โดย EIC
คาดว่า ราคาน้ามันปาล์มดิบในปี 2023 จะปรับตัวลดลง 25.8%YOY อย่างไรก็ดี ยังคงต้องจับตา
ความเสี่ยงจากนโยบายภาครัฐเกี่ยวกับพลังงานทางเลือกและนโยบายการส่งออกน้ามันปาล์มดิบ
ของอินโดนีเซีย
ปัจจัยลบ ปัจจัยบวก
4
EIC Industry insight : Agricultural commodities
• ควำมไม่แน่นอนของภำวะเศรษฐกิจและนโยบำยด้ำนกำรเกษตรของ
ประเทศคู้ค้ำ/คู่แข่ง ในช่วงที่ผ่านมา ภาวะเศรษฐกิจโลกมีความไม่แน่นอน
สูงขึ้น จากเหตุการณ์ไม่คาดคิดที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนั้น นโยบาย
ด้านการเกษตรของประเทศต่าง ๆ ก็มีความไม่แน่นอนมากขึ้นเช่นกัน
ซึ่งสภาวการณ์ดังกล่าว จะส่งผลให้อุตสาหกรรมเกษตรที่พึ่งพาการส่งออก
ไปยังตลาดโลกเผชิญกับความผันผวนมากขึ้น
• กำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศ (Climate change) จะทาให้
ผู้ประกอบการที่ใช้สินค้าเกษตรเป็นวัตถุดิบ ต้องเผชิญกับผลประกอบการที่มี
ความผันผวนมากขึ้น จากทั้งต้นทุนการผลิตและปริมาณวัตถุดิบที่มีความไม่
แน่นอนสูง
• นโยบำยและมำตรกำรเพื่อส่งเสริมกำรเปลี่ยนผ่ำนเข้ำสู่เศรษฐกิจคำร์บอน
ต่ำ (Low carbon economy) เช่น มาตรการการค้าระหว่างประเทศ
การเก็บภาษีคาร์บอน เป็นต้น จะทาให้ต้นทุนในการดาเนินธุรกิจเกษตร
ปรับตัวเพิ่มขึ้นตามไปด้วย
• ควำมยั่งยืน (Sustainability) เป็นหนึ่งในเทรนด์สาคัญของโลก
ที่จะกระทบต่ออุตสาหกรรมเกษตร โดยในอนาคตผู้บริโภคหรืออุตสาหกรรม
ต่อเนื่องที่ใช้สินค้าเกษตรเป็นวัตถุดิบมีแนวโน้มที่จะเลือกซื้อสินค้าที่มี
กระบวนการผลิตอย่างยั่งยืนเพิ่มขึ้น
ประเด็นสาคัญในอุตสาหกรรมเกษตร
ที่ต้องจับตามอง
• ผู้ประกอบกำรควรมีกำรเตรียมพร้อมเพื่อเผชิญกับควำมไม่แน่นอนสูงของเศรษฐกิจ
และนโยบำยด้ำนต่ำง ๆ ของประเทศคู่ค้ำ/คู่แข่ง เช่น การติดตามเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
ทั่วโลกอย่างใกล้ชิดและสม่าเสมอ โดยเฉพาะเหตุการณ์ในประเทศคู่ค้า มีการกระจายการส่งออก
ไปยังตลาดส่งออกที่หลากหลาย เพื่อหลีกเลี่ยงการพึ่งพาตลาดใดตลาดหนึ่งมากเกินไป และมีการ
จัดทาแผนฉุกเฉินต่อ Scenario ต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น หากเศรษฐกิจโลกเข้าสู่ภาวะ
ถดถอยและรายได้ปรับตัวลดลงมาก บริษัทอาจจะพิจารณาเลื่อนการลงทุนใหม่ ๆ ออกไปก่อนหรือ
มีปรับลดขนาดสต็อกวัตถุดิบลง เป็นต้น
• ผู้ประกอบกำรควรเร่งลงทุนเพื่อคว้ำโอกำสและลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจำกกำรเปลี่ยนแปลง
สภำพภูมิอำกำศและกระแสควำมยั่งยืน เช่น การสนับสนุนให้เกษตรกรซึ่งเป็นผู้เล่นระดับต้นน้า
ในห่วงโซ่อุปทานสามารถลงทุนในแหล่งน้า หรือแม้แต่การสร้างแรงจูงใจให้เกษตรกรปรับเปลี่ยน
กระบวนการผลิตให้เป็นไปตามมาตรฐานในเรื่องความยั่งยืนและมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ รวมถึงการลงทุนในระบบตรวจสอบย้อนกลับของสินค้าเกษตรตลอดห่วงโซ่
อุปทาน เป็นต้น
• ผู้ประกอบกำรควรเร่งปรับกระบวนกำรดำเนินธุรกิจ เพื่อสร้ำงโอกำสและลดผลกระทบที่อำจจะ
เกิดขึ้นจำกมำตรกำรต่ำง ๆ ที่ออกแบบมำเพื่อเปลี่ยนผ่ำนระบบเศรษฐกิจไปสู่เศรษฐกิจคำร์บอนต่ำ
เช่น การยกระดับประสิทธิภาพการผลิตและแปรรูปสินค้าเกษตร ให้มีการใช้พลังงานและ
ทรัพยากรต่อหน่วย เช่น น้า ลดลง การหันมาใช้พลังงานหมุนเวียนในรูปแบบต่าง ๆ เช่น พลังงาน
แสงอาทิตย์ ในกระบวนการผลิตเพิ่มขึ้น เป็นต้น
นัยต่อผู้ประกอบการ
Executive
Summary
แนวโน้มอุตสาหกรรมเกษตรในปี 2023
EIC คาดว่าอุตสาหกรรมเกษตรในปี 2023 มีแนวโน้มเติบโตในลักษณะรูปตัว K ซึ่งต่างจากภาวะตลาดในปี 2022
ที่ขยายตัวในทุกอุตสาหกรรม ทั้งนี้คาดว่าในปี 2023 อุตสาหกรรมน้าตาล มันสาปะหลัง และข้าว
ยังมีแนวโน้มขยายตัวได้ต่อเนื่อง ขณะที่อุตสาหกรรมยางพาราและปาล์มน้ามันมีแนวโน้มกลับมาหดตัว
EIC Industry insight : Agricultural commodities
อุตสาหกรรมน้าตาล
แม้ว่ำรำคำน้ำตำลในตลำดโลกในปี 2023 จะมีทิศทำงปรับตัวลดลง แต่อุตสำหกรรมน้ำตำลของไทยยังมี
แนวโน้มขยำยตัวต่อเนื่อง จำกปริมำณผลผลิตและมูลค่ำตลำดน้ำตำลที่ขยำยตัวดี โดยปริมาณผลผลิต
น้าตาลไทยมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น 15.7% มาอยู่ที่ 11.8 ล้านตัน ตามปริมาณอ้อยเข้าหีบของไทยที่มีแนวโน้ม
เพิ่มขึ้น 15.8%YOY มาอยู่ที่ 106.6 ล้านตัน เนื่องจากเนื้อที่เก็บเกี่ยวและผลผลิตต่อไร่ที่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น
จากปริมาณน้าฝนที่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นอ้อย สาหรับราคาน้าตาลโลกในปี 2023 คาดว่าจะ
ปรับตัวลดลง 3.1%YOY มาอยู่ที่ 18.1 เซนต์ต่อปอนด์ เนื่องจากตลาดน้าตาลโลกมีแนวโน้มกลับมาอยู่ในภาวะ
เกินดุล กอปรกับราคาน้ามันดิบมีแนวโน้มปรับตัวลดลง โดยคาดว่ามูลค่าการส่งออกน้าตาลของไทยในปี 2023
จะอยู่ที่ 3.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ปรับตัวเพิ่มขึ้น 9.2%YOY ในขณะที่มูลค่าตลาดน้าตาลในประเทศมีแนวโน้ม
อยู่ที่ 4.3 หมื่นล้านบาท ขยายตัว 3.8%YOY แต่อย่างไรก็ตาม อุตสาหกรรมยังต้องเผชิญความเสี่ยงจากภาวะ
เศรษฐกิจโลก นโยบายควบคุมการส่งออกน้าตาลของอินเดีย สภาวะภูมิอากาศสุดขั้วและกระแสรักสุขภาพ
ของผู้บริโภค สำหรับในระยะกลำง อุตสำหกรรมน้ำตำลมีแนวโน้มขยำยตัวต่อเนื่อง โดยได้รับปัจจัยหนุน
จำกผลผลิตน้ำตำลของไทยและควำมต้องกำรบริโภคน้ำตำลโลกที่คำดว่ำจะฟื้นตัวอย่ำงต่อเนื่อง
EIC Industry insight : Agricultural commodities
7
EIC Industry insight : Agricultural commodities
อุตสาหกรรมน้าตาลในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องจากปริมาณผลผลิตน้าตาลและมูลค่าตลาดน้าตาลที่มีแนวโน้มเติบโต
ผลผลิตน้ำตำล
หน่วย : ล้านตัน
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของสานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย และกระทรวงพาณิชย์
ภำพรวมภำวะธุรกิจ
• อุตสำหกรรมน้ำตำลในปี 2023 มีแนวโน้ม
ขยำยตัวต่อเนื่อง จากปริมาณผลผลิตน้าตาล
และมูลค่าตลาดน้าตาลที่มีแนวโน้มเติบโต
• ผลผลิตน้ำตำลของไทยมีแนวโน้มขยำยตัว
ตามปริมาณอ้อยเข้าหีบที่คาดว่าจะปรับตัวเพิ่มขึ้น
สอดคล้องกับผลผลิตต่อไร่ที่มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น
• รำคำน้ำตำลโลกมีแนวโน้มปรับตัวลดลง เนื่องจาก
1) ตลาดน้าตาลโลกมีแนวโน้มเผชิญกับภาวะ
เกินดุล และ 2) ราคาน้ามันดิบในปีหน้ามีแนวโน้ม
ปรับตัวลดลง
• มูลค่ำตลำดน้ำตำลมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น
ตามมูลค่าการส่งออกและมูลค่าการค้าในประเทศ
ที่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น
• ในระยะกลำง อุตสำหกรรมน้ำตำลมีแนวโน้ม
ขยำยตัวต่อเนื่อง โดยได้รับปัจจัยหนุนจากผลผลิต
น้าตาลของไทยและความต้องการบริโภคน้าตาล
โลกที่คาดว่าจะฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง
• แต่อย่ำงไรก็ตำม อุตสำหกรรมยังต้องเผชิญ
ควำมเสี่ยงจำกภำวะเศรษฐกิจโลก
กำรเปลี่ยนแปลงภูมิอำกำศ กระแสควำมยั่งยืน
และกระแสรักสุขภำพของผู้บริโภค
มูลค่ำส่งออกน้ำตำล
หน่วย : พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
Key Indicator 2016-21 2021 2022E 2023F 2024F 2025F 2026F
ผลผลิตอ้อย (ล้ำนตัน) 99.1 66.7 92.1 106.6 112.8 118.2 120.7
รำคำน้ำตำลในตลำดโลก (เซนต์ต่อปอนด์) 14.9 17.9 18.6 18.1 17.5 17.2 16.8
รำคำส่งออกน้ำตำลไทย (ดอลลำร์สหรัฐต่อตัน) 374.5 431.0 471.3 455.1 438.0 430.9 420.3
ปริมำณกำรส่งออกน้ำตำล (ล้ำนตัน) 6.8 3.6 7.4 8.4 8.7 9.0 9.1
14.6
8.3 7.6
10.2
11.8 12.4 13.0 13.3
2025/26F
2022/23F
2024/25F
2018/19
2019/20
2020/21
2021/22
2023/24F
+15.7% +3.5%
2.4 2.7 3.1 3.1
1.8 1.5
3.5 3.8 3.8 3.9 3.8
2022E
2018
2016
2021
2017
2019
2023F
2020
2024F
2025F
2026F
+127.1%
+9.2%
-0.3%
Sugar
8
EIC Industry insight : Agricultural commodities
ปริมาณอ้อยเข้าหีบของไทยในปีการผลิต 2022/2023 มีแนวโน้มอยู่ที่ราว 107 ล้านตัน ปรับตัวเพิ่มขึ้น 15.8%YOY เนื่องจาก
1) ผลผลิตต่อไร่มีแนวโน้มดีขึ้นต่อเนื่องจากปริมาณน้าฝนที่เพิ่มขึ้น และ 2) เนื้อที่เก็บเกี่ยวเพิ่มขึ้น
ปริมำณผลผลิตอ้อยและน้ำตำลไทย
หน่วย : ล้านตัน
ปริมำณน้ำฝนสะสม
หน่วย : มม.
ผลผลิตต่อไร่และเนื้อที่เก็บเกี่ยว
หน่วย : ตันต่อไร่
หมายเหตุ : ต.ค. 18 – ก.ย. 19
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของกรมอุตุนิยมวิทยาและสานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย
หน่วย : ล้านไร่
131.0
74.9 66.7
92.1 106.6 112.8 118.2 120.7
14.6 8.3 7.6 10.2 11.8 12.4 13.0 13.3
2025/26F
2024/25F
2018/19* 2019/20 2020/21 2021/22 2022/23F 2023/24F
+15.8% +3.5%
อ้อย น้าตาล
12.0 10.7 9.3 9.4 9.8 10.0 10.2 10.4
10.8
7.1 7.4
9.8 10.9 11.3 11.6 11.6
0
5
10
15
0
20
40
60
2024/25F
2018/19 2019/20 2021/22 2022/23F
2020/21 2025/26F
2023/24F
ผลผลิตต่อไร่ (แกนซ้าย) เนื้อที่เก็บเกี่ยว (แกนขวา)
0
1,000
2,000
Mar
Jun
Jan
Apr
Feb
May
Jul
Aug
Sep
Oct
Nov
Dec
0
500
1,000
1,500
Jun
Apr
Jan
Sep
May
Feb
Mar
Jul
Aug
Oct
Nov
Dec
เหนือ
2021
เฉลี่ย 30 ปี (1981-2010) 2022 2020
ตะวันออกเฉียงเหนือ
กลาง
0
500
1,000
1,500
May
Feb
Jan
Mar
Apr
Jun
Jul
Aug
Sep
Oct
Nov
Dec
0
1,000
2,000
3,000
Oct
Apr
Sep
Nov
Jun
Jan
Mar
Feb
May
Aug
Jul
Dec
ตะวันออก
ปริมาณน้าฝนในปี 2022 ที่เพียงพอต่อการเจริญต่อการเติบโตของต้นอ้อย
จะส่งผลให้ผลผลิตต่อไร่ของการปลูกอ้อยปรับตัวดีขึ้น
เนื้อที่เก็บเกี่ยวมีแนวโน้มขยายตัว เนื่องจากผลตอบแทนจากการปลูกอ้อยปรับตัวดีขึ้น
ส่งผลให้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดและข้าวบางส่วนหันมาปลูกอ้อยเพิ่มขึ้น
Sugar
9
EIC Industry insight : Agricultural commodities
ผลผลิตน้าตาลโลกในปีการผลิต 2022/2023 และในระยะกลาง ยังมีแนวโน้มเติบโตขึ้นต่อเนื่อง ตามผลผลิตอ้อยในประเทศผู้ผลิตหลัก
ที่เพิ่มขึ้น
ปริมำณผลผลิตน้ำตำลโลก
หน่วย : ล้านตัน
ผลผลิตน้ำตำลบรำซิล
หน่วย : ล้านตัน
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลขององค์การน้าตาลระหว่างประเทศ (ISO)
ปริมำณผลผลิตน้ำตำลและกำรส่งออกน้ำตำลโลกปี 2020/2021 รำยประเทศ
หน่วย : ล้านตัน
ผลผลิตน้ำตำลอินเดีย
หน่วย : ล้านตัน
ผลผลิตน้ำตำลบรำซิลในฤดูกำล
หน้ำ (เริ่มเก็บเกี่ยว เม.ย. 2023)
มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น จาก
1) ปริมาณน้าฝนที่มีแนวโน้มปรับตัว
ดีขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ผลผลิตอ้อย
ปรับตัวสูงขึ้น 2) สัดส่วนการนา
อ้อยไปผลิตน้าตาลมีแนวโน้ม
ใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา
ผลผลิตน้ำตำลอินเดียในฤดูกำล
หน้ำ (เริ่มเก็บเกี่ยว ธ.ค. 2022)
มีแนวโน้มปรับตัวลดลงเล็กน้อย
จากปริมาณการนาอ้อยไปผลิตเอทา
นอลที่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น
ตามนโยบายส่งเสริมการใช้เอทานอล
ของอินเดีย
40 39
33 36
2021/22
2019/20 2020/21 2022/23
+10.0%
28 31
36 36
2021/22
2019/20 2020/21 2022/23
-0.3%
174.0 171.0 168.5 174.1 179.6 180.5 181.4 182.4
2025/26F
2018/19 2021/22F
2019/20 2020/21 2022/23F 2024/25F
2023/24F
+3.4% +3.2% +0.5%
ผลผลิต 168
46.3%
18.5% 4.2%
อื่น ๆ
22.9% 8.2%
ไทย
EU
อินเดีย
บราซิล
31.8%
11.2%
อื่น ๆ
47.9% 1.7%
7.4%
ส่งออก
EU
ไทย
อินเดีย
บราซิล
63
Sugar
10
EIC Industry insight : Agricultural commodities
ปริมาณการบริโภคน้าตาลโลกในปี 2023 และในระยะกลาง มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น ตามจานวนประชากรโลกและเศรษฐกิจโลก
ที่มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง
ปริมำณกำรบริโภคน้ำตำลโลก
หน่วย : ล้านตัน
กำรเติบโตของกำรบริโภคน้ำตำลโลกและ GDP โลก
หน่วย : %YOY
จำนวนประชำกรโลก
หน่วย : พันล้านคน
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลขององค์การน้าตาลระหว่างประเทศ (ISO), กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) และสหประชาชาติ (UN)
171.0 170.0 172.8 174.9 176.1 177.4 178.8 180.2
2018/19 2025/26F
2023/24F
2019/20 2020/21 2021/22F 2022/23F 2024/25F
+1.2% +0.7% +0.8%
7.76 7.84 7.91 7.98 8.05 8.12 8.19 8.26
2025F
2019 2023F
2020 2024F
2022F
2021E 2026F
+0.8% +0.9% +0.9%
2.8
5.9
3.0 2.7
-4
-2
0
2
4
6
8
10
2019
-3.3
2022E
2020 2021 2023F 2024F 2025F 2026F
การบริโภคน้าตาลโลก GDP โลก
เศรษฐกิจโลกที่ปรับตัวดีขึ้น ส่งผลให้ผู้บริโภคมีแนวโน้มที่จะใช้จ่ายด้านการบริโภคเพิ่มขึ้นตามไปด้วย
โดยเฉพาะรายจ่ายด้านอาหารและเครื่องดื่ม ซึ่งจาเป็นต้องใช้น้าตาลเป็นส่วนประกอบหลักในการผลิต
ประชากรที่เพิ่มขึ้น จะทาให้การบริโภคน้าตาลเพิ่มขึ้นตามไปด้วย
Sugar
11
EIC Industry insight : Agricultural commodities
ราคาน้าตาลโลกในปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ 18.1 เซนต์ต่อปอนด์ เนื่องจากตลาดน้าตาลโลกมีแนวโน้มกลับมาเผชิญกับ
ภาวะเกินดุลอีกครั้ง
รำคำน้ำตำลทรำยดิบ นิวยอร์ก no.11
หน่วย : เซนต์ต่อปอนด์
สมดุลน้ำตำลในตลำดโลก (ปริมำณผลผลิต – กำรบริโภค)
หน่วย : ล้านตัน
หมายเหตุ : *ต.ค. 18 – ก.ย. 19
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, องค์การน้าตาลระหว่างประเทศ (ISO), World Bank, FAO-OECD (ราคาประมาณการ ณ ก.ย. 2022)
สัดส่วนสต็อกน้ำตำลโลกต่อกำรบริโภค
หน่วย : สัดส่วน
ในปี 2023 ปริมำณ
ผลผลิตน้ำตำลจะสูงกว่ำ
ปริมำณกำรบริโภคอยู่
3.5 ล้ำนตัน ซึ่งภาวะ
เกินดุลดังกล่าวจะกดดัน
ให้ราคาน้าตาลใน
ตลาดโลกปรับตัวลดลง
ในปี 2023 สัดส่วนสต็อก
น้ำตำลโลกต่อกำรบริโภค
จะอยู่ที่ 0.55 โดยสัดส่วน
ที่ยังคงอยู่ในระดับต่า
ดังกล่าว จะช่วยพยุงให้
ราคาน้าตาลปรับตัวลดลง
ไม่มากนัก
12.3
17.9
18.6 18.1 17.5 17.2 16.8
2025F
12.9
2022E
2019
2020
2026F
2021
2023F
2024F
+4.3% -3.1%
-1.8%
3.0
1.0
-4.4
-0.8
3.5 3.2 2.7 2.1
2025/26F
2019/20
2018/19* 2024/25F
2021/22F
2020/21 2023/24F
2022/23F
0.57 0.57 0.56 0.53 0.55 0.56 0.57 0.58
2018/19* 2025/26F
2023/24F
2019/20 2021/22F
2020/21 2022/23F 2024/25F
Sugar
12
EIC Industry insight : Agricultural commodities
ขณะเดียวกัน ราคาน้ามันดิบที่มีแนวโน้มปรับตัวลดลง จะกดดันให้ราคาน้าตาลโลกปรับลดลงตามไปด้วย แต่อย่างไรก็ดี ค่าเงิน Real
ที่มีแนวโน้มแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยจากปีที่ผ่านมาจะมีส่วนช่วยพยุงให้ราคาน้าตาลโลกปรับตัวลดลงไม่มากนัก
รำคำน้ำตำลทรำยดิบและรำคำน้ำมันดิบ Brent
หน่วย : เซนต์ต่อปอนด์
รำคำน้ำตำลทรำยดิบและค่ำเงิน Real บรำซิล (USD/BRL)
หน่วย : เซนต์ต่อปอนด์
สัดส่วนกำรใช้อ้อยเพื่อผลิตน้ำตำลและเอทำนอลในบรำซิล
หน่วย : %
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ UNICA, Goldman Sachs, CEIC และ Bloomberg
หน่วย : Real ต่อดอลลาร์สหรัฐ
หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐ/บาร์เรล
17.9 18.6 18.1
70.3
101.6
89.9
100
10
50
15
20
30
25
0
150
2017
2016
2015
2018
2019
2020
2021
2022E
2023F
-11.5%
ราคาน้าตาลทรายดิบ นิวยอร์ก no.11 (แกนซ้าย)
ราคาน้ามันดิบ Brent (แกนขวา)
35 34 46 45
65 66 54 55
2018/19 (Apr - Mar) 2019/20 2020/21
น้าตาล
2021/22
เอทานอล
17.9 18.6 18.1
5.4 5.1 5.0
15
27
9
12
24
21
30
18
0
2
4
6
8
2022E
2021
2015
2016
2017
2018
2019
2020
2023F
-2.9%
ค่าเงิน Real บราซิล (แกนขวา)
ราคาน้าตาลทรายดิบ นิวยอร์ก no.11 (แกนซ้าย)
ค่าเงิน Real มีความสัมพันธ์กับราคาน้าตาลในตลาดโลก เนื่องจากบราซิล
เป็นผู้ส่งออกน้าตาลรายใหญ่ของโลก โดยหากค่าเงิน Real แข็งค่า รายได้จาก
การส่งออกน้าตาลในรูปของเงิน real จะปรับตัวลดลง ส่งผลให้แรงจูงใจ
ที่จะผลิตน้าตาลของผู้ส่งออกลดลง ซึ่งจะทาให้ปริมาณการส่งออกน้าตาล
ของบราซิลลดลง ผลักดันให้ราคาน้าตาลในตลาดโลกปรับตัวเพิ่มขึ้น
Sugar
13
EIC Industry insight : Agricultural commodities
มูลค่าตลาดน้าตาลในประเทศและมูลค่าการส่งออกน้าตาลในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว 3.8%YOY และ 9.2%YOY ตามลาดับ
มูลค่ำตลำดน้ำตำลในประเทศ
หน่วย : หมื่นล้านบาท
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของสานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย และกระทรวงพาณิชย์
แนวโน้มมูลค่ำตลำดน้ำตำลปี 2023
• มูลค่ำตลำดน้ำตำลในประเทศมีแนวโน้มปรับตัว
เพิ่มขึ้น จากปริมาณการบริโภคในประเทศที่มี
แนวโน้มขยายตัว ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจใน
ประเทศและราคาน้าตาลในประเทศที่ยังทรงตัว
• มูลค่ำกำรส่งออกน้ำตำลมีแนวโน้มปรับตัว
เพิ่มขึ้น ตามปริมาณการส่งออกที่คาดว่าจะ
ปรับตัวเพิ่มขึ้น
• ปริมำณกำรส่งออกน้ำตำลมีแนวโน้มปรับตัว
เพิ่มขึ้น เนื่องจาก 1) ผลผลิตน้าตาลของไทยมี
แนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นและ 2) ความต้องการ
นาเข้าน้าตาลโลกที่ใกล้เคียงกับปริมาณผลผลิต
น้าตาลที่สามารถส่งออกได้
• ในระยะกลำง มูลค่ำตลำดน้ำตำลมีแนวโน้ม
ขยำยตัวต่อเนื่อง โดยได้รับปัจจัยหนุนจาก
ผลผลิตน้าตาลของไทยที่คาดว่าจะขยายตัวอย่าง
ต่อเนื่อง
มูลค่ำกำรส่งออกน้ำตำล
หน่วย : พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
4.9 5.1
4.4 4.1 4.1 4.0 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6
2016 2018
2017 2022E
2019 2020 2023F
2021 2024F 2025F 2026F
+3.5% +3.8% +1.8%
2.4 2.7 3.1 3.1
1.8 1.5
3.5 3.8 3.8 3.9 3.8
2020 2021
2016 2023F 2026F
2017 2018 2019 2022E 2024F 2025F
+127.1%
+9.2%
-0.3%
Sugar
14
EIC Industry insight : Agricultural commodities
การบริโภคน้าตาลในประเทศในปี 2023 มีแนวโน้มอยู่ที่ 2.46 ล้านตัน ปรับตัวเพิ่มขึ้นตามภาวะเศรษฐกิจในประเทศที่มีแนวโน้ม
ทยอยฟื้นตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
รำคำ และปริมำณกำรบริโภคน้ำตำลในประเทศ
หน่วย : บาท/กิโลกรัม
กำรเติบโตของกำรบริโภคน้ำตำลไทยและ GDP ไทย
หน่วย : %YOY
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของสานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย
หน่วย : ล้านตัน
เศรษฐกิจไทยที่ปรับตัวดีขึ้น ส่งผลให้ผู้บริโภคมีแนวโน้มที่จะใช้จ่ายด้านการ
บริโภคเพิ่มขึ้นตามไปด้วย โดยเฉพาะรายจ่ายด้านอาหารและเครื่องดื่ม
ซึ่งจาเป็นต้องใช้น้าตาลเป็นส่วนประกอบหลักในการผลิต
2.60 2.51 2.48 2.31 2.29 2.37 2.46 2.53 2.57 2.62
17.25
18.25
0
5
10
15
20
25
0
1
2
3
4
5
2020
2017 2018 2022E
2019 2023F
2021 2024F 2025F 2026F
+3.5% +3.7%
ราคาน้าตาลทรายขาวธรรมดา (แกนซ้าย)
ปริมาณการบริโภค (แกนขวา)
ราคาน้าตาลทรายขาวบริสุทธิ์ (แกนซ้าย)
2.3 1.6
3.0
3.7
-10
-5
0
5
10
2019
-6.1
2020 2021 2022E 2024F
2023F 2025F 2026F
การบริโภคน้าตาลไทย GDP ไทย
Sugar
15
EIC Industry insight : Agricultural commodities
ปริมาณการส่งออกน้าตาลไทยในปี 2023 มีแนวโน้มอยู่ที่ 8.4 ล้านตัน ปรับตัวเพิ่มขึ้น ตามผลผลิตน้าตาลของไทยที่เพิ่มขึ้น
และความต้องการนาเข้าน้าตาลโลกที่ใกล้เคียงกับปริมาณผลผลิตน้าตาลที่สามารถส่งออกได้
ปริมำณผลผลิตน้ำตำลไทยและปริมำณกำรส่งออกน้ำตำล
หน่วย : ล้านตัน
ควำมต้องกำรนำเข้ำน้ำตำลโลกและปริมำณน้ำตำลโลกที่สำมำรถส่งออกได้
หน่วย : ล้านตัน
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์, องค์การน้าตาลระหว่างประเทศ (ISO), FAO-OECD, และสานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย
9.8
14.7 14.6
7.6
10.2
11.8
12.4
13.0 13.3
6.4
9.3
10.0
5.5
7.4
8.4 8.7 9.0 9.1
2020
10.0
2016
2017
2025F
5.9
2018
2019
8.3
3.6
2021
2022E
2023F
2024F
2026F
+107.6%
+13.5%
ผลผลิต
ส่งออก
57.5
66.1
62.8 61.0 60.5 60.9 61.4 61.9
57.5
66.1
62.8 61.7 62.9 64.4 64.8 65.1
2022F
2024F
2021
2019
2026F
2025F
2020
2023F
ปริมาณน้าตาลที่สามารถส่งออกได้
ความต้องการนาเข้าน้าตาล
ตลำดส่งออกน้ำตำลของไทยปี 2021
หน่วย : %
29.8% 14.7% 10.3% 7.9% 6.4% 31.0%
อินโดนีเซีย อื่นๆ
ไต้หวัน
เกาหลีใต้
เวียดนาม
กัมพูชา
100%
Sugar
16
EIC Industry insight : Agricultural commodities
ราคาส่งออกน้าตาลไทยในปี 2023 มีแนวโน้มอยู่ที่ 455 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน ปรับตัวลดลงตามราคาน้าตาลในตลาดโลก
ที่มีแนวโน้มปรับตัวลดลง ซึ่งเป็นผลจากภาวะเกินดุลในตลาดน้าตาล
รำคำส่งออกน้ำตำลโดยเฉลี่ยของไทยและรำคำน้ำตำลทรำยดิบ นิวยอร์ก no.11
หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน
รำคำน้ำตำลทรำยดิบ นิวยอร์ก no. 11
หน่วย : เซนต์ต่อปอนด์
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์, Bloomberg และบริษัทอ้อยและน้าตาลไทย (อนท.)
หน่วย : เซนต์ต่อปอนด์
382
466
326
431
471 455 438 431 420
18.2
15.8
12.2 12.4 12.9
17.9 18.6 18.1 17.5 17.2 16.8
0
5
10
15
20
25
30
35
40
45
0
50
100
150
200
250
300
350
400
450
500
550
600
2018
2016
2017
2023F
2019
2020
2021
2022E
2024F
2025F
2026F
-3.4%
-2.0%
330
ราคาส่งออกน้าตาลไทย (แกนซ้าย)
ราคาน้าตาลทรายดิบ no. 11 (แกนขวา)
ณ วันที่ 13 ก.ย. 2022 บริษัทอ้อยและน้าตาลไทย (อนท.) ได้มีการขายน้าตาล
ทรายดิบล่วงหน้าของฤดูการผลิต 2022/2023 ออกไปแล้ว 51.05% โดยราคา
เฉลี่ยที่ขายได้อยู่ที่ 18.94 เซนต์ต่อปอนด์ และค่าพรีเมียมอยู่ที่ 1.15 เซนต์ต่อ
ปอนด์ คิดเป็นราคาเฉลี่ย 20.09 เซนต์ต่อปอนด์
18.518.2
19.1
19.7 19.3 18.8 18.3
18.1 18.2
8
10
12
14
16
18
20
22
Dec
Mar
Jun
Jan
Feb
Apr
May
Jul
Nov
Aug
Sep
Oct
2020 2021 2022
Sugar
17
EIC Industry insight : Agricultural commodities
ประเด็นสาคัญที่จะส่งผลต่อภาวะธุรกิจ
การชะลอตัว
ของเศรษฐกิจโลก
นโยบายควบคุมการส่งออก
น้าตาลของอินเดีย
ความแปรปรวน
ของสภาพภูมิอากาศ
กระแสรักสุขภาพ
ของผู้บริโภค
ภาวะเศรษฐกิจโลก จะส่งผลกระทบต่อความ
ต้องการบริโภคน้าตาลโลก โดยหากเศรษฐกิจ
โลกมีแนวโน้มเติบโตในอัตราที่ชะลอลงกว่าที่
คาดการณ์ไว้ ก็จะส่งผลให้ความต้องการบริโภค
น้าตาลโลกเติบโตต่ากว่าที่คาด และส่งผล
ต่อเนื่องให้ราคาน้าตาลโลกปรับตัวลดลง
มากกว่าที่คาด
อินเดียเป็นผู้ส่งออกน้าตาลที่สาคัญของโลก
โดยในทุก ๆ ปีการผลิต รัฐบาลอินเดีย
จะกาหนดโควตาการส่งออกน้าตาล ซึ่งหาก
รัฐบาลอินเดีย มีการกาหนดโควตาการส่งออก
น้าตาลในระดับที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการ
ในตลาดโลก ก็อาจจะทาให้ราคาน้าตาลใน
ตลาดโลกปรับตัวเพิ่มขึ้นได้
ความแปรปรวนของสภาพดินฟ้าอากาศ
และปัญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติ จะส่งผล
กระทบต่อปริมาณผลผลิตอ้อยในประเทศ
เนื่องจากพื้นที่ปลูกอ้อยส่วนใหญ่ของไทยอยู่
นอกเขตชลประทานและอาศัยน้าฝนเป็นหลัก
กระแสรักสุขภาพ (Health conscious)
เป็นหนึ่งในเทรนด์สาคัญของโลก ที่จะกระทบต่อ
อุตสาหกรรมน้าตาล เนื่องจากการบริโภคน้าตาล
ในปริมาณมากจะทาให้เกิดโรคต่าง ๆ ได้ เช่น
โรคเบาหวาน โรคอ้วน เป็นต้น ส่งผลให้ผู้บริโภค
ที่ใส่ใจการรักษาสุขภาพ หันมาบริโภคสินค้า
ที่ปราศจากน้าตาลมากขึ้น ในขณะเดียวกัน
ภาครัฐก็มีการดาเนินนโยบาย เช่น ภาษีน้าตาล
ที่ส่งเสริมให้ประชาชนลดการบริโภคน้าตาลลง
1 2 3 4
Sugar
อุตสาหกรรมมันสาปะหลัง
อุตสำหกรรมมันสำปะหลังมีแนวโน้มขยำยตัวต่อเนื่อง สอดคล้องกับปริมำณผลผลิต ปริมำณกำรส่งออก
และรำคำมันสำปะหลังที่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นตำมควำมต้องกำรนำเข้ำจำกคู่ค้ำสำคัญอย่ำงจีนที่ขยำยตัว
ดี โดยในปี 2023 ปริมาณผลผลิตหัวมันสาปะหลังสดมีแนวโน้มอยู่ที่ 36.1 ล้านตัน ปรับตัวเพิ่มขึ้น 4.1%YOY
จากผลผลิตต่อไร่และพื้นที่เก็บเกี่ยวที่เพิ่มขึ้น สาหรับราคาหัวมันสาปะหลังสด คาดว่าจะอยู่ที่ 2.56 บาทต่อ
กิโลกรัม ปรับตัวเพิ่มขึ้น 1.6%YOY เนื่องจากความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลังของประเทศคู่ค้ายังมี
แนวโน้มขยายตัวและราคาข้าวโพดในจีนมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยในปี 2023 คาดว่า มูลค่าการส่งออก
ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลังของไทยมีแนวโน้มอยู่ที่ 4.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ปรับตัวเพิ่มขึ้น 5.7%YOY สอดคล้อง
กับมูลค่าการส่งออกมันเส้น แป้งมันสาปะหลังดิบและแป้งดัดแปรที่มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง จากปริมาณการ
ส่งออกที่มีแนวโน้มเติบโต โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจาก 1) ส่วนต่างราคาระหว่างข้าวโพดจีนและมันเส้นไทย
ที่ยังมีแนวโน้มอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้จีนมีความต้องการนาเข้ามันเส้นเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบผลิตแอลกอฮอล์
ทดแทนการใช้ข้าวโพดเพิ่มขึ้น และ 2) เศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าที่มีแนวโน้มขยายตัว แต่อย่างไรก็ตาม
อุตสาหกรรมยังต้องเผชิญความเสี่ยงจากความไม่แน่นอนของภาวะเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า การเปลี่ยนแปลง
นโยบายของจีน การกลับมาระบาดของโรคใบด่าง และสภาวะภูมิอากาศสุดขั้ว สำหรับในระยะกลำง
อุตสำหกรรมมันสำปะหลังมีแนวโน้มขยำยตัว โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจำกควำมต้องกำรใช้ผลิตภัณฑ์
จำกมันสำปะหลังของประเทศคู่ค้ำและผลผลิตมันสำปะหลังของไทยที่ยังมีแนวโน้มขยำยตัวอย่ำงต่อเนื่อง
EIC Industry insight : Agricultural commodities
19
EIC Industry insight : Agricultural commodities
ในปี 2023 อุตสาหกรรมมันสาปะหลังมีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง ตามปริมาณผลผลิตและมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์มันสาปะหลังที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์และสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ภำพรวมภำวะธุรกิจ
• ในปี 2023 อุตสำหกรรมมันสำปะหลังมีแนวโน้ม
ขยำยตัวต่อเนื่อง จากปริมาณผลผลิตและมูลค่าการ
ส่งออกผลิตภัณฑ์มันสาปะหลังที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
• ผลผลิตหัวมันสำปะหลังสดมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นไปอยู่
ที่ 36.1 ล้ำนตัน (4.1%YOY) จากผลผลิตต่อไร่และ
พื้นที่เก็บเกี่ยวที่เพิ่มสูงขึ้น
• รำคำหัวมันสำปะหลังสดมีแนวโน้มอยู่ที่ 2.56 บำท/
กิโลกรัม (+1.6%YOY) ปรับตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจาก
ความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลังของประเทศ
คู่ค้ายังมีแนวโน้มขยายตัว และราคาข้าวโพดในจีนมี
แนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น
• มูลค่ำกำรส่งออกมันสำปะหลังมีแนวโน้มอยู่ที่ 4.6
พันล้ำนดอลลำร์สหรัฐ (+5.7%YOY) ปรับตัวเพิ่มขึ้น
ตามการขยายตัวของราคาและปริมาณการส่งออก
• สำหรับในระยะกลำง อุตสำหกรรมมันสำปะหลังมี
แนวโน้มขยำยตัว โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากความ
ต้องการใช้ผลิตภัณฑ์จากมันสาปะหลังของประเทศ
คู่ค้าและผลผลิตมันสาปะหลังของไทยที่ยังมีแนวโน้ม
ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง
ปริมำณผลผลิตหัวมันสำปะหลังสด
หน่วย : ล้านตัน
มูลค่ำกำรส่งออกผลิตภัณฑ์จำกมันสำปะหลัง
หน่วย : พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
Key Indicator 2015-2020 2021 2022E 2023F 2024F 2025F 2026F
ปริมำณกำรส่งออกผลิตภัณฑ์จำกมันสำปะหลัง (ล้ำนตัน) 9.3 10.5 10.9 11.3 11.7 12.1 12.5
รำคำหัวมันสด (บำท/กิโลกรัม) 1.86 2.07 2.52 2.56 2.53 2.42 2.41
31.2 30.5 29.4 31.1 29.0
35.1 34.7 36.1 36.4 36.6 36.9
2021
2018
2019
2016
2017
2022F
2020
2023F
2024F
2025F
2026F
-1.1%
+4.1% +0.7%
3.1
4.0
4.4 4.6 4.7 4.7 4.8
2017
2024F
2016
2020
2.8
2026F
2025F
2023F
2022E
2021
2018
2.9
2.6 2.7
2019
+10.6%
+5.7% +0.6%
มูลค่าเฉลี่ย 7 ปี ตัดค่าสูงต่าออก
Cassava
20
EIC Industry insight : Agricultural commodities
0
500
1,000
1,500
0
500
1,000
1,500
2,000
0
500
1,000
1,500
ปริมาณผลผลิตหัวมันสาปะหลังสดในปี 2023 มีแนวโน้มอยู่ที่ 36.1 ล้านตัน ปรับตัวเพิ่มขึ้น 4.1%YOY ตามผลผลิตต่อไร่
และเนื้อที่เก็บเกี่ยวที่มีแนวโน้มขยายตัว
ปริมำณผลผลิตหัวมันสำปะหลังสด
หน่วย : ล้านตัน
ปริมำณฝนสะสมเฉลี่ยรำยภำค
หน่วย : มม.
ผลผลิตต่อไร่และเนื้อที่เก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง
หน่วย : ตันต่อไร่
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรและกรมอุตุนิยมวิทยา
หน่วย : ล้านไร่
31.2 30.5 29.4 31.1 29.0
35.1 34.7 36.1 36.4 36.6 36.9
2024F
2016 2017 2018 2021E 2023F
2022F
2019 2020 2025F 2026F
-1.1% +4.1% +0.7%
9.1 8.7 8.3 8.7 8.9 10.4 10.2 10.4 10.4 10.4 10.5
3.4 3.4 3.5 3.5 3.5 3.5
0
1
2
3
4
0
10
20
30
40
2020
2019
2018
2016 2021E
2017 2022F 2023F 2024F 2025F 2026F
+2.1%
ผลผลิตต่อไร่ (แกนซ้าย) พื้นที่เพาะปลูก (แกนขวา)
• ผลผลิตต่อไร่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น
เล็กน้อย จากปริมาณน้าฝนที่ปรับตัวดีขึ้น
• เนื้อที่เก็บเกี่ยวมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น
จากราคามันสาปะหลังที่อยู่ในเกณฑ์ดี
ส่งผลให้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดและข้าว
บางส่วนหันมาปลูกมันสาปะหลังเพิ่มขึ้น
เหนือ (22% ของ
ผลผลิตทั้งประเทศ)
กลาง (22% ของ
ผลผลิตทั้งประเทศ)
ตะวันออกเฉียงเหนือ (56% ของ
ผลผลิตทั้งประเทศ)
Jan
May
Sep
Mar
Feb
Jul
Jun
Apr
Aug
Oct
Nov
Dec
Jul
Mar
Feb
Jan
Apr
Aug
May
Jun
Sep
Oct
Nov
Dec
เฉลี่ย 30 ปี (1981-2010) 2022 2021 2020
Aug
Feb
Jul
Jan
Mar
Apr
Jun
May
Sep
Oct
Nov
Dec
Cassava
21
EIC Industry insight : Agricultural commodities
ราคาหัวมันสาปะหลังสดในปี 2023 มีแนวโน้มอยู่ที่ 2.56 บาท/กิโลกรัม ปรับตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์
มันสาปะหลังของประเทศคู่ค้ายังมีแนวโน้มขยายตัว และราคาข้าวโพดในจีนมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น
รำคำหัวมันสำปะหลังสดไทย
หน่วย : บาท/กิโลกรัม
รำคำหัวมันสำปะหลังสดไทยและรำคำข้ำวโพดในจีน
หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, CEIC และ Trademap
หน่วย : บาท/กิโลกรัม
ปริมำณกำรส่งออกผลิตภัณฑ์จำกมันสำปะหลัง
หน่วย : ล้านตัน
11.3 11.1
8.3
6.6 7.1
10.5 10.9 11.3 11.7 12.1 12.5
2016 2020
2017 2018 2019 2021 2022E 2023F 2024F 2025F 2026F
+3.7%
+3.8%
1.52
2.38
1.89
1.80
2.52 2.56 2.53 2.42 2.41
1
2
3
4
2.07
2016
2021
1.40
2019
2017
2018
2020
2022E
2023F
2024F
2025F
2026F
+21.7%
+1.6% 2.50
0.0
0.5
1.0
1.5
2.0
2.5
3.0
200
250
300
350
400
450
500
550
2017
2015
2020
2018
2019
2021
2016
9M22
ราคาหัวมันสาปะหลังสด (แกนขวา)
ราคาข้าวโพดในจีน (แกนซ้าย)
• รำคำมันสำปะหลังมีควำมสัมพันธ์กับรำคำข้ำวโพดในจีน เนื่องจากข้าวโพดและมัน
สาปะหลังเป็นสินค้าที่สามารถใช้ทดแทนกันได้ในหลายอุตสาหกรรม ดังนั้น ในช่วงที่
ราคาข้าวโพดในจีนปรับตัวเพิ่มขึ้น จะส่งผลให้ราคาหัวมันสาปะหลังสดของไทยเพิ่มขึ้น
ตามไปด้วย
• EIC มองว่ำรำคำข้ำวโพดของจีนในปีหน้ำมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยเป็นผลมาจาก
สต็อกข้าวโพดในจีนที่มีแนวโน้มปรับตัวลดลง
Cassava
22
EIC Industry insight : Agricultural commodities
มูลค่าการส่งออกมันเส้นของไทยในปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น 8.0%YOY โดยเป็นผลมาจากปริมาณและราคาส่งออกที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น
มูลค่ำกำรส่งออกมันเส้นของไทย
หน่วย : พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์
ภำพรวมภำวะมันเส้น
• มูลค่ำกำรส่งออกมันเส้นของไทยในปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น
8.0%YOY โดยเป็นผลมาจากปริมาณและราคาส่งออกที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น
• ปริมำณกำรส่งออกมันเส้นมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น 5.2%YOY
เนื่องจากส่วนต่างราคาระหว่างข้าวโพดจีนและมันเส้นไทยยังมีแนวโน้ม
อยู่ในระดับสูง ส่งผลให้จีนมีความต้องการนาเข้ามันเส้นเพื่อใช้เป็น
วัตถุดิบผลิตแอลกอฮอล์ ทดแทนการใช้ข้าวโพดเพิ่มขึ้น นอกจากนั้น
สต็อกข้าวโพดของรัฐบาลจีนที่อยู่ในระดับต่า และการที่จีนแนะนาให้
โรงงานผลิตอาหารสัตว์ลดการใช้ข้าวโพดและถั่วเหลืองในการผลิต
อาหารไก่และสุกร ยังจะช่วยทาให้จีนมีความต้องการนาเข้ามันเส้น
เพิ่มขึ้นอีกด้วย
• ในระยะกลำง มูลค่ำกำรส่งออกมันเส้นยังมีแนวโน้มขยำยตัว
โดยได้รับปัจจัยบวกจากผลผลิตและความต้องการใช้ที่คาดว่าจะยัง
เติบโตต่อเนื่อง
ประเด็นที่ต้องติดตำม
• นโยบำยกำรเกษตรของจีนที่เกี่ยวข้องกับข้ำวโพด การส่งออกมันเส้น
ของไทยพึ่งพาตลาดจีนเป็นหลัก ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงนโยบายของ
จีนจะส่งผลกระทบต่อความต้องการนาเข้ามันเส้นจากไทย
• กำรกลับมำระบำดของโรคใบด่ำงและสภำพภูมิอำกำศ ที่อาจส่งผล
กระทบต่อปริมาณผลผลิตมันสาปะหลังในประเทศ
ปริมำณและรำคำส่งออกมันเส้น
หน่วย : ล้านตัน หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน
1.11 1.07 0.89
0.52 0.69
1.32 1.45 1.56 1.60 1.59 1.64
2016 2017 2018 2019 2023F
2020 2021 2022E 2024F 2025F 2026F
+9.6% +8.0% +1.2%
6.4
4.0
2.4 3.1
5.3 5.6 5.9 6.2 6.4 6.7
225 249 257 265 261 248 247
0
100
200
300
0
5
10
15
2022E
2021
2020
2016 2017 2018 2023F
2019 2024F 2025F 2026F
6.4
+5.2%
+6.0%
ปริมาณ (แกนซ้าย) ราคาส่งออกโดยเฉลี่ย (แกนขวา)
Cassava
23
EIC Industry insight : Agricultural commodities
ปริมาณการส่งออกมันเส้นยังมีแนวโน้มเติบโตในปี 2023 และในระยะต่อไป เพราะส่วนต่างราคาระหว่างข้าวโพดจีนและมันเส้นไทยยังมี
แนวโน้มอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้จีนมีความต้องการนาเข้ามันเส้นเพื่อใช้ผลิตแอลกอฮอล์ ทดแทนการใช้ข้าวโพดเพิ่มขึ้น
รำคำข้ำวโพดในจีนและรำคำส่งออกมันเส้นของไทย
หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน
สมดุลข้ำวโพดในจีน
หน่วย : ล้านตัน
หมายเหตุ : ต.ค. 2015 – ก.ย. 2016
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ USDA และ CEIC
ปริมำณกำรนำเข้ำข้ำวโพดของจีน
หน่วย : ล้านตัน
0
50
100
150
200
250
300
350
400
450
500
550
600
2016
06/22
03/22
2018
2017
2021
2015
2019
2020
01/22
02/22
04/22
05/22
07/22
08/22
159
119
ราคาข้าวโพดในจีน (แกนซ้าย)
ราคาส่งออกมันเส้นของไทย (แกนซ้าย)
ส่วนต่างราคา (แกนซ้าย)
3 2 3 4 8
30
22
18
2020
2017
2016 2018 2019 2022E
2021 2023F
0
200
300
250
2020/21
291 295
209
274
206
2016/17
2022/23F
2017/18
2015/16*
2021/22F
2018/19
273
2019/20
+1.4%
+0.5%
ผลผลิต บริโภค สต็อก
Cassava
24
EIC Industry insight : Agricultural commodities
ในเดือน มี.ค. 2016 รัฐบำลจีน
ยกเลิกโครงกำรรับจำนำข้ำวโพด
ปริมาณสต็อกข้าวโพดของรัฐบาลจีนที่อยู่ในระดับต่า และการที่รัฐบาลจีนแนะนาให้โรงงานผลิตอาหารสัตว์ลดการใช้ข้าวโพดและถั่ว
เหลืองในการผลิตอาหารไก่และสุกร ยังจะช่วยหนุนให้จีนมีความต้องการนาเข้ามันเส้นจากไทยเพิ่มขึ้น
สต็อกข้ำวโพดของรัฐบำลจีน
หน่วย : ล้านตัน
ปริมำณกำรระบำยสต็อกข้ำวโพดของจีนและปริมำณกำรส่งออกมันเส้นของไทย
หน่วย : ล้านตัน
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ USDA, Reuters, และ Goldman Sachs
4.0
2.4
3.1
5.3 5.6 5.9 6.2 6.4 6.7
0
100
2
4
22
6
2023F
2020
2019 2021 2025F
2017 2022E 2024F
100.0
22.0
2018
6.4
2026F
58.1
57.0
+73.0% +6.0% +5.2% +4.0%
ปริมาณการระบายสต็อกข้าวโพดของรัฐบาลจีน
ปริมาณการส่งออกมันเส้นของไทย
ในเดือน เม.ย. 2021 จีนแนะนำให้โรงงำนผลิตอำหำรสัตว์ในภำคใต้ของจีนลดกำรใช้ข้ำวโพดและถั่วเหลืองในกำรผลิตอำหำรไก่และสุกร
Corn replacement % of corn cut
South 10%-15% sorghum,10%-20% cassava chips, 5%-10% rice bran meal, and 10-15% barley
Cassava
25
EIC Industry insight : Agricultural commodities
มูลค่ำกำรส่งออกแป้งมันสำปะหลังดิบของไทย
หน่วย : พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์
ภำพรวมภำวะแป้งมันสำปะหลังดิบ
• มูลค่ำกำรส่งออกแป้งมันสำปะหลังดิบของไทยในปี 2023 มีแนวโน้ม
ปรับตัวเพิ่มขึ้น 5.0%YOY โดยเป็นผลมาจากทั้งปัจจัยด้านราคาและ
ปริมาณการส่งออกที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น
• ปริมำณกำรส่งออกแป้งมันสำปะหลังมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น
2.4%YOY สอดคล้องกับความต้องการนาเข้าเพื่อใช้ในอุตสาหกรรม
ต่อเนื่องของประเทศคู่ค้ายังที่มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องตามเศรษฐกิจ
ที่มีแนวโน้มเติบโต
• ในระยะกลำง มูลค่าการส่งออกมีแนวโน้มขยายตัว โดยได้รับปัจจัยบวก
จากผลผลิตและความต้องการใช้ที่คาดว่าจะยังขยายตัวต่อเนื่องตาม
การเติบโตของเศรษฐกิจโลก
ประเด็นที่ต้องติดตำม
• กำรกลับมำระบำดของโรคใบด่ำงและสภำพภูมิอำกำศ ที่อาจส่งผล
กระทบต่อปริมาณผลผลิตมันสาปะหลังในประเทศ
ปริมำณและรำคำส่งออกแป้งมันสำปะหลังดิบ
หน่วย : ล้านตัน หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน
มูลค่าการส่งออกแป้งมันสาปะหลังดิบของไทยในปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น 5.0%YOY โดยเป็นผลมาจากทั้งปัจจัยด้านราคา
และปริมาณการส่งออกที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น
1.1 1.0
1.4 1.2 1.2
1.7 1.9 2.0 2.0 2.0 2.0
2018
2016 2017 2019 2020 2021 2022E 2023F 2024F 2025F 2026F
+11.6% +5.0% 0.0%
3.3 2.9 2.8 2.8
3.7 3.8 3.9 4.0 4.1 4.2
438 418
497 510 503 482 480
0
200
400
600
0
2
4
6
8
2016 2022E
2018 2021
2020
2017 2019 2023F 2024F 2025F 2026F
3.1
+3.5% +2.4%
ปริมาณ (แกนซ้าย)
ราคาส่งออกโดยเฉลี่ย (แกนขวา)
Cassava
26
EIC Industry insight : Agricultural commodities
อัตรำกำรเติบโตของ GDP ประเทศคู่ค้ำ
หน่วย : %YOY
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของสมาคมผู้ค้ามันสาปะหลัง และกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF)
อุตสำหกรรมที่ใช้แป้งมันสำปะหลังเป็นวัตถุดิบ
อุตสำหกรรมอำหำรและเครื่องดื่ม: แป้งมันสาปะหลังมีคุณสมบัติพิเศษ คือ
ไม่มีรสชาติ ทาให้เป็นที่นิยมนาไปใช้เป็นส่วนประกอบในอาหารสาเร็จรูป เช่น
อาหารเด็ก บะหมี่ อาหารกระป๋อง เพื่อช่วยให้อาหารเกิดความคงตัว เกิด
ความข้นและเกาะตัวกันดีขึ้น
ปริมาณการส่งออกแป้งมันสาปะหลังดิบในปี 2023 และในระยะต่อไป มีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับปัจจัยหนุนจากความ
ต้องการนาเข้าเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมต่อเนื่องของประเทศคู่ค้าที่ยังมีแนวโน้มขยายตัวดี
ผงชูรส : เป็นวัตถุดิบในการผลิต สำรให้ควำมหวำน : ทาน้าตาลกูลโคส
สิ่งทอ : ใช้ในการชุบด้าย ไม้อัด : เป็นส่วนผสมของกาว
กระดำษ : ใช้ผสมในเยื่อกระดาษเพื่อให้เกิดความเหนียวและเพิ่มความหนา
ของกระดาษ
ยำรักษำโรค : ใช้เป็นตัวเจือจางในยาประเภทแคปซูลและยาเม็ด
อุตสำหกรรมเคมีภัณฑ์ : ใช้ผลิตพลาสติกชีวภาพ
3.0
4.8
-6
-4
-2
0
2
4
6
8
10
2026F
2025F
2022E 2023F
2020 2024F
2021
China (63.2%*) Japan (4.4%)
Taiwan (8.3%) Malaysia (4.2%)
U.S.A. (3.6%)
หมายเหตุ : *สัดส่วนปริมาณการส่งออกไปประเทศดังกล่าวต่อการส่งออกทั้งหมดของไทย
Cassava
27
EIC Industry insight : Agricultural commodities
มูลค่ำกำรส่งออกแป้งมันสำปะหลังดัดแปรของไทย
หน่วย : พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์
ภำพรวมภำวะแป้งมันสำปะหลังดัดแปร
• มูลค่ำกำรส่งออกแป้งมันสำปะหลังดัดแปรในปี 2023 มีแนวโน้ม
ปรับตัวเพิ่มขึ้น 4.5%YOY โดยเป็นผลมาจากทั้งปัจจัยด้านราคา
และปริมาณการส่งออกที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น
• ปริมำณกำรส่งออกแป้งมันสำปะหลังดัดแปรมีแนวโน้มปรับตัว
เพิ่มขึ้น 2.6%YOY เนื่องจากความต้องการนาเข้าเพื่อใช้ใน
อุตสาหกรรมต่อเนื่องของประเทศคู่ค้า เช่น อาหาร เครื่องสาอาง ยา
มีแนวโน้มขยายตัวตามเศรษฐกิจที่มีแนวโน้มเติบโตดี
• ในระยะกลำง มูลค่ำกำรส่งออกมีแนวโน้มขยำยตัวดีต่อเนื่อง
โดยได้รับปัจจัยบวกจากผลผลิตและความต้องการใช้ที่เพิ่มขึ้นจาก
หลากหลายอุตสาหกรรม
ประเด็นที่ต้องติดตำม
• กำรกลับมำระบำดของโรคใบด่ำงและสภำพภูมิอำกำศ ที่อาจส่งผล
กระทบต่อปริมาณผลผลิตมันสาปะหลังในประเทศ
มูลค่าการส่งออกแป้งมันสาปะหลังดัดแปรในปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น 4.5%YOY โดยเป็นผลมาจากทั้งปัจจัยด้านราคา
และปริมาณการส่งออกที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น
ปริมำณและรำคำกำรส่งออกแป้งมันสำปะหลังดัดแปร
หน่วย : ล้านตัน
0.61 0.62
0.76 0.77 0.76 0.85 0.95 0.99 1.01 1.01 1.03
2016 2018
2017 2024F
2021 2023F
2020
2019 2022E 2025F 2026F
+11.1% +4.5% +1.1%
หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน
1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.1 1.2 1.2 1.2 1.3 1.3
729 760 820 836 830 809 807
0
500
1,000
0
1
2
3
2019 2023F
2016 2017 2022E
2020
2018 2021 2024F 2025F 2026F
+2.7% +2.6%
ปริมาณ (แกนซ้าย)
ราคาส่งออกโดยเฉลี่ย (แกนขวา)
Cassava
28
EIC Industry insight : Agricultural commodities
ประเด็นสาคัญที่จะส่งผลต่อภาวะธุรกิจ
การชะลอตัวของ
เศรษฐกิจประเทศคู่ค้า นโยบายข้าวโพดของจีน ความแปรปรวน
ของสภาพภูมิอากาศ
การกลับมาระบาด
ของโรคใบด่าง
ความไม่แน่นอนของแนวโน้มเศรษฐกิจประเทศ
คู่ค้า จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกผลิตภัณฑ์
มันสาปะหลังของไทย เนื่องจากความต้องการ
นาเข้าเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมต่อเนื่องของ
ประเทศคู่ค้า จะปรับตัวสอดคล้องกับภาวะ
เศรษฐกิจ
การส่งออกมันเส้นของไทยพึ่งพาตลาดจีนเป็นหลัก
(สัดส่วน 99% ของปริมาณส่งออกมันเส้น
ทั้งหมดของไทยในปี 2021) ดังนั้น การ
เปลี่ยนแปลงนโยบายด้านการเกษตรของจีน
ที่เกี่ยวข้องกับข้าวโพด จะส่งผลกระทบโดยตรง
ต่อความต้องการนาเข้ามันเส้นจากไทย
ตัวอย่างเช่น การยกเลิกโครงการรับจานา
ข้าวโพดส่งผลให้จีนมีความต้องการนาเข้ามัน
เส้นจากไทยลดลงในช่วงปี 2018 – 2020
ความแปรปรวนของสภาพดินฟ้าอากาศ
และปัญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติ จะส่งผล
กระทบต่อปริมาณผลผลิตมันสาปะหลังใน
ประเทศ เนื่องจากพื้นที่ปลูกมันสาปะหลัง
ส่วนใหญ่ของไทยอยู่นอกเขตชลประทาน
และอาศัยน้าฝนเป็นหลัก
โรคใบด่างสามารถทาให้ผลผลิตมันสาปะหลัง
เสียหายได้มากถึง 80-100% โดย ณ วันที่ 14
พ.ย. 22 พบพื้นที่ระบาดใน 19 จังหวัดของไทย
ครอบคลุมพื้นที่จานวน 0.1 ล้านไร่ (ราว 0.9%
ของเนื้อที่เก็บเกี่ยว)
1 2 3 4
Cassava
อุตสาหกรรมข้าว
อุตสำหกรรมข้ำวในปี 2023 มีแนวโน้มขยำยตัว จำกปริมำณผลผลิตที่เพิ่มขึ้น ขณะที่นโยบำยควบคุม
กำรส่งออกข้ำวของอินเดียเป็นปัจจัยสนับสนุนสำคัญที่ส่งผลให้ปริมำณกำรส่งออกและรำคำข้ำวไทยปรับตัว
ดีขึ้น โดยปริมาณผลผลิตข้าวมีแนวโน้มอยู่ที่ 34.2 ล้านตัน ปรับตัวเพิ่มขึ้น 1.8%YOY ตามผลผลิตต่อไร่และเนื้อ
ที่เก็บเกี่ยวข้าวที่่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น จากปริมาณน้าที่เพียงพอต่อการเพาะปลูก ในขณะที่ราคาส่งออกข้าว
ไทยโดยเฉลี่ยในปี 2023 คาดว่า จะปรับตัวเพิ่มขึ้น 14.4%YOY มาอยู่ที่ 596 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน จากสต็อกข้าว
โลกที่มีแนวโน้มปรับตัวลดลงและนโยบายควบคุมการส่งออกข้าวของอินเดีย โดยในปี 2023 คำดว่ำมูลค่ำกำร
ส่งออกข้ำวของไทยจะอยู่ที่ 5.1 พันล้ำนดอลลำร์สหรัฐ ขยำยตัว 25.8%YOY สอดคล้องกับปริมาณการส่งออก
ข้าวที่คาดว่าจะอยู่ที่ 8.6 ล้านตัน ปรับตัวเพิ่มขึ้น 10.3%YOY โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจาก 1) ความสามารถ
ในการแข่งขันด้านราคาของข้าวไทยที่ปรับตัวดีขึ้น จากนโยบายควบคุมการส่งออกข้าวของอินเดียและ
2) ปริมาณผลผลิตข้าวไทยมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม อุตสาหกรรมยังต้องเผชิญความเสี่ยงจาก
การเปลี่ยนแปลงนโยบายของอินเดีย สภาวะภูมิอากาศสุดขั้ว และต้นทุนการผลิตข้าวที่สูงกว่าคู่แข่ง สำหรับ
ในระยะกลำง อุตสำหกรรมข้ำวมีแนวโน้มขยำยตัวต่อเนื่อง สอดคล้องกับรำคำข้ำวและผลผลิตข้ำวไทยที่มี
แนวโน้มขยำยตัว ประกอบกับควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของข้ำวไทยที่มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น จำกนโยบำย
ควบคุมกำรส่งออกข้ำวของอินเดีย
EIC Industry insight : Agricultural commodities
30
EIC Industry insight : Agricultural commodities
ปริมำณผลผลิตข้ำวเปลือก
หน่วย : ล้านตัน
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ภำพรวมภำวะธุรกิจ
• อุตสำหกรรมข้ำวในปี 2023 มีแนวโน้มขยำยตัว
จากปริมาณผลผลิต ปริมาณการส่งออกและราคา
ข้าวที่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น
• ปริมำณผลผลิตข้ำวเปลือกในประเทศมีแนวโน้ม
ปรับตัวเพิ่มขึ้น 1.8%YOY ตามผลผลิตต่อไร่และ
เนื้อที่เก็บเกี่ยวที่่เพิ่มขึ้น
• มูลค่ำกำรส่งออกข้ำวมีแนวโน้มขยำยตัว
25.8%YOY ตามปริมาณและราคาส่งออกข้าวที่มี
แนวโน้มปรับตัวเพิ่ม จาก 1) สต็อกข้าวโลกที่มี
แนวโน้มปรับตัวลดลงและ 2) อินเดียห้ามส่งออก
ปลายข้าวและขึ้นภาษีส่งออกข้าวขาวและข้าวกล้อง
ทุกชนิด 20%
• ในระยะกลำง อุตสำหกรรมข้ำวมีแนวโน้มขยำยตัว
ต่อเนื่อง จากราคาและผลผลิตข้าวไทยมีแนวโน้ม
ขยายตัว และความสามารถในการแข่งขันของข้าว
ไทยที่ปรับตัวดีขึ้น จากนโยบายควบคุมการส่งออก
ข้าวของอินเดีย
• อย่ำงไรก็ตำม อุตสำหกรรมยังต้องเผชิญควำม
เสี่ยงจำกกำรเปลี่ยนแปลงนโยบำยส่งออกข้ำว
ของอินเดีย สภำวะภูมิอำกำศสุดขั้ว และต้นทุน
กำรผลิตที่สูงกว่ำคู่แข่ง
อุตสาหกรรมข้าวในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว จากปริมาณผลผลิต ปริมาณการส่งออกและราคาข้าวที่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น
32.3
28.6
31.7 33.6 34.2 34.3 34.4 34.5
2018/19
2023/24F
2019/20
2020/21
2021/22F
2025/26F
2024/25F
2022/23F
+6.0% +1.8% +0.3%
มูลค่ำกำรส่งออกข้ำว
หน่วย : พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
4.4
5.2
5.7
4.2
3.7 3.5
4.1
5.1 5.2 5.4 5.5
2018
2016
2017
2019
2021
2022E
2020
2023F
2024F
2025F
2026F
+17.6%
+25.8% +3.2%
Key Indicator 2016-21 2021 2022E 2023F 2024F 2025F 2026F
ปริมำณกำรส่งออกข้ำว (ล้ำนตัน) 8.7 6.3 7.8 8.6 8.5 8.6 8.8
รำคำส่งออกข้ำว (ดอลลำร์สหรัฐต่อตัน) 525 550 521 596 614 623 632
Rice
31
EIC Industry insight : Agricultural commodities
ปริมาณความต้องการบริโภคข้าวโลกในปี 2022/2023 มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.2%YOY สอดคล้องกับจานวนประชากรโลกที่มีแนวโน้ม
ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง
ปริมำณควำมต้องกำรบริโภคข้ำวโลก
หน่วย : ล้านตัน
จำนวนประชำกรโลก
หน่วย: พันล้านคน
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ USDA และสหประชาชาติ (UN)
485.0
492.9 499.0
516.7 517.9 522.4 526.9 531.5
2024/25F 2025/26F
2022/23F
2021/22
2018/19 2019/20 2020/21 2023/24F
+0.2%
+0.9%
7.76 7.84 7.91 7.98 8.05 8.12 8.19 8.26
2019 2023F 2026F
2020 2021E 2025F
2022F 2024F
+0.9%
+0.9%
Rice
32
EIC Industry insight : Agricultural commodities
ผลผลิตข้าวโลกในปีการผลิต 2022/2023 มีแนวโน้มปรับตัวลดลง เนื่องจากผลผลิตข้าวของประเทศผู้ผลิตหลักอย่างอินเดียมีแนวโน้ม
ปรับตัวลดลง จากปริมาณน้าฝนที่น้อยกว่าปกติในช่วงฤดูมรสุม
ปริมำณผลผลิตข้ำวโลก
หน่วย : ล้านตันข้าวสาร
ผลผลิตข้ำวอินเดีย
หน่วย : ล้านตันข้าวสาร
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ USDA
ปริมำณผลผลิตข้ำวและกำรส่งออกข้ำวโลกปี 2020/2021 รำยประเทศ
หน่วย : ล้านตันข้าวสาร
ผลผลิตข้ำวเวียดนำม
หน่วย : ล้านตันข้าวสาร
498.2 499.2 509.3 515.1 508.0 521.7 525.4 529.0
2025/26F
2018/19 2020/21
2019/20 2022/23F
2021/22F 2023/24F 2024/25F
+1.1% -1.4% +0.7%
24.4%
อินโดฯ อื่น ๆ
32.9%
ผลผลิต 6.8%
29.1% 6.8%
บังกลาเทศ
อินเดีย
จีน
509
27.5%
7.5%
12.0%
ส่งออก 40.8% 12.1%
ปากีฯ อื่น ๆ
เวียดนาม
ไทย
อินเดีย
52
ผลผลิตข้ำวของอินเดียใน
ฤดูกำลหน้ำ (เริ่มเก็บเกี่ยว
ต.ค. 2022) มีแนวโน้ม
ปรับตัวลดลง จากปริมาณ
น้าฝนในช่วงฤดูมรสุมที่น้อย
กว่าปกติ ซึ่งส่งผลให้พื้นที่การ
เพาะปลูกข้าวปรับตัวลดลง
ผลผลิตข้ำวของเวียดนำม
ในฤดูกำลหน้ำ (เริ่มเก็บเกี่ยว
ต.ค. 2022) มีแนวโน้ม
ปรับตัวเพิ่มขึ้น จากปริมาณ
น้าฝนที่เพียงพอต่อการ
เจริญเติบโตของต้นข้าว
119 124 130 125
2020/21
2019/20 2021/22F 2022/23F
-4.1%
27.1 27.4 27.1 27.4
2019/20 2020/21 2021/22F 2022/23F
+1.2%
Rice
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf
Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf

Más contenido relacionado

Similar a Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf

Industry-Insight_Automotive-and-parts_20220711.pdf
Industry-Insight_Automotive-and-parts_20220711.pdfIndustry-Insight_Automotive-and-parts_20220711.pdf
Industry-Insight_Automotive-and-parts_20220711.pdfSCBEICSCB
 
TH-Outlook-1Q22-Final.pdf
TH-Outlook-1Q22-Final.pdfTH-Outlook-1Q22-Final.pdf
TH-Outlook-1Q22-Final.pdfSCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ปี 2023 มีแนวโน้มทรงตัว แต่ยังต้องจับตาความเสี่ยงทางด...
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ปี 2023 มีแนวโน้มทรงตัว แต่ยังต้องจับตาความเสี่ยงทางด...อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ปี 2023 มีแนวโน้มทรงตัว แต่ยังต้องจับตาความเสี่ยงทางด...
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ปี 2023 มีแนวโน้มทรงตัว แต่ยังต้องจับตาความเสี่ยงทางด...SCBEICSCB
 
ราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supply
ราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supplyราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supply
ราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ SupplySCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงSCBEICSCB
 
Industry insight_Petchem 2022_20220705.pdf
Industry insight_Petchem 2022_20220705.pdfIndustry insight_Petchem 2022_20220705.pdf
Industry insight_Petchem 2022_20220705.pdfSCBEICSCB
 
มูลค่าอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2566 มีแนวโน้มขยายตัว จับตาความท้าทายต้นทุนสูง ควา...
มูลค่าอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2566 มีแนวโน้มขยายตัว จับตาความท้าทายต้นทุนสูง ควา...มูลค่าอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2566 มีแนวโน้มขยายตัว จับตาความท้าทายต้นทุนสูง ควา...
มูลค่าอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2566 มีแนวโน้มขยายตัว จับตาความท้าทายต้นทุนสูง ควา...SCBEICSCB
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCBEICSCB
 
Industry-Insight_F-B-Industry_20220720.pdf
Industry-Insight_F-B-Industry_20220720.pdfIndustry-Insight_F-B-Industry_20220720.pdf
Industry-Insight_F-B-Industry_20220720.pdfSCBEICSCB
 
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdfPresentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdfSCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...SCBEICSCB
 
ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวแรง จากการเร่งตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวหนุนธุรกิจโรงแรม...
ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวแรง จากการเร่งตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวหนุนธุรกิจโรงแรม...ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวแรง จากการเร่งตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวหนุนธุรกิจโรงแรม...
ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวแรง จากการเร่งตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวหนุนธุรกิจโรงแรม...SCBEICSCB
 

Similar a Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf (12)

Industry-Insight_Automotive-and-parts_20220711.pdf
Industry-Insight_Automotive-and-parts_20220711.pdfIndustry-Insight_Automotive-and-parts_20220711.pdf
Industry-Insight_Automotive-and-parts_20220711.pdf
 
TH-Outlook-1Q22-Final.pdf
TH-Outlook-1Q22-Final.pdfTH-Outlook-1Q22-Final.pdf
TH-Outlook-1Q22-Final.pdf
 
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ปี 2023 มีแนวโน้มทรงตัว แต่ยังต้องจับตาความเสี่ยงทางด...
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ปี 2023 มีแนวโน้มทรงตัว แต่ยังต้องจับตาความเสี่ยงทางด...อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ปี 2023 มีแนวโน้มทรงตัว แต่ยังต้องจับตาความเสี่ยงทางด...
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ปี 2023 มีแนวโน้มทรงตัว แต่ยังต้องจับตาความเสี่ยงทางด...
 
ราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supply
ราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supplyราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supply
ราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supply
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
 
Industry insight_Petchem 2022_20220705.pdf
Industry insight_Petchem 2022_20220705.pdfIndustry insight_Petchem 2022_20220705.pdf
Industry insight_Petchem 2022_20220705.pdf
 
มูลค่าอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2566 มีแนวโน้มขยายตัว จับตาความท้าทายต้นทุนสูง ควา...
มูลค่าอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2566 มีแนวโน้มขยายตัว จับตาความท้าทายต้นทุนสูง ควา...มูลค่าอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2566 มีแนวโน้มขยายตัว จับตาความท้าทายต้นทุนสูง ควา...
มูลค่าอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2566 มีแนวโน้มขยายตัว จับตาความท้าทายต้นทุนสูง ควา...
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
 
Industry-Insight_F-B-Industry_20220720.pdf
Industry-Insight_F-B-Industry_20220720.pdfIndustry-Insight_F-B-Industry_20220720.pdf
Industry-Insight_F-B-Industry_20220720.pdf
 
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdfPresentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf
 
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
 
ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวแรง จากการเร่งตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวหนุนธุรกิจโรงแรม...
ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวแรง จากการเร่งตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวหนุนธุรกิจโรงแรม...ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวแรง จากการเร่งตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวหนุนธุรกิจโรงแรม...
ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวแรง จากการเร่งตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวหนุนธุรกิจโรงแรม...
 

Más de SCBEICSCB

ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletSCBEICSCB
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCBEICSCB
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...SCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfSCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfSCBEICSCB
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfSCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...SCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...SCBEICSCB
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCBEICSCB
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCBEICSCB
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...SCBEICSCB
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นSCBEICSCB
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfSCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023SCBEICSCB
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfSCBEICSCB
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfSCBEICSCB
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCBEICSCB
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...SCBEICSCB
 
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCBEICSCB
 

Más de SCBEICSCB (20)

ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
 
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
 

Industry-Insight_Agri-com_Nov22_20221123.pdf

  • 1. Agricultural commodities แนวโน้มอุตสาหกรรมเกษตรปี 2023 มีแนวโน้มเติบโต ในลักษณะรูปตัว K ซึ่งต่างจากภาวะตลาดในปี 2022 ที่ขยายตัวในทุกอุตสาหกรรม EIC Industry insight 2023
  • 2. The information contained in this report has been obtained from sources believed to be reliable. However, neither we nor any of our respective affiliates, employees or representatives make any representation or warranty, express or implied, as to the accuracy or completeness of any of the information contained in this report, and we and our respective affiliates, employees or representatives expressly disclaim any and all liability relating to or resulting from the use of this report or such information by the recipient or other persons in whatever manner. Any opinions presented herein represent our subjective views and our current estimates and judgments based on various assumptions that may be subject to change without notice, and may not prove to be correct. This report is for the recipient’s information only. It does not represent or constitute any advice, offer, recommendation, or solicitation by us and should not be relied upon as such. We, or any of our associates, may also have an interest in the companies mentioned here in. บทสรุปผู้บริหาร หน้า 03 อุตสาหกรรมน้าตาล หน้า 06 EIC Industry insight : Agricultural commodities อุตสาหกรรมมันส้าปะหลัง หน้า 18 อุตสาหกรรมข้าว หน้า 29 อุตสาหกรรมยางพารา หน้า 38 ประเด็นส้าคัญใน อุตสาหกรรมเกษตร ที่ต้องจับตามองและ นัยต่อผู้ประกอบการ หน้า 55 อุตสาหกรรมปาล์มน้ามัน หน้า 47 Contents
  • 3. 3 EIC Industry insight : Agricultural commodities ประเด็นสำคัญที่จะส่งผลต่อทิศทำงอุตสำหกรรมเกษตรในปี 2023 มีดังนี้ • กำรขยำยตัวของเศรษฐกิจโลกที่ Uneven เศรษฐกิจโลกโดยเฉพาะกลุ่ม ประเทศพัฒนาแล้วที่มีแนวโน้มเติบโตชะลอลง ส่งผลให้ราคาสินค้าเกษตร ที่อิงกับความต้องการบริโภคในตลาดโลก ทั้งน้าตาลและยางพารามีแนวโน้ม ปรับตัวลดลง ในทางตรงกันข้าม เศรษฐกิจจีนที่มีแนวโน้มเติบโตเร่งขึ้น ส่งผลให้ราคามันสาปะหลัง ซึ่งอิงกับความต้องการในจีนเป็นหลัก มีแนวโน้ม เพิ่มขึ้น • รำคำน้ำมันที่มีแนวโน้มปรับตัวลดลง ส่งผลให้ราคาของพืชพลังงาน (น้าตาล ปาล์มน้ามัน) และพืชที่ใช้ทดแทนยางสังเคราะห์ (ยางพารา) มีแนวโน้มปรับตัวลดลงตามไปด้วย • กำรผ่อนคลำยมำตรกำรป้องกันกำรแพร่ระบำดของ COVID-19 โดยเฉพำะ กำรเคลื่อนย้ำยแรงงำนต่ำงด้ำว ส่งผลให้ปริมาณผลผลิตน้ามันปาล์มจาก ประทศผู้ผลิตหลักอย่างมาเลเซียปรับตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากปัญหาขาดแคลน แรงงานเก็บผลปาล์มคลี่คลายลง ซึ่งเป็นปัจจัยกดดันให้ราคาน้ามันปาล์ม ปรับตัวลดลง • ควำมกังวลด้ำนควำมมั่นคงด้ำนอำหำร โดยเฉพำะนโยบำยควบคุม กำรส่งออกข้ำวของอินเดีย ส่งผลให้ราคาและปริมาณการส่งออกข้าวไทย มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น • ปริมำณน้ำฝนและน้ำในเขื่อนที่เพียงพอต่อกำรเพำะปลูกพืชและรำคำ สินค้ำเกษตรที่อยู่ในเกณฑ์ดี ส่งผลให้ปริมาณผลผลิตอ้อย มันสาปะหลัง ข้าว ยางพารา และปาล์มน้ามันปรับตัวเพิ่มขึ้น Executive Summary EIC คาดว่าอุตสาหกรรมเกษตรในปี 2023 มีแนวโน้มเติบโตในลักษณะรูปตัว K ซึ่งต่างจากภาวะตลาดในปี 2022 ที่ขยายตัวในทุกอุตสาหกรรม ทั้งนี้คาดว่าในปี 2023 อุตสาหกรรมน้าตาล มันสาปะหลัง และข้าว ยังมีแนวโน้มขยายตัวได้ต่อเนื่อง ขณะที่อุตสาหกรรมยางพาราและปาล์มน้ามันมีแนวโน้มกลับมาหดตัว แนวโน้มภำวะอุตสำหกรรมเกษตรรำยอุตสำหกรรม • อุตสำหกรรมน้ำตำลมีแนวโน้มขยำยตัวต่อเนื่อง จำกปริมำณผลผลิตน้ำตำลและมูลค่ำตลำด น้ำตำลที่มีแนวโน้มเติบโต โดยในปี 2023 คาดว่ามูลค่าการส่งออกน้าตาลของไทยและมูลค่าตลาด น้าตาลในประเทศจะปรับตัวเพิ่มขึ้น 9.2%YOY และ 3.8%YOY ตามลาดับ แต่อย่างไรก็ดี ยังต้อง จับตาความเสี่ยงจากภาวะเศรษฐกิจโลกและนโยบายควบคุมการส่งออกน้าตาลของอินเดีย • อุตสำหกรรมมันสำปะหลังมีแนวโน้มขยำยตัวต่อเนื่อง ตำมปริมำณผลผลิตและรำคำมัน สำปะหลังที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยในปี 2023 คาดว่า มูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์มันสาปะหลัง จะปรับตัวเพิ่มขึ้น 5.7% แต่อย่างไรก็ดี ยังต้องจับตาความเสี่ยงจากภาวะเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า นโยบายเกษตรของจีน และการกลับมาระบาดของโรคใบด่าง • อุตสำหกรรมข้ำวมีแนวโน้มขยำยตัวต่อเนื่อง จำกปริมำณผลผลิตและรำคำข้ำวที่มีแนวโน้ม ปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยในปี 2023 คาดว่ามูลค่าการส่งออกข้าวจะขยายตัว 25.8%YOY แต่อย่างไรก็ดี ยังต้องจับตาความเสี่ยงจากนโยบายส่งออกข้าวของอินเดียและต้นทุนการผลิตข้าวของไทยที่สูง กว่าคู่แข่ง • อุตสำหกรรมยำงพำรำมีแนวโน้มกลับมำหดตัว จำกรำคำและมูลค่ำกำรส่งออกยำงพำรำที่มี แนวโน้มปรับตัวลดลง ประกอบกับผลผลิตยำงพำรำมีแนวโน้มเติบโตในระดับต่ำ โดย EIC คาดว่า ในปี 2023 มูลค่าการส่งออกยางพาราจะปรับตัวลดลง 7.5%YOY อย่างไรก็ดี ยังต้องจับตา ความเสี่ยงจากภาวะเศรษฐกิจโลก และการแพร่ระบาดของโรคใบร่วงยางพาราชนิดใหม่ • อุตสำหกรรมปำล์มน้ำมันมีแนวโน้มหดตัว ตำมรำคำน้ำมันปำล์มดิบและอุปสงค์น้ำมันปำล์มดิบ ที่มีแนวโน้มปรับตัวลดลง ประกอบกับผลผลิตปำล์มน้ำมันมีแนวโน้มเติบโตในระดับต่ำ โดย EIC คาดว่า ราคาน้ามันปาล์มดิบในปี 2023 จะปรับตัวลดลง 25.8%YOY อย่างไรก็ดี ยังคงต้องจับตา ความเสี่ยงจากนโยบายภาครัฐเกี่ยวกับพลังงานทางเลือกและนโยบายการส่งออกน้ามันปาล์มดิบ ของอินโดนีเซีย ปัจจัยลบ ปัจจัยบวก
  • 4. 4 EIC Industry insight : Agricultural commodities • ควำมไม่แน่นอนของภำวะเศรษฐกิจและนโยบำยด้ำนกำรเกษตรของ ประเทศคู้ค้ำ/คู่แข่ง ในช่วงที่ผ่านมา ภาวะเศรษฐกิจโลกมีความไม่แน่นอน สูงขึ้น จากเหตุการณ์ไม่คาดคิดที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนั้น นโยบาย ด้านการเกษตรของประเทศต่าง ๆ ก็มีความไม่แน่นอนมากขึ้นเช่นกัน ซึ่งสภาวการณ์ดังกล่าว จะส่งผลให้อุตสาหกรรมเกษตรที่พึ่งพาการส่งออก ไปยังตลาดโลกเผชิญกับความผันผวนมากขึ้น • กำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศ (Climate change) จะทาให้ ผู้ประกอบการที่ใช้สินค้าเกษตรเป็นวัตถุดิบ ต้องเผชิญกับผลประกอบการที่มี ความผันผวนมากขึ้น จากทั้งต้นทุนการผลิตและปริมาณวัตถุดิบที่มีความไม่ แน่นอนสูง • นโยบำยและมำตรกำรเพื่อส่งเสริมกำรเปลี่ยนผ่ำนเข้ำสู่เศรษฐกิจคำร์บอน ต่ำ (Low carbon economy) เช่น มาตรการการค้าระหว่างประเทศ การเก็บภาษีคาร์บอน เป็นต้น จะทาให้ต้นทุนในการดาเนินธุรกิจเกษตร ปรับตัวเพิ่มขึ้นตามไปด้วย • ควำมยั่งยืน (Sustainability) เป็นหนึ่งในเทรนด์สาคัญของโลก ที่จะกระทบต่ออุตสาหกรรมเกษตร โดยในอนาคตผู้บริโภคหรืออุตสาหกรรม ต่อเนื่องที่ใช้สินค้าเกษตรเป็นวัตถุดิบมีแนวโน้มที่จะเลือกซื้อสินค้าที่มี กระบวนการผลิตอย่างยั่งยืนเพิ่มขึ้น ประเด็นสาคัญในอุตสาหกรรมเกษตร ที่ต้องจับตามอง • ผู้ประกอบกำรควรมีกำรเตรียมพร้อมเพื่อเผชิญกับควำมไม่แน่นอนสูงของเศรษฐกิจ และนโยบำยด้ำนต่ำง ๆ ของประเทศคู่ค้ำ/คู่แข่ง เช่น การติดตามเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ทั่วโลกอย่างใกล้ชิดและสม่าเสมอ โดยเฉพาะเหตุการณ์ในประเทศคู่ค้า มีการกระจายการส่งออก ไปยังตลาดส่งออกที่หลากหลาย เพื่อหลีกเลี่ยงการพึ่งพาตลาดใดตลาดหนึ่งมากเกินไป และมีการ จัดทาแผนฉุกเฉินต่อ Scenario ต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น หากเศรษฐกิจโลกเข้าสู่ภาวะ ถดถอยและรายได้ปรับตัวลดลงมาก บริษัทอาจจะพิจารณาเลื่อนการลงทุนใหม่ ๆ ออกไปก่อนหรือ มีปรับลดขนาดสต็อกวัตถุดิบลง เป็นต้น • ผู้ประกอบกำรควรเร่งลงทุนเพื่อคว้ำโอกำสและลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจำกกำรเปลี่ยนแปลง สภำพภูมิอำกำศและกระแสควำมยั่งยืน เช่น การสนับสนุนให้เกษตรกรซึ่งเป็นผู้เล่นระดับต้นน้า ในห่วงโซ่อุปทานสามารถลงทุนในแหล่งน้า หรือแม้แต่การสร้างแรงจูงใจให้เกษตรกรปรับเปลี่ยน กระบวนการผลิตให้เป็นไปตามมาตรฐานในเรื่องความยั่งยืนและมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ รวมถึงการลงทุนในระบบตรวจสอบย้อนกลับของสินค้าเกษตรตลอดห่วงโซ่ อุปทาน เป็นต้น • ผู้ประกอบกำรควรเร่งปรับกระบวนกำรดำเนินธุรกิจ เพื่อสร้ำงโอกำสและลดผลกระทบที่อำจจะ เกิดขึ้นจำกมำตรกำรต่ำง ๆ ที่ออกแบบมำเพื่อเปลี่ยนผ่ำนระบบเศรษฐกิจไปสู่เศรษฐกิจคำร์บอนต่ำ เช่น การยกระดับประสิทธิภาพการผลิตและแปรรูปสินค้าเกษตร ให้มีการใช้พลังงานและ ทรัพยากรต่อหน่วย เช่น น้า ลดลง การหันมาใช้พลังงานหมุนเวียนในรูปแบบต่าง ๆ เช่น พลังงาน แสงอาทิตย์ ในกระบวนการผลิตเพิ่มขึ้น เป็นต้น นัยต่อผู้ประกอบการ Executive Summary
  • 5. แนวโน้มอุตสาหกรรมเกษตรในปี 2023 EIC คาดว่าอุตสาหกรรมเกษตรในปี 2023 มีแนวโน้มเติบโตในลักษณะรูปตัว K ซึ่งต่างจากภาวะตลาดในปี 2022 ที่ขยายตัวในทุกอุตสาหกรรม ทั้งนี้คาดว่าในปี 2023 อุตสาหกรรมน้าตาล มันสาปะหลัง และข้าว ยังมีแนวโน้มขยายตัวได้ต่อเนื่อง ขณะที่อุตสาหกรรมยางพาราและปาล์มน้ามันมีแนวโน้มกลับมาหดตัว EIC Industry insight : Agricultural commodities
  • 6. อุตสาหกรรมน้าตาล แม้ว่ำรำคำน้ำตำลในตลำดโลกในปี 2023 จะมีทิศทำงปรับตัวลดลง แต่อุตสำหกรรมน้ำตำลของไทยยังมี แนวโน้มขยำยตัวต่อเนื่อง จำกปริมำณผลผลิตและมูลค่ำตลำดน้ำตำลที่ขยำยตัวดี โดยปริมาณผลผลิต น้าตาลไทยมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น 15.7% มาอยู่ที่ 11.8 ล้านตัน ตามปริมาณอ้อยเข้าหีบของไทยที่มีแนวโน้ม เพิ่มขึ้น 15.8%YOY มาอยู่ที่ 106.6 ล้านตัน เนื่องจากเนื้อที่เก็บเกี่ยวและผลผลิตต่อไร่ที่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น จากปริมาณน้าฝนที่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นอ้อย สาหรับราคาน้าตาลโลกในปี 2023 คาดว่าจะ ปรับตัวลดลง 3.1%YOY มาอยู่ที่ 18.1 เซนต์ต่อปอนด์ เนื่องจากตลาดน้าตาลโลกมีแนวโน้มกลับมาอยู่ในภาวะ เกินดุล กอปรกับราคาน้ามันดิบมีแนวโน้มปรับตัวลดลง โดยคาดว่ามูลค่าการส่งออกน้าตาลของไทยในปี 2023 จะอยู่ที่ 3.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ปรับตัวเพิ่มขึ้น 9.2%YOY ในขณะที่มูลค่าตลาดน้าตาลในประเทศมีแนวโน้ม อยู่ที่ 4.3 หมื่นล้านบาท ขยายตัว 3.8%YOY แต่อย่างไรก็ตาม อุตสาหกรรมยังต้องเผชิญความเสี่ยงจากภาวะ เศรษฐกิจโลก นโยบายควบคุมการส่งออกน้าตาลของอินเดีย สภาวะภูมิอากาศสุดขั้วและกระแสรักสุขภาพ ของผู้บริโภค สำหรับในระยะกลำง อุตสำหกรรมน้ำตำลมีแนวโน้มขยำยตัวต่อเนื่อง โดยได้รับปัจจัยหนุน จำกผลผลิตน้ำตำลของไทยและควำมต้องกำรบริโภคน้ำตำลโลกที่คำดว่ำจะฟื้นตัวอย่ำงต่อเนื่อง EIC Industry insight : Agricultural commodities
  • 7. 7 EIC Industry insight : Agricultural commodities อุตสาหกรรมน้าตาลในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องจากปริมาณผลผลิตน้าตาลและมูลค่าตลาดน้าตาลที่มีแนวโน้มเติบโต ผลผลิตน้ำตำล หน่วย : ล้านตัน ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของสานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย และกระทรวงพาณิชย์ ภำพรวมภำวะธุรกิจ • อุตสำหกรรมน้ำตำลในปี 2023 มีแนวโน้ม ขยำยตัวต่อเนื่อง จากปริมาณผลผลิตน้าตาล และมูลค่าตลาดน้าตาลที่มีแนวโน้มเติบโต • ผลผลิตน้ำตำลของไทยมีแนวโน้มขยำยตัว ตามปริมาณอ้อยเข้าหีบที่คาดว่าจะปรับตัวเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับผลผลิตต่อไร่ที่มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น • รำคำน้ำตำลโลกมีแนวโน้มปรับตัวลดลง เนื่องจาก 1) ตลาดน้าตาลโลกมีแนวโน้มเผชิญกับภาวะ เกินดุล และ 2) ราคาน้ามันดิบในปีหน้ามีแนวโน้ม ปรับตัวลดลง • มูลค่ำตลำดน้ำตำลมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น ตามมูลค่าการส่งออกและมูลค่าการค้าในประเทศ ที่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น • ในระยะกลำง อุตสำหกรรมน้ำตำลมีแนวโน้ม ขยำยตัวต่อเนื่อง โดยได้รับปัจจัยหนุนจากผลผลิต น้าตาลของไทยและความต้องการบริโภคน้าตาล โลกที่คาดว่าจะฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง • แต่อย่ำงไรก็ตำม อุตสำหกรรมยังต้องเผชิญ ควำมเสี่ยงจำกภำวะเศรษฐกิจโลก กำรเปลี่ยนแปลงภูมิอำกำศ กระแสควำมยั่งยืน และกระแสรักสุขภำพของผู้บริโภค มูลค่ำส่งออกน้ำตำล หน่วย : พันล้านดอลลาร์สหรัฐ Key Indicator 2016-21 2021 2022E 2023F 2024F 2025F 2026F ผลผลิตอ้อย (ล้ำนตัน) 99.1 66.7 92.1 106.6 112.8 118.2 120.7 รำคำน้ำตำลในตลำดโลก (เซนต์ต่อปอนด์) 14.9 17.9 18.6 18.1 17.5 17.2 16.8 รำคำส่งออกน้ำตำลไทย (ดอลลำร์สหรัฐต่อตัน) 374.5 431.0 471.3 455.1 438.0 430.9 420.3 ปริมำณกำรส่งออกน้ำตำล (ล้ำนตัน) 6.8 3.6 7.4 8.4 8.7 9.0 9.1 14.6 8.3 7.6 10.2 11.8 12.4 13.0 13.3 2025/26F 2022/23F 2024/25F 2018/19 2019/20 2020/21 2021/22 2023/24F +15.7% +3.5% 2.4 2.7 3.1 3.1 1.8 1.5 3.5 3.8 3.8 3.9 3.8 2022E 2018 2016 2021 2017 2019 2023F 2020 2024F 2025F 2026F +127.1% +9.2% -0.3% Sugar
  • 8. 8 EIC Industry insight : Agricultural commodities ปริมาณอ้อยเข้าหีบของไทยในปีการผลิต 2022/2023 มีแนวโน้มอยู่ที่ราว 107 ล้านตัน ปรับตัวเพิ่มขึ้น 15.8%YOY เนื่องจาก 1) ผลผลิตต่อไร่มีแนวโน้มดีขึ้นต่อเนื่องจากปริมาณน้าฝนที่เพิ่มขึ้น และ 2) เนื้อที่เก็บเกี่ยวเพิ่มขึ้น ปริมำณผลผลิตอ้อยและน้ำตำลไทย หน่วย : ล้านตัน ปริมำณน้ำฝนสะสม หน่วย : มม. ผลผลิตต่อไร่และเนื้อที่เก็บเกี่ยว หน่วย : ตันต่อไร่ หมายเหตุ : ต.ค. 18 – ก.ย. 19 ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของกรมอุตุนิยมวิทยาและสานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย หน่วย : ล้านไร่ 131.0 74.9 66.7 92.1 106.6 112.8 118.2 120.7 14.6 8.3 7.6 10.2 11.8 12.4 13.0 13.3 2025/26F 2024/25F 2018/19* 2019/20 2020/21 2021/22 2022/23F 2023/24F +15.8% +3.5% อ้อย น้าตาล 12.0 10.7 9.3 9.4 9.8 10.0 10.2 10.4 10.8 7.1 7.4 9.8 10.9 11.3 11.6 11.6 0 5 10 15 0 20 40 60 2024/25F 2018/19 2019/20 2021/22 2022/23F 2020/21 2025/26F 2023/24F ผลผลิตต่อไร่ (แกนซ้าย) เนื้อที่เก็บเกี่ยว (แกนขวา) 0 1,000 2,000 Mar Jun Jan Apr Feb May Jul Aug Sep Oct Nov Dec 0 500 1,000 1,500 Jun Apr Jan Sep May Feb Mar Jul Aug Oct Nov Dec เหนือ 2021 เฉลี่ย 30 ปี (1981-2010) 2022 2020 ตะวันออกเฉียงเหนือ กลาง 0 500 1,000 1,500 May Feb Jan Mar Apr Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec 0 1,000 2,000 3,000 Oct Apr Sep Nov Jun Jan Mar Feb May Aug Jul Dec ตะวันออก ปริมาณน้าฝนในปี 2022 ที่เพียงพอต่อการเจริญต่อการเติบโตของต้นอ้อย จะส่งผลให้ผลผลิตต่อไร่ของการปลูกอ้อยปรับตัวดีขึ้น เนื้อที่เก็บเกี่ยวมีแนวโน้มขยายตัว เนื่องจากผลตอบแทนจากการปลูกอ้อยปรับตัวดีขึ้น ส่งผลให้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดและข้าวบางส่วนหันมาปลูกอ้อยเพิ่มขึ้น Sugar
  • 9. 9 EIC Industry insight : Agricultural commodities ผลผลิตน้าตาลโลกในปีการผลิต 2022/2023 และในระยะกลาง ยังมีแนวโน้มเติบโตขึ้นต่อเนื่อง ตามผลผลิตอ้อยในประเทศผู้ผลิตหลัก ที่เพิ่มขึ้น ปริมำณผลผลิตน้ำตำลโลก หน่วย : ล้านตัน ผลผลิตน้ำตำลบรำซิล หน่วย : ล้านตัน ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลขององค์การน้าตาลระหว่างประเทศ (ISO) ปริมำณผลผลิตน้ำตำลและกำรส่งออกน้ำตำลโลกปี 2020/2021 รำยประเทศ หน่วย : ล้านตัน ผลผลิตน้ำตำลอินเดีย หน่วย : ล้านตัน ผลผลิตน้ำตำลบรำซิลในฤดูกำล หน้ำ (เริ่มเก็บเกี่ยว เม.ย. 2023) มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น จาก 1) ปริมาณน้าฝนที่มีแนวโน้มปรับตัว ดีขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ผลผลิตอ้อย ปรับตัวสูงขึ้น 2) สัดส่วนการนา อ้อยไปผลิตน้าตาลมีแนวโน้ม ใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา ผลผลิตน้ำตำลอินเดียในฤดูกำล หน้ำ (เริ่มเก็บเกี่ยว ธ.ค. 2022) มีแนวโน้มปรับตัวลดลงเล็กน้อย จากปริมาณการนาอ้อยไปผลิตเอทา นอลที่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น ตามนโยบายส่งเสริมการใช้เอทานอล ของอินเดีย 40 39 33 36 2021/22 2019/20 2020/21 2022/23 +10.0% 28 31 36 36 2021/22 2019/20 2020/21 2022/23 -0.3% 174.0 171.0 168.5 174.1 179.6 180.5 181.4 182.4 2025/26F 2018/19 2021/22F 2019/20 2020/21 2022/23F 2024/25F 2023/24F +3.4% +3.2% +0.5% ผลผลิต 168 46.3% 18.5% 4.2% อื่น ๆ 22.9% 8.2% ไทย EU อินเดีย บราซิล 31.8% 11.2% อื่น ๆ 47.9% 1.7% 7.4% ส่งออก EU ไทย อินเดีย บราซิล 63 Sugar
  • 10. 10 EIC Industry insight : Agricultural commodities ปริมาณการบริโภคน้าตาลโลกในปี 2023 และในระยะกลาง มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น ตามจานวนประชากรโลกและเศรษฐกิจโลก ที่มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง ปริมำณกำรบริโภคน้ำตำลโลก หน่วย : ล้านตัน กำรเติบโตของกำรบริโภคน้ำตำลโลกและ GDP โลก หน่วย : %YOY จำนวนประชำกรโลก หน่วย : พันล้านคน ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลขององค์การน้าตาลระหว่างประเทศ (ISO), กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) และสหประชาชาติ (UN) 171.0 170.0 172.8 174.9 176.1 177.4 178.8 180.2 2018/19 2025/26F 2023/24F 2019/20 2020/21 2021/22F 2022/23F 2024/25F +1.2% +0.7% +0.8% 7.76 7.84 7.91 7.98 8.05 8.12 8.19 8.26 2025F 2019 2023F 2020 2024F 2022F 2021E 2026F +0.8% +0.9% +0.9% 2.8 5.9 3.0 2.7 -4 -2 0 2 4 6 8 10 2019 -3.3 2022E 2020 2021 2023F 2024F 2025F 2026F การบริโภคน้าตาลโลก GDP โลก เศรษฐกิจโลกที่ปรับตัวดีขึ้น ส่งผลให้ผู้บริโภคมีแนวโน้มที่จะใช้จ่ายด้านการบริโภคเพิ่มขึ้นตามไปด้วย โดยเฉพาะรายจ่ายด้านอาหารและเครื่องดื่ม ซึ่งจาเป็นต้องใช้น้าตาลเป็นส่วนประกอบหลักในการผลิต ประชากรที่เพิ่มขึ้น จะทาให้การบริโภคน้าตาลเพิ่มขึ้นตามไปด้วย Sugar
  • 11. 11 EIC Industry insight : Agricultural commodities ราคาน้าตาลโลกในปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ 18.1 เซนต์ต่อปอนด์ เนื่องจากตลาดน้าตาลโลกมีแนวโน้มกลับมาเผชิญกับ ภาวะเกินดุลอีกครั้ง รำคำน้ำตำลทรำยดิบ นิวยอร์ก no.11 หน่วย : เซนต์ต่อปอนด์ สมดุลน้ำตำลในตลำดโลก (ปริมำณผลผลิต – กำรบริโภค) หน่วย : ล้านตัน หมายเหตุ : *ต.ค. 18 – ก.ย. 19 ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, องค์การน้าตาลระหว่างประเทศ (ISO), World Bank, FAO-OECD (ราคาประมาณการ ณ ก.ย. 2022) สัดส่วนสต็อกน้ำตำลโลกต่อกำรบริโภค หน่วย : สัดส่วน ในปี 2023 ปริมำณ ผลผลิตน้ำตำลจะสูงกว่ำ ปริมำณกำรบริโภคอยู่ 3.5 ล้ำนตัน ซึ่งภาวะ เกินดุลดังกล่าวจะกดดัน ให้ราคาน้าตาลใน ตลาดโลกปรับตัวลดลง ในปี 2023 สัดส่วนสต็อก น้ำตำลโลกต่อกำรบริโภค จะอยู่ที่ 0.55 โดยสัดส่วน ที่ยังคงอยู่ในระดับต่า ดังกล่าว จะช่วยพยุงให้ ราคาน้าตาลปรับตัวลดลง ไม่มากนัก 12.3 17.9 18.6 18.1 17.5 17.2 16.8 2025F 12.9 2022E 2019 2020 2026F 2021 2023F 2024F +4.3% -3.1% -1.8% 3.0 1.0 -4.4 -0.8 3.5 3.2 2.7 2.1 2025/26F 2019/20 2018/19* 2024/25F 2021/22F 2020/21 2023/24F 2022/23F 0.57 0.57 0.56 0.53 0.55 0.56 0.57 0.58 2018/19* 2025/26F 2023/24F 2019/20 2021/22F 2020/21 2022/23F 2024/25F Sugar
  • 12. 12 EIC Industry insight : Agricultural commodities ขณะเดียวกัน ราคาน้ามันดิบที่มีแนวโน้มปรับตัวลดลง จะกดดันให้ราคาน้าตาลโลกปรับลดลงตามไปด้วย แต่อย่างไรก็ดี ค่าเงิน Real ที่มีแนวโน้มแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยจากปีที่ผ่านมาจะมีส่วนช่วยพยุงให้ราคาน้าตาลโลกปรับตัวลดลงไม่มากนัก รำคำน้ำตำลทรำยดิบและรำคำน้ำมันดิบ Brent หน่วย : เซนต์ต่อปอนด์ รำคำน้ำตำลทรำยดิบและค่ำเงิน Real บรำซิล (USD/BRL) หน่วย : เซนต์ต่อปอนด์ สัดส่วนกำรใช้อ้อยเพื่อผลิตน้ำตำลและเอทำนอลในบรำซิล หน่วย : % ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ UNICA, Goldman Sachs, CEIC และ Bloomberg หน่วย : Real ต่อดอลลาร์สหรัฐ หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐ/บาร์เรล 17.9 18.6 18.1 70.3 101.6 89.9 100 10 50 15 20 30 25 0 150 2017 2016 2015 2018 2019 2020 2021 2022E 2023F -11.5% ราคาน้าตาลทรายดิบ นิวยอร์ก no.11 (แกนซ้าย) ราคาน้ามันดิบ Brent (แกนขวา) 35 34 46 45 65 66 54 55 2018/19 (Apr - Mar) 2019/20 2020/21 น้าตาล 2021/22 เอทานอล 17.9 18.6 18.1 5.4 5.1 5.0 15 27 9 12 24 21 30 18 0 2 4 6 8 2022E 2021 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2023F -2.9% ค่าเงิน Real บราซิล (แกนขวา) ราคาน้าตาลทรายดิบ นิวยอร์ก no.11 (แกนซ้าย) ค่าเงิน Real มีความสัมพันธ์กับราคาน้าตาลในตลาดโลก เนื่องจากบราซิล เป็นผู้ส่งออกน้าตาลรายใหญ่ของโลก โดยหากค่าเงิน Real แข็งค่า รายได้จาก การส่งออกน้าตาลในรูปของเงิน real จะปรับตัวลดลง ส่งผลให้แรงจูงใจ ที่จะผลิตน้าตาลของผู้ส่งออกลดลง ซึ่งจะทาให้ปริมาณการส่งออกน้าตาล ของบราซิลลดลง ผลักดันให้ราคาน้าตาลในตลาดโลกปรับตัวเพิ่มขึ้น Sugar
  • 13. 13 EIC Industry insight : Agricultural commodities มูลค่าตลาดน้าตาลในประเทศและมูลค่าการส่งออกน้าตาลในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว 3.8%YOY และ 9.2%YOY ตามลาดับ มูลค่ำตลำดน้ำตำลในประเทศ หน่วย : หมื่นล้านบาท ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของสานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย และกระทรวงพาณิชย์ แนวโน้มมูลค่ำตลำดน้ำตำลปี 2023 • มูลค่ำตลำดน้ำตำลในประเทศมีแนวโน้มปรับตัว เพิ่มขึ้น จากปริมาณการบริโภคในประเทศที่มี แนวโน้มขยายตัว ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจใน ประเทศและราคาน้าตาลในประเทศที่ยังทรงตัว • มูลค่ำกำรส่งออกน้ำตำลมีแนวโน้มปรับตัว เพิ่มขึ้น ตามปริมาณการส่งออกที่คาดว่าจะ ปรับตัวเพิ่มขึ้น • ปริมำณกำรส่งออกน้ำตำลมีแนวโน้มปรับตัว เพิ่มขึ้น เนื่องจาก 1) ผลผลิตน้าตาลของไทยมี แนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นและ 2) ความต้องการ นาเข้าน้าตาลโลกที่ใกล้เคียงกับปริมาณผลผลิต น้าตาลที่สามารถส่งออกได้ • ในระยะกลำง มูลค่ำตลำดน้ำตำลมีแนวโน้ม ขยำยตัวต่อเนื่อง โดยได้รับปัจจัยหนุนจาก ผลผลิตน้าตาลของไทยที่คาดว่าจะขยายตัวอย่าง ต่อเนื่อง มูลค่ำกำรส่งออกน้ำตำล หน่วย : พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 4.9 5.1 4.4 4.1 4.1 4.0 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 2016 2018 2017 2022E 2019 2020 2023F 2021 2024F 2025F 2026F +3.5% +3.8% +1.8% 2.4 2.7 3.1 3.1 1.8 1.5 3.5 3.8 3.8 3.9 3.8 2020 2021 2016 2023F 2026F 2017 2018 2019 2022E 2024F 2025F +127.1% +9.2% -0.3% Sugar
  • 14. 14 EIC Industry insight : Agricultural commodities การบริโภคน้าตาลในประเทศในปี 2023 มีแนวโน้มอยู่ที่ 2.46 ล้านตัน ปรับตัวเพิ่มขึ้นตามภาวะเศรษฐกิจในประเทศที่มีแนวโน้ม ทยอยฟื้นตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง รำคำ และปริมำณกำรบริโภคน้ำตำลในประเทศ หน่วย : บาท/กิโลกรัม กำรเติบโตของกำรบริโภคน้ำตำลไทยและ GDP ไทย หน่วย : %YOY ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของสานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย หน่วย : ล้านตัน เศรษฐกิจไทยที่ปรับตัวดีขึ้น ส่งผลให้ผู้บริโภคมีแนวโน้มที่จะใช้จ่ายด้านการ บริโภคเพิ่มขึ้นตามไปด้วย โดยเฉพาะรายจ่ายด้านอาหารและเครื่องดื่ม ซึ่งจาเป็นต้องใช้น้าตาลเป็นส่วนประกอบหลักในการผลิต 2.60 2.51 2.48 2.31 2.29 2.37 2.46 2.53 2.57 2.62 17.25 18.25 0 5 10 15 20 25 0 1 2 3 4 5 2020 2017 2018 2022E 2019 2023F 2021 2024F 2025F 2026F +3.5% +3.7% ราคาน้าตาลทรายขาวธรรมดา (แกนซ้าย) ปริมาณการบริโภค (แกนขวา) ราคาน้าตาลทรายขาวบริสุทธิ์ (แกนซ้าย) 2.3 1.6 3.0 3.7 -10 -5 0 5 10 2019 -6.1 2020 2021 2022E 2024F 2023F 2025F 2026F การบริโภคน้าตาลไทย GDP ไทย Sugar
  • 15. 15 EIC Industry insight : Agricultural commodities ปริมาณการส่งออกน้าตาลไทยในปี 2023 มีแนวโน้มอยู่ที่ 8.4 ล้านตัน ปรับตัวเพิ่มขึ้น ตามผลผลิตน้าตาลของไทยที่เพิ่มขึ้น และความต้องการนาเข้าน้าตาลโลกที่ใกล้เคียงกับปริมาณผลผลิตน้าตาลที่สามารถส่งออกได้ ปริมำณผลผลิตน้ำตำลไทยและปริมำณกำรส่งออกน้ำตำล หน่วย : ล้านตัน ควำมต้องกำรนำเข้ำน้ำตำลโลกและปริมำณน้ำตำลโลกที่สำมำรถส่งออกได้ หน่วย : ล้านตัน ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์, องค์การน้าตาลระหว่างประเทศ (ISO), FAO-OECD, และสานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย 9.8 14.7 14.6 7.6 10.2 11.8 12.4 13.0 13.3 6.4 9.3 10.0 5.5 7.4 8.4 8.7 9.0 9.1 2020 10.0 2016 2017 2025F 5.9 2018 2019 8.3 3.6 2021 2022E 2023F 2024F 2026F +107.6% +13.5% ผลผลิต ส่งออก 57.5 66.1 62.8 61.0 60.5 60.9 61.4 61.9 57.5 66.1 62.8 61.7 62.9 64.4 64.8 65.1 2022F 2024F 2021 2019 2026F 2025F 2020 2023F ปริมาณน้าตาลที่สามารถส่งออกได้ ความต้องการนาเข้าน้าตาล ตลำดส่งออกน้ำตำลของไทยปี 2021 หน่วย : % 29.8% 14.7% 10.3% 7.9% 6.4% 31.0% อินโดนีเซีย อื่นๆ ไต้หวัน เกาหลีใต้ เวียดนาม กัมพูชา 100% Sugar
  • 16. 16 EIC Industry insight : Agricultural commodities ราคาส่งออกน้าตาลไทยในปี 2023 มีแนวโน้มอยู่ที่ 455 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน ปรับตัวลดลงตามราคาน้าตาลในตลาดโลก ที่มีแนวโน้มปรับตัวลดลง ซึ่งเป็นผลจากภาวะเกินดุลในตลาดน้าตาล รำคำส่งออกน้ำตำลโดยเฉลี่ยของไทยและรำคำน้ำตำลทรำยดิบ นิวยอร์ก no.11 หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน รำคำน้ำตำลทรำยดิบ นิวยอร์ก no. 11 หน่วย : เซนต์ต่อปอนด์ ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์, Bloomberg และบริษัทอ้อยและน้าตาลไทย (อนท.) หน่วย : เซนต์ต่อปอนด์ 382 466 326 431 471 455 438 431 420 18.2 15.8 12.2 12.4 12.9 17.9 18.6 18.1 17.5 17.2 16.8 0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 0 50 100 150 200 250 300 350 400 450 500 550 600 2018 2016 2017 2023F 2019 2020 2021 2022E 2024F 2025F 2026F -3.4% -2.0% 330 ราคาส่งออกน้าตาลไทย (แกนซ้าย) ราคาน้าตาลทรายดิบ no. 11 (แกนขวา) ณ วันที่ 13 ก.ย. 2022 บริษัทอ้อยและน้าตาลไทย (อนท.) ได้มีการขายน้าตาล ทรายดิบล่วงหน้าของฤดูการผลิต 2022/2023 ออกไปแล้ว 51.05% โดยราคา เฉลี่ยที่ขายได้อยู่ที่ 18.94 เซนต์ต่อปอนด์ และค่าพรีเมียมอยู่ที่ 1.15 เซนต์ต่อ ปอนด์ คิดเป็นราคาเฉลี่ย 20.09 เซนต์ต่อปอนด์ 18.518.2 19.1 19.7 19.3 18.8 18.3 18.1 18.2 8 10 12 14 16 18 20 22 Dec Mar Jun Jan Feb Apr May Jul Nov Aug Sep Oct 2020 2021 2022 Sugar
  • 17. 17 EIC Industry insight : Agricultural commodities ประเด็นสาคัญที่จะส่งผลต่อภาวะธุรกิจ การชะลอตัว ของเศรษฐกิจโลก นโยบายควบคุมการส่งออก น้าตาลของอินเดีย ความแปรปรวน ของสภาพภูมิอากาศ กระแสรักสุขภาพ ของผู้บริโภค ภาวะเศรษฐกิจโลก จะส่งผลกระทบต่อความ ต้องการบริโภคน้าตาลโลก โดยหากเศรษฐกิจ โลกมีแนวโน้มเติบโตในอัตราที่ชะลอลงกว่าที่ คาดการณ์ไว้ ก็จะส่งผลให้ความต้องการบริโภค น้าตาลโลกเติบโตต่ากว่าที่คาด และส่งผล ต่อเนื่องให้ราคาน้าตาลโลกปรับตัวลดลง มากกว่าที่คาด อินเดียเป็นผู้ส่งออกน้าตาลที่สาคัญของโลก โดยในทุก ๆ ปีการผลิต รัฐบาลอินเดีย จะกาหนดโควตาการส่งออกน้าตาล ซึ่งหาก รัฐบาลอินเดีย มีการกาหนดโควตาการส่งออก น้าตาลในระดับที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการ ในตลาดโลก ก็อาจจะทาให้ราคาน้าตาลใน ตลาดโลกปรับตัวเพิ่มขึ้นได้ ความแปรปรวนของสภาพดินฟ้าอากาศ และปัญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติ จะส่งผล กระทบต่อปริมาณผลผลิตอ้อยในประเทศ เนื่องจากพื้นที่ปลูกอ้อยส่วนใหญ่ของไทยอยู่ นอกเขตชลประทานและอาศัยน้าฝนเป็นหลัก กระแสรักสุขภาพ (Health conscious) เป็นหนึ่งในเทรนด์สาคัญของโลก ที่จะกระทบต่อ อุตสาหกรรมน้าตาล เนื่องจากการบริโภคน้าตาล ในปริมาณมากจะทาให้เกิดโรคต่าง ๆ ได้ เช่น โรคเบาหวาน โรคอ้วน เป็นต้น ส่งผลให้ผู้บริโภค ที่ใส่ใจการรักษาสุขภาพ หันมาบริโภคสินค้า ที่ปราศจากน้าตาลมากขึ้น ในขณะเดียวกัน ภาครัฐก็มีการดาเนินนโยบาย เช่น ภาษีน้าตาล ที่ส่งเสริมให้ประชาชนลดการบริโภคน้าตาลลง 1 2 3 4 Sugar
  • 18. อุตสาหกรรมมันสาปะหลัง อุตสำหกรรมมันสำปะหลังมีแนวโน้มขยำยตัวต่อเนื่อง สอดคล้องกับปริมำณผลผลิต ปริมำณกำรส่งออก และรำคำมันสำปะหลังที่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นตำมควำมต้องกำรนำเข้ำจำกคู่ค้ำสำคัญอย่ำงจีนที่ขยำยตัว ดี โดยในปี 2023 ปริมาณผลผลิตหัวมันสาปะหลังสดมีแนวโน้มอยู่ที่ 36.1 ล้านตัน ปรับตัวเพิ่มขึ้น 4.1%YOY จากผลผลิตต่อไร่และพื้นที่เก็บเกี่ยวที่เพิ่มขึ้น สาหรับราคาหัวมันสาปะหลังสด คาดว่าจะอยู่ที่ 2.56 บาทต่อ กิโลกรัม ปรับตัวเพิ่มขึ้น 1.6%YOY เนื่องจากความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลังของประเทศคู่ค้ายังมี แนวโน้มขยายตัวและราคาข้าวโพดในจีนมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยในปี 2023 คาดว่า มูลค่าการส่งออก ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลังของไทยมีแนวโน้มอยู่ที่ 4.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ปรับตัวเพิ่มขึ้น 5.7%YOY สอดคล้อง กับมูลค่าการส่งออกมันเส้น แป้งมันสาปะหลังดิบและแป้งดัดแปรที่มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง จากปริมาณการ ส่งออกที่มีแนวโน้มเติบโต โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจาก 1) ส่วนต่างราคาระหว่างข้าวโพดจีนและมันเส้นไทย ที่ยังมีแนวโน้มอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้จีนมีความต้องการนาเข้ามันเส้นเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบผลิตแอลกอฮอล์ ทดแทนการใช้ข้าวโพดเพิ่มขึ้น และ 2) เศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าที่มีแนวโน้มขยายตัว แต่อย่างไรก็ตาม อุตสาหกรรมยังต้องเผชิญความเสี่ยงจากความไม่แน่นอนของภาวะเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า การเปลี่ยนแปลง นโยบายของจีน การกลับมาระบาดของโรคใบด่าง และสภาวะภูมิอากาศสุดขั้ว สำหรับในระยะกลำง อุตสำหกรรมมันสำปะหลังมีแนวโน้มขยำยตัว โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจำกควำมต้องกำรใช้ผลิตภัณฑ์ จำกมันสำปะหลังของประเทศคู่ค้ำและผลผลิตมันสำปะหลังของไทยที่ยังมีแนวโน้มขยำยตัวอย่ำงต่อเนื่อง EIC Industry insight : Agricultural commodities
  • 19. 19 EIC Industry insight : Agricultural commodities ในปี 2023 อุตสาหกรรมมันสาปะหลังมีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง ตามปริมาณผลผลิตและมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์มันสาปะหลังที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์และสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ภำพรวมภำวะธุรกิจ • ในปี 2023 อุตสำหกรรมมันสำปะหลังมีแนวโน้ม ขยำยตัวต่อเนื่อง จากปริมาณผลผลิตและมูลค่าการ ส่งออกผลิตภัณฑ์มันสาปะหลังที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น • ผลผลิตหัวมันสำปะหลังสดมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นไปอยู่ ที่ 36.1 ล้ำนตัน (4.1%YOY) จากผลผลิตต่อไร่และ พื้นที่เก็บเกี่ยวที่เพิ่มสูงขึ้น • รำคำหัวมันสำปะหลังสดมีแนวโน้มอยู่ที่ 2.56 บำท/ กิโลกรัม (+1.6%YOY) ปรับตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจาก ความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลังของประเทศ คู่ค้ายังมีแนวโน้มขยายตัว และราคาข้าวโพดในจีนมี แนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น • มูลค่ำกำรส่งออกมันสำปะหลังมีแนวโน้มอยู่ที่ 4.6 พันล้ำนดอลลำร์สหรัฐ (+5.7%YOY) ปรับตัวเพิ่มขึ้น ตามการขยายตัวของราคาและปริมาณการส่งออก • สำหรับในระยะกลำง อุตสำหกรรมมันสำปะหลังมี แนวโน้มขยำยตัว โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากความ ต้องการใช้ผลิตภัณฑ์จากมันสาปะหลังของประเทศ คู่ค้าและผลผลิตมันสาปะหลังของไทยที่ยังมีแนวโน้ม ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ปริมำณผลผลิตหัวมันสำปะหลังสด หน่วย : ล้านตัน มูลค่ำกำรส่งออกผลิตภัณฑ์จำกมันสำปะหลัง หน่วย : พันล้านดอลลาร์สหรัฐ Key Indicator 2015-2020 2021 2022E 2023F 2024F 2025F 2026F ปริมำณกำรส่งออกผลิตภัณฑ์จำกมันสำปะหลัง (ล้ำนตัน) 9.3 10.5 10.9 11.3 11.7 12.1 12.5 รำคำหัวมันสด (บำท/กิโลกรัม) 1.86 2.07 2.52 2.56 2.53 2.42 2.41 31.2 30.5 29.4 31.1 29.0 35.1 34.7 36.1 36.4 36.6 36.9 2021 2018 2019 2016 2017 2022F 2020 2023F 2024F 2025F 2026F -1.1% +4.1% +0.7% 3.1 4.0 4.4 4.6 4.7 4.7 4.8 2017 2024F 2016 2020 2.8 2026F 2025F 2023F 2022E 2021 2018 2.9 2.6 2.7 2019 +10.6% +5.7% +0.6% มูลค่าเฉลี่ย 7 ปี ตัดค่าสูงต่าออก Cassava
  • 20. 20 EIC Industry insight : Agricultural commodities 0 500 1,000 1,500 0 500 1,000 1,500 2,000 0 500 1,000 1,500 ปริมาณผลผลิตหัวมันสาปะหลังสดในปี 2023 มีแนวโน้มอยู่ที่ 36.1 ล้านตัน ปรับตัวเพิ่มขึ้น 4.1%YOY ตามผลผลิตต่อไร่ และเนื้อที่เก็บเกี่ยวที่มีแนวโน้มขยายตัว ปริมำณผลผลิตหัวมันสำปะหลังสด หน่วย : ล้านตัน ปริมำณฝนสะสมเฉลี่ยรำยภำค หน่วย : มม. ผลผลิตต่อไร่และเนื้อที่เก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง หน่วย : ตันต่อไร่ ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรและกรมอุตุนิยมวิทยา หน่วย : ล้านไร่ 31.2 30.5 29.4 31.1 29.0 35.1 34.7 36.1 36.4 36.6 36.9 2024F 2016 2017 2018 2021E 2023F 2022F 2019 2020 2025F 2026F -1.1% +4.1% +0.7% 9.1 8.7 8.3 8.7 8.9 10.4 10.2 10.4 10.4 10.4 10.5 3.4 3.4 3.5 3.5 3.5 3.5 0 1 2 3 4 0 10 20 30 40 2020 2019 2018 2016 2021E 2017 2022F 2023F 2024F 2025F 2026F +2.1% ผลผลิตต่อไร่ (แกนซ้าย) พื้นที่เพาะปลูก (แกนขวา) • ผลผลิตต่อไร่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น เล็กน้อย จากปริมาณน้าฝนที่ปรับตัวดีขึ้น • เนื้อที่เก็บเกี่ยวมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น จากราคามันสาปะหลังที่อยู่ในเกณฑ์ดี ส่งผลให้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดและข้าว บางส่วนหันมาปลูกมันสาปะหลังเพิ่มขึ้น เหนือ (22% ของ ผลผลิตทั้งประเทศ) กลาง (22% ของ ผลผลิตทั้งประเทศ) ตะวันออกเฉียงเหนือ (56% ของ ผลผลิตทั้งประเทศ) Jan May Sep Mar Feb Jul Jun Apr Aug Oct Nov Dec Jul Mar Feb Jan Apr Aug May Jun Sep Oct Nov Dec เฉลี่ย 30 ปี (1981-2010) 2022 2021 2020 Aug Feb Jul Jan Mar Apr Jun May Sep Oct Nov Dec Cassava
  • 21. 21 EIC Industry insight : Agricultural commodities ราคาหัวมันสาปะหลังสดในปี 2023 มีแนวโน้มอยู่ที่ 2.56 บาท/กิโลกรัม ปรับตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ มันสาปะหลังของประเทศคู่ค้ายังมีแนวโน้มขยายตัว และราคาข้าวโพดในจีนมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น รำคำหัวมันสำปะหลังสดไทย หน่วย : บาท/กิโลกรัม รำคำหัวมันสำปะหลังสดไทยและรำคำข้ำวโพดในจีน หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, CEIC และ Trademap หน่วย : บาท/กิโลกรัม ปริมำณกำรส่งออกผลิตภัณฑ์จำกมันสำปะหลัง หน่วย : ล้านตัน 11.3 11.1 8.3 6.6 7.1 10.5 10.9 11.3 11.7 12.1 12.5 2016 2020 2017 2018 2019 2021 2022E 2023F 2024F 2025F 2026F +3.7% +3.8% 1.52 2.38 1.89 1.80 2.52 2.56 2.53 2.42 2.41 1 2 3 4 2.07 2016 2021 1.40 2019 2017 2018 2020 2022E 2023F 2024F 2025F 2026F +21.7% +1.6% 2.50 0.0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 200 250 300 350 400 450 500 550 2017 2015 2020 2018 2019 2021 2016 9M22 ราคาหัวมันสาปะหลังสด (แกนขวา) ราคาข้าวโพดในจีน (แกนซ้าย) • รำคำมันสำปะหลังมีควำมสัมพันธ์กับรำคำข้ำวโพดในจีน เนื่องจากข้าวโพดและมัน สาปะหลังเป็นสินค้าที่สามารถใช้ทดแทนกันได้ในหลายอุตสาหกรรม ดังนั้น ในช่วงที่ ราคาข้าวโพดในจีนปรับตัวเพิ่มขึ้น จะส่งผลให้ราคาหัวมันสาปะหลังสดของไทยเพิ่มขึ้น ตามไปด้วย • EIC มองว่ำรำคำข้ำวโพดของจีนในปีหน้ำมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยเป็นผลมาจาก สต็อกข้าวโพดในจีนที่มีแนวโน้มปรับตัวลดลง Cassava
  • 22. 22 EIC Industry insight : Agricultural commodities มูลค่าการส่งออกมันเส้นของไทยในปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น 8.0%YOY โดยเป็นผลมาจากปริมาณและราคาส่งออกที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น มูลค่ำกำรส่งออกมันเส้นของไทย หน่วย : พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ ภำพรวมภำวะมันเส้น • มูลค่ำกำรส่งออกมันเส้นของไทยในปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น 8.0%YOY โดยเป็นผลมาจากปริมาณและราคาส่งออกที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น • ปริมำณกำรส่งออกมันเส้นมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น 5.2%YOY เนื่องจากส่วนต่างราคาระหว่างข้าวโพดจีนและมันเส้นไทยยังมีแนวโน้ม อยู่ในระดับสูง ส่งผลให้จีนมีความต้องการนาเข้ามันเส้นเพื่อใช้เป็น วัตถุดิบผลิตแอลกอฮอล์ ทดแทนการใช้ข้าวโพดเพิ่มขึ้น นอกจากนั้น สต็อกข้าวโพดของรัฐบาลจีนที่อยู่ในระดับต่า และการที่จีนแนะนาให้ โรงงานผลิตอาหารสัตว์ลดการใช้ข้าวโพดและถั่วเหลืองในการผลิต อาหารไก่และสุกร ยังจะช่วยทาให้จีนมีความต้องการนาเข้ามันเส้น เพิ่มขึ้นอีกด้วย • ในระยะกลำง มูลค่ำกำรส่งออกมันเส้นยังมีแนวโน้มขยำยตัว โดยได้รับปัจจัยบวกจากผลผลิตและความต้องการใช้ที่คาดว่าจะยัง เติบโตต่อเนื่อง ประเด็นที่ต้องติดตำม • นโยบำยกำรเกษตรของจีนที่เกี่ยวข้องกับข้ำวโพด การส่งออกมันเส้น ของไทยพึ่งพาตลาดจีนเป็นหลัก ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงนโยบายของ จีนจะส่งผลกระทบต่อความต้องการนาเข้ามันเส้นจากไทย • กำรกลับมำระบำดของโรคใบด่ำงและสภำพภูมิอำกำศ ที่อาจส่งผล กระทบต่อปริมาณผลผลิตมันสาปะหลังในประเทศ ปริมำณและรำคำส่งออกมันเส้น หน่วย : ล้านตัน หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน 1.11 1.07 0.89 0.52 0.69 1.32 1.45 1.56 1.60 1.59 1.64 2016 2017 2018 2019 2023F 2020 2021 2022E 2024F 2025F 2026F +9.6% +8.0% +1.2% 6.4 4.0 2.4 3.1 5.3 5.6 5.9 6.2 6.4 6.7 225 249 257 265 261 248 247 0 100 200 300 0 5 10 15 2022E 2021 2020 2016 2017 2018 2023F 2019 2024F 2025F 2026F 6.4 +5.2% +6.0% ปริมาณ (แกนซ้าย) ราคาส่งออกโดยเฉลี่ย (แกนขวา) Cassava
  • 23. 23 EIC Industry insight : Agricultural commodities ปริมาณการส่งออกมันเส้นยังมีแนวโน้มเติบโตในปี 2023 และในระยะต่อไป เพราะส่วนต่างราคาระหว่างข้าวโพดจีนและมันเส้นไทยยังมี แนวโน้มอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้จีนมีความต้องการนาเข้ามันเส้นเพื่อใช้ผลิตแอลกอฮอล์ ทดแทนการใช้ข้าวโพดเพิ่มขึ้น รำคำข้ำวโพดในจีนและรำคำส่งออกมันเส้นของไทย หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน สมดุลข้ำวโพดในจีน หน่วย : ล้านตัน หมายเหตุ : ต.ค. 2015 – ก.ย. 2016 ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ USDA และ CEIC ปริมำณกำรนำเข้ำข้ำวโพดของจีน หน่วย : ล้านตัน 0 50 100 150 200 250 300 350 400 450 500 550 600 2016 06/22 03/22 2018 2017 2021 2015 2019 2020 01/22 02/22 04/22 05/22 07/22 08/22 159 119 ราคาข้าวโพดในจีน (แกนซ้าย) ราคาส่งออกมันเส้นของไทย (แกนซ้าย) ส่วนต่างราคา (แกนซ้าย) 3 2 3 4 8 30 22 18 2020 2017 2016 2018 2019 2022E 2021 2023F 0 200 300 250 2020/21 291 295 209 274 206 2016/17 2022/23F 2017/18 2015/16* 2021/22F 2018/19 273 2019/20 +1.4% +0.5% ผลผลิต บริโภค สต็อก Cassava
  • 24. 24 EIC Industry insight : Agricultural commodities ในเดือน มี.ค. 2016 รัฐบำลจีน ยกเลิกโครงกำรรับจำนำข้ำวโพด ปริมาณสต็อกข้าวโพดของรัฐบาลจีนที่อยู่ในระดับต่า และการที่รัฐบาลจีนแนะนาให้โรงงานผลิตอาหารสัตว์ลดการใช้ข้าวโพดและถั่ว เหลืองในการผลิตอาหารไก่และสุกร ยังจะช่วยหนุนให้จีนมีความต้องการนาเข้ามันเส้นจากไทยเพิ่มขึ้น สต็อกข้ำวโพดของรัฐบำลจีน หน่วย : ล้านตัน ปริมำณกำรระบำยสต็อกข้ำวโพดของจีนและปริมำณกำรส่งออกมันเส้นของไทย หน่วย : ล้านตัน ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ USDA, Reuters, และ Goldman Sachs 4.0 2.4 3.1 5.3 5.6 5.9 6.2 6.4 6.7 0 100 2 4 22 6 2023F 2020 2019 2021 2025F 2017 2022E 2024F 100.0 22.0 2018 6.4 2026F 58.1 57.0 +73.0% +6.0% +5.2% +4.0% ปริมาณการระบายสต็อกข้าวโพดของรัฐบาลจีน ปริมาณการส่งออกมันเส้นของไทย ในเดือน เม.ย. 2021 จีนแนะนำให้โรงงำนผลิตอำหำรสัตว์ในภำคใต้ของจีนลดกำรใช้ข้ำวโพดและถั่วเหลืองในกำรผลิตอำหำรไก่และสุกร Corn replacement % of corn cut South 10%-15% sorghum,10%-20% cassava chips, 5%-10% rice bran meal, and 10-15% barley Cassava
  • 25. 25 EIC Industry insight : Agricultural commodities มูลค่ำกำรส่งออกแป้งมันสำปะหลังดิบของไทย หน่วย : พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ ภำพรวมภำวะแป้งมันสำปะหลังดิบ • มูลค่ำกำรส่งออกแป้งมันสำปะหลังดิบของไทยในปี 2023 มีแนวโน้ม ปรับตัวเพิ่มขึ้น 5.0%YOY โดยเป็นผลมาจากทั้งปัจจัยด้านราคาและ ปริมาณการส่งออกที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น • ปริมำณกำรส่งออกแป้งมันสำปะหลังมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น 2.4%YOY สอดคล้องกับความต้องการนาเข้าเพื่อใช้ในอุตสาหกรรม ต่อเนื่องของประเทศคู่ค้ายังที่มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องตามเศรษฐกิจ ที่มีแนวโน้มเติบโต • ในระยะกลำง มูลค่าการส่งออกมีแนวโน้มขยายตัว โดยได้รับปัจจัยบวก จากผลผลิตและความต้องการใช้ที่คาดว่าจะยังขยายตัวต่อเนื่องตาม การเติบโตของเศรษฐกิจโลก ประเด็นที่ต้องติดตำม • กำรกลับมำระบำดของโรคใบด่ำงและสภำพภูมิอำกำศ ที่อาจส่งผล กระทบต่อปริมาณผลผลิตมันสาปะหลังในประเทศ ปริมำณและรำคำส่งออกแป้งมันสำปะหลังดิบ หน่วย : ล้านตัน หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน มูลค่าการส่งออกแป้งมันสาปะหลังดิบของไทยในปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น 5.0%YOY โดยเป็นผลมาจากทั้งปัจจัยด้านราคา และปริมาณการส่งออกที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น 1.1 1.0 1.4 1.2 1.2 1.7 1.9 2.0 2.0 2.0 2.0 2018 2016 2017 2019 2020 2021 2022E 2023F 2024F 2025F 2026F +11.6% +5.0% 0.0% 3.3 2.9 2.8 2.8 3.7 3.8 3.9 4.0 4.1 4.2 438 418 497 510 503 482 480 0 200 400 600 0 2 4 6 8 2016 2022E 2018 2021 2020 2017 2019 2023F 2024F 2025F 2026F 3.1 +3.5% +2.4% ปริมาณ (แกนซ้าย) ราคาส่งออกโดยเฉลี่ย (แกนขวา) Cassava
  • 26. 26 EIC Industry insight : Agricultural commodities อัตรำกำรเติบโตของ GDP ประเทศคู่ค้ำ หน่วย : %YOY ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของสมาคมผู้ค้ามันสาปะหลัง และกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) อุตสำหกรรมที่ใช้แป้งมันสำปะหลังเป็นวัตถุดิบ อุตสำหกรรมอำหำรและเครื่องดื่ม: แป้งมันสาปะหลังมีคุณสมบัติพิเศษ คือ ไม่มีรสชาติ ทาให้เป็นที่นิยมนาไปใช้เป็นส่วนประกอบในอาหารสาเร็จรูป เช่น อาหารเด็ก บะหมี่ อาหารกระป๋อง เพื่อช่วยให้อาหารเกิดความคงตัว เกิด ความข้นและเกาะตัวกันดีขึ้น ปริมาณการส่งออกแป้งมันสาปะหลังดิบในปี 2023 และในระยะต่อไป มีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับปัจจัยหนุนจากความ ต้องการนาเข้าเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมต่อเนื่องของประเทศคู่ค้าที่ยังมีแนวโน้มขยายตัวดี ผงชูรส : เป็นวัตถุดิบในการผลิต สำรให้ควำมหวำน : ทาน้าตาลกูลโคส สิ่งทอ : ใช้ในการชุบด้าย ไม้อัด : เป็นส่วนผสมของกาว กระดำษ : ใช้ผสมในเยื่อกระดาษเพื่อให้เกิดความเหนียวและเพิ่มความหนา ของกระดาษ ยำรักษำโรค : ใช้เป็นตัวเจือจางในยาประเภทแคปซูลและยาเม็ด อุตสำหกรรมเคมีภัณฑ์ : ใช้ผลิตพลาสติกชีวภาพ 3.0 4.8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 10 2026F 2025F 2022E 2023F 2020 2024F 2021 China (63.2%*) Japan (4.4%) Taiwan (8.3%) Malaysia (4.2%) U.S.A. (3.6%) หมายเหตุ : *สัดส่วนปริมาณการส่งออกไปประเทศดังกล่าวต่อการส่งออกทั้งหมดของไทย Cassava
  • 27. 27 EIC Industry insight : Agricultural commodities มูลค่ำกำรส่งออกแป้งมันสำปะหลังดัดแปรของไทย หน่วย : พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ ภำพรวมภำวะแป้งมันสำปะหลังดัดแปร • มูลค่ำกำรส่งออกแป้งมันสำปะหลังดัดแปรในปี 2023 มีแนวโน้ม ปรับตัวเพิ่มขึ้น 4.5%YOY โดยเป็นผลมาจากทั้งปัจจัยด้านราคา และปริมาณการส่งออกที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น • ปริมำณกำรส่งออกแป้งมันสำปะหลังดัดแปรมีแนวโน้มปรับตัว เพิ่มขึ้น 2.6%YOY เนื่องจากความต้องการนาเข้าเพื่อใช้ใน อุตสาหกรรมต่อเนื่องของประเทศคู่ค้า เช่น อาหาร เครื่องสาอาง ยา มีแนวโน้มขยายตัวตามเศรษฐกิจที่มีแนวโน้มเติบโตดี • ในระยะกลำง มูลค่ำกำรส่งออกมีแนวโน้มขยำยตัวดีต่อเนื่อง โดยได้รับปัจจัยบวกจากผลผลิตและความต้องการใช้ที่เพิ่มขึ้นจาก หลากหลายอุตสาหกรรม ประเด็นที่ต้องติดตำม • กำรกลับมำระบำดของโรคใบด่ำงและสภำพภูมิอำกำศ ที่อาจส่งผล กระทบต่อปริมาณผลผลิตมันสาปะหลังในประเทศ มูลค่าการส่งออกแป้งมันสาปะหลังดัดแปรในปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น 4.5%YOY โดยเป็นผลมาจากทั้งปัจจัยด้านราคา และปริมาณการส่งออกที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น ปริมำณและรำคำกำรส่งออกแป้งมันสำปะหลังดัดแปร หน่วย : ล้านตัน 0.61 0.62 0.76 0.77 0.76 0.85 0.95 0.99 1.01 1.01 1.03 2016 2018 2017 2024F 2021 2023F 2020 2019 2022E 2025F 2026F +11.1% +4.5% +1.1% หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.1 1.2 1.2 1.2 1.3 1.3 729 760 820 836 830 809 807 0 500 1,000 0 1 2 3 2019 2023F 2016 2017 2022E 2020 2018 2021 2024F 2025F 2026F +2.7% +2.6% ปริมาณ (แกนซ้าย) ราคาส่งออกโดยเฉลี่ย (แกนขวา) Cassava
  • 28. 28 EIC Industry insight : Agricultural commodities ประเด็นสาคัญที่จะส่งผลต่อภาวะธุรกิจ การชะลอตัวของ เศรษฐกิจประเทศคู่ค้า นโยบายข้าวโพดของจีน ความแปรปรวน ของสภาพภูมิอากาศ การกลับมาระบาด ของโรคใบด่าง ความไม่แน่นอนของแนวโน้มเศรษฐกิจประเทศ คู่ค้า จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกผลิตภัณฑ์ มันสาปะหลังของไทย เนื่องจากความต้องการ นาเข้าเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมต่อเนื่องของ ประเทศคู่ค้า จะปรับตัวสอดคล้องกับภาวะ เศรษฐกิจ การส่งออกมันเส้นของไทยพึ่งพาตลาดจีนเป็นหลัก (สัดส่วน 99% ของปริมาณส่งออกมันเส้น ทั้งหมดของไทยในปี 2021) ดังนั้น การ เปลี่ยนแปลงนโยบายด้านการเกษตรของจีน ที่เกี่ยวข้องกับข้าวโพด จะส่งผลกระทบโดยตรง ต่อความต้องการนาเข้ามันเส้นจากไทย ตัวอย่างเช่น การยกเลิกโครงการรับจานา ข้าวโพดส่งผลให้จีนมีความต้องการนาเข้ามัน เส้นจากไทยลดลงในช่วงปี 2018 – 2020 ความแปรปรวนของสภาพดินฟ้าอากาศ และปัญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติ จะส่งผล กระทบต่อปริมาณผลผลิตมันสาปะหลังใน ประเทศ เนื่องจากพื้นที่ปลูกมันสาปะหลัง ส่วนใหญ่ของไทยอยู่นอกเขตชลประทาน และอาศัยน้าฝนเป็นหลัก โรคใบด่างสามารถทาให้ผลผลิตมันสาปะหลัง เสียหายได้มากถึง 80-100% โดย ณ วันที่ 14 พ.ย. 22 พบพื้นที่ระบาดใน 19 จังหวัดของไทย ครอบคลุมพื้นที่จานวน 0.1 ล้านไร่ (ราว 0.9% ของเนื้อที่เก็บเกี่ยว) 1 2 3 4 Cassava
  • 29. อุตสาหกรรมข้าว อุตสำหกรรมข้ำวในปี 2023 มีแนวโน้มขยำยตัว จำกปริมำณผลผลิตที่เพิ่มขึ้น ขณะที่นโยบำยควบคุม กำรส่งออกข้ำวของอินเดียเป็นปัจจัยสนับสนุนสำคัญที่ส่งผลให้ปริมำณกำรส่งออกและรำคำข้ำวไทยปรับตัว ดีขึ้น โดยปริมาณผลผลิตข้าวมีแนวโน้มอยู่ที่ 34.2 ล้านตัน ปรับตัวเพิ่มขึ้น 1.8%YOY ตามผลผลิตต่อไร่และเนื้อ ที่เก็บเกี่ยวข้าวที่่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น จากปริมาณน้าที่เพียงพอต่อการเพาะปลูก ในขณะที่ราคาส่งออกข้าว ไทยโดยเฉลี่ยในปี 2023 คาดว่า จะปรับตัวเพิ่มขึ้น 14.4%YOY มาอยู่ที่ 596 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน จากสต็อกข้าว โลกที่มีแนวโน้มปรับตัวลดลงและนโยบายควบคุมการส่งออกข้าวของอินเดีย โดยในปี 2023 คำดว่ำมูลค่ำกำร ส่งออกข้ำวของไทยจะอยู่ที่ 5.1 พันล้ำนดอลลำร์สหรัฐ ขยำยตัว 25.8%YOY สอดคล้องกับปริมาณการส่งออก ข้าวที่คาดว่าจะอยู่ที่ 8.6 ล้านตัน ปรับตัวเพิ่มขึ้น 10.3%YOY โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจาก 1) ความสามารถ ในการแข่งขันด้านราคาของข้าวไทยที่ปรับตัวดีขึ้น จากนโยบายควบคุมการส่งออกข้าวของอินเดียและ 2) ปริมาณผลผลิตข้าวไทยมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม อุตสาหกรรมยังต้องเผชิญความเสี่ยงจาก การเปลี่ยนแปลงนโยบายของอินเดีย สภาวะภูมิอากาศสุดขั้ว และต้นทุนการผลิตข้าวที่สูงกว่าคู่แข่ง สำหรับ ในระยะกลำง อุตสำหกรรมข้ำวมีแนวโน้มขยำยตัวต่อเนื่อง สอดคล้องกับรำคำข้ำวและผลผลิตข้ำวไทยที่มี แนวโน้มขยำยตัว ประกอบกับควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของข้ำวไทยที่มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น จำกนโยบำย ควบคุมกำรส่งออกข้ำวของอินเดีย EIC Industry insight : Agricultural commodities
  • 30. 30 EIC Industry insight : Agricultural commodities ปริมำณผลผลิตข้ำวเปลือก หน่วย : ล้านตัน ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ภำพรวมภำวะธุรกิจ • อุตสำหกรรมข้ำวในปี 2023 มีแนวโน้มขยำยตัว จากปริมาณผลผลิต ปริมาณการส่งออกและราคา ข้าวที่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น • ปริมำณผลผลิตข้ำวเปลือกในประเทศมีแนวโน้ม ปรับตัวเพิ่มขึ้น 1.8%YOY ตามผลผลิตต่อไร่และ เนื้อที่เก็บเกี่ยวที่่เพิ่มขึ้น • มูลค่ำกำรส่งออกข้ำวมีแนวโน้มขยำยตัว 25.8%YOY ตามปริมาณและราคาส่งออกข้าวที่มี แนวโน้มปรับตัวเพิ่ม จาก 1) สต็อกข้าวโลกที่มี แนวโน้มปรับตัวลดลงและ 2) อินเดียห้ามส่งออก ปลายข้าวและขึ้นภาษีส่งออกข้าวขาวและข้าวกล้อง ทุกชนิด 20% • ในระยะกลำง อุตสำหกรรมข้ำวมีแนวโน้มขยำยตัว ต่อเนื่อง จากราคาและผลผลิตข้าวไทยมีแนวโน้ม ขยายตัว และความสามารถในการแข่งขันของข้าว ไทยที่ปรับตัวดีขึ้น จากนโยบายควบคุมการส่งออก ข้าวของอินเดีย • อย่ำงไรก็ตำม อุตสำหกรรมยังต้องเผชิญควำม เสี่ยงจำกกำรเปลี่ยนแปลงนโยบำยส่งออกข้ำว ของอินเดีย สภำวะภูมิอำกำศสุดขั้ว และต้นทุน กำรผลิตที่สูงกว่ำคู่แข่ง อุตสาหกรรมข้าวในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว จากปริมาณผลผลิต ปริมาณการส่งออกและราคาข้าวที่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น 32.3 28.6 31.7 33.6 34.2 34.3 34.4 34.5 2018/19 2023/24F 2019/20 2020/21 2021/22F 2025/26F 2024/25F 2022/23F +6.0% +1.8% +0.3% มูลค่ำกำรส่งออกข้ำว หน่วย : พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 4.4 5.2 5.7 4.2 3.7 3.5 4.1 5.1 5.2 5.4 5.5 2018 2016 2017 2019 2021 2022E 2020 2023F 2024F 2025F 2026F +17.6% +25.8% +3.2% Key Indicator 2016-21 2021 2022E 2023F 2024F 2025F 2026F ปริมำณกำรส่งออกข้ำว (ล้ำนตัน) 8.7 6.3 7.8 8.6 8.5 8.6 8.8 รำคำส่งออกข้ำว (ดอลลำร์สหรัฐต่อตัน) 525 550 521 596 614 623 632 Rice
  • 31. 31 EIC Industry insight : Agricultural commodities ปริมาณความต้องการบริโภคข้าวโลกในปี 2022/2023 มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.2%YOY สอดคล้องกับจานวนประชากรโลกที่มีแนวโน้ม ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ปริมำณควำมต้องกำรบริโภคข้ำวโลก หน่วย : ล้านตัน จำนวนประชำกรโลก หน่วย: พันล้านคน ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ USDA และสหประชาชาติ (UN) 485.0 492.9 499.0 516.7 517.9 522.4 526.9 531.5 2024/25F 2025/26F 2022/23F 2021/22 2018/19 2019/20 2020/21 2023/24F +0.2% +0.9% 7.76 7.84 7.91 7.98 8.05 8.12 8.19 8.26 2019 2023F 2026F 2020 2021E 2025F 2022F 2024F +0.9% +0.9% Rice
  • 32. 32 EIC Industry insight : Agricultural commodities ผลผลิตข้าวโลกในปีการผลิต 2022/2023 มีแนวโน้มปรับตัวลดลง เนื่องจากผลผลิตข้าวของประเทศผู้ผลิตหลักอย่างอินเดียมีแนวโน้ม ปรับตัวลดลง จากปริมาณน้าฝนที่น้อยกว่าปกติในช่วงฤดูมรสุม ปริมำณผลผลิตข้ำวโลก หน่วย : ล้านตันข้าวสาร ผลผลิตข้ำวอินเดีย หน่วย : ล้านตันข้าวสาร ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ USDA ปริมำณผลผลิตข้ำวและกำรส่งออกข้ำวโลกปี 2020/2021 รำยประเทศ หน่วย : ล้านตันข้าวสาร ผลผลิตข้ำวเวียดนำม หน่วย : ล้านตันข้าวสาร 498.2 499.2 509.3 515.1 508.0 521.7 525.4 529.0 2025/26F 2018/19 2020/21 2019/20 2022/23F 2021/22F 2023/24F 2024/25F +1.1% -1.4% +0.7% 24.4% อินโดฯ อื่น ๆ 32.9% ผลผลิต 6.8% 29.1% 6.8% บังกลาเทศ อินเดีย จีน 509 27.5% 7.5% 12.0% ส่งออก 40.8% 12.1% ปากีฯ อื่น ๆ เวียดนาม ไทย อินเดีย 52 ผลผลิตข้ำวของอินเดียใน ฤดูกำลหน้ำ (เริ่มเก็บเกี่ยว ต.ค. 2022) มีแนวโน้ม ปรับตัวลดลง จากปริมาณ น้าฝนในช่วงฤดูมรสุมที่น้อย กว่าปกติ ซึ่งส่งผลให้พื้นที่การ เพาะปลูกข้าวปรับตัวลดลง ผลผลิตข้ำวของเวียดนำม ในฤดูกำลหน้ำ (เริ่มเก็บเกี่ยว ต.ค. 2022) มีแนวโน้ม ปรับตัวเพิ่มขึ้น จากปริมาณ น้าฝนที่เพียงพอต่อการ เจริญเติบโตของต้นข้าว 119 124 130 125 2020/21 2019/20 2021/22F 2022/23F -4.1% 27.1 27.4 27.1 27.4 2019/20 2020/21 2021/22F 2022/23F +1.2% Rice