SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 84
สุขภาพ 
และ 
ความปลอดภัย 
ในการทางาน
สุขภาพร่างกายเป็นปัจจัยพื้นฐานของ 
ทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรที่สาคัญ 
เพราะถ้าสุขภาพกายดีก็จะทาให้ 
สุขภาพจิตดีตามมาด้วยส่งผลดีต่อ 
ประสิทธิภาพการทางาน
ดังนั้นการมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์ 
แข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บที่มา 
เบียดเบียนถือว่าเป็นสิ่งที่พึง 
ปรารถนาของมนุษย์ทุกคน 
กล่าวคือ ไม่มีใครอยากที่จะเจ็บป่วย
โดยเฉพาะการเจ็บป่วยที่เกิดจาก 
อุบัติเหตุและความไม่ปลอดภัยในการ 
ทางานที่ไม่มีระบบการป้องกันซึ่ง 
อาจจะส่งผลกระทบต่อพนักงานและ 
องค์กรทาให้ขาดงานเสียค่าใช้จ่ายใน 
การรักษาพยาบาล อีกทั้งยังทาให้เสีย 
กาลังขวัญอีกด้วย
สุขภาพหมายถึงอะไร?
สุขภาพ หมายถึง 
สุขภาพ หมายความว่า สุขภาวะที่สมบูรณ์และ 
เชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุล ทั้งทางกาย ทางจิต 
ทางสังคม และทางจิตวิญญาณ 
ซึ่งมีคาที่ในปัจจุบันจะเกี่ยวข้องกับการจัดการ 
ทรัพยากรมนุษย์ คือคาว่า “อาชีวอนามัย” ซึ่งหมายถึงการ 
ดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้ทา งานใน 
อาชีพต่างๆ
สุขภาพ = สุขภาวะที่สมบูรณ์ 
สุขภาพกาย 
คือ ไม่เป็นโรค 
สุขภาพจิต 
คือ จิตมีความสุข 
สุขภาพสังคม 
คือ อยู่ร่วมกันด้วยดี,สังคมยุติธรรม,เสมอภาค,สันติภาพ 
สุขภาพจิตวิญญาณ 
คือ การไม่เห็นแก่ตัว เมตตา กรุณา
ในองค์ประกอบสุขภาพทั้ง 4 ด้านนั้น 
แต่ละด้านยังแบ่งออกเป็น 4 มิติดังนี้ 
1.) การส่งเสริมสุขภาพ เป็นกลไกการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ 
สุขภาพกาย สุขภาพจิต สุขภาพสังคมและสุขภาพจิตวิญญาณ 
2.) การป้องกันโรค ได้แก่ มาตรการลดความเสี่ยงในการเกิดโรค 
รวมทั้งการสร้างภูมิคุ้มกันเฉพาะโรค ด้วยวิธีการต่างๆ นาน เพื่อ 
มิให้เกิดโรคกาย โรคจิต โรคสังคม และโรคจิตวิญญาณ
ในองค์ประกอบสุขภาพทั้ง 4 ด้านนั้น 
แต่ละด้านยังแบ่งออกเป็น 4 มิติดังนี้ 
3.) การรักษาโรค เมื่อเกิดโรคขึ้นแล้ว เราต้องเร่งวินิจฉัยโรคว่าเป็นโรค 
อะไร แล้วรีบให้การรักษาด้วยวิธีที่ได้ผลดีที่สุดและปลอดภัยที่สุด 
เท่าที่มนุษย์จะรู้และสามารถให้การบริการรักษาได้เพื่อลดความ 
เสียหายแก่สุขภาพหรือแม้แต่เพื่อป้องกันมิให้เสียชีวิต 
4.) การฟื้นฟูสภาพ หลายโรคเมื่อเป็นแล้ว ก็อาจเกิดความเสียหายต่อ 
การทา งานของระบบอวัยวะหรือทา ให้พิการ จึงต้องเริ่มมาตรการฟื้นฟู 
ให้กลับมามีสภาพใกล้เคียงปกติที่สุดเท่าที่จะทา ได้
จากองค์ประกอบทั้ง 4 ด้าน 
(1) การส่งเสริมสุขภาพ และ 
(2) การป้องกันโรคนี้ 
เราเรียกร่วมกันว่า “การสร้างสุขภาพ” เป็นการทาก่อนเกิดโรค 
ส่วน (3) การรักษาโรค 
และ (4) การฟื้นฟูสภาพนี้ 
เราเรียกรวมกันว่า “การซ่อมสุขภาพ” เป็นการทาหลังจากเกิดโรคแล้ว 
และเป็นที่เชื่อกันว่า “การสร้างสุขภาพ” มีประสิทธิผลดีกว่าและเสียค่าใช้จ่าย 
น้อยกว่าการซ่อมสุขภาพ เนื่องจากการสร้างสุขภาพเป็นสิ่งที่ประชาชนสามารถ 
ทาได้ด้วยตัวเอง ส่วนการซ่อมสุขภาพต้องอาศัยหน่วยงานด้านการแพทย์เป็น 
หลัก ดังนั้นจะเห็นได้ว่าสุขภาพโดยองค์รวมแล้วจะเป็นภาวะของมนุษย์ที่ 
เชื่อมโยงกันทั้ง ทางกาย ทางจิต ทางปัญญาและทางสังคม
มาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความ 
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน 
“การตรวจสุขภาพ” หมายความ 
ว่า การตรวจร่างกายและสภาวะทาง 
จิตใจตามวิธีการแพทย์ เพื่อให้ทราบ 
ถึงความเหมาะสมและผลกระทบต่อ 
สุขภาพของลูกจ้างอันอาจเกิดจากการ 
ทางาน 
อย่าลืม ! ตรวจสุขภาพพนักงาน 
ครั้งต่อไปอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง นะค่ะ ...
ความปลอดภัยในการทางาน คืออะไร?
ความปลอดภัยในการทางาน 
คือ สภาพที่ปลอดภัยจากอุบัติภัย 
ต่างๆอันจะเกิดแก่ร่างกาย ชีวิต 
หรือทรัพย์สินในขณะที่ 
ปฏิบัติงาน ซึ่งก็คือ สภาพการ 
ทางานที่ถูกต้องโดยปราศจาก 
"อุบัติเหตุ" ในการทางานนั่นเอง
อุบัติเหตุ ? 
คือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยมิได้คาดคิดมาก่อน อาจ 
เกิดจากการกระทาของคน หรือเกิดจากความผิดพลาด 
ของเครื่องจักร อุปกรณ์,สารเคมี,และสภาพแวดล้อมต่างๆ 
ซึ่งเป็นผลให้เกิดการบาดเจ็บ พิการ หรือเสียชีวิตและอาจ 
ทาให้ทรัพย์สินเสียหาย
สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ 
1. สภาพการทางานที่ไม่ปลอดภัยในการทางาน อันได้แก่ 
>> เครื่องมือ เครื่องจักร หรืออุปกรณ์ในการทา งานที่ชารุด 
หรือ เสื่อมคุณภาพ 
>> พื้นที่ทา งานสกปรกหรือเต็มไปด้วยเศษวัสดุ 
>> ส่วนที่เป็นอันตรายหรือส่วนเคลื่อนไหวของเครื่องจักร 
ไม่มีที่กาบังหรือป้องกันอันตราย 
>> การวางผังไม่ถูกต้อง การจัดเก็บสิ่งของไม่เป็นระเบียบ 
>> สภาพการทางานไม่ปลอดภัย เช่น เสียงดัง อากาศร้อน 
มฝีุ่นละออ
สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ 
2. การกระทาที่ไม่ปลอดภัย เป็นสาเหตุใหญ่ที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุ คิด 
เป็น 85% ของการเกิดอุบัติเหตุทั้งหมด การกระทา ที่ไม่ปลอดภัย ได้แก่ 
- การกระทา ที่ ขาดความรู้ ไม่ถูกวิธี หรือ ไม่ถูกขั้นตอน 
- ความประมาท พลั้งเผลอ เหม่อลอย 
- การมีนิสัยชอบเสี่ยง หรือเจตนาหลีกเลี่ยงเพื่อความสะดวกสบาย 
- การไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบความปลอดภัยในการทางาน 
- การทางานโดยไม่มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล 
- ใช้เครื่องมือไม่เหมาะสมหรือผิดประเภท 
- การทางานโดยสภาพร่างกายหรือจิตใจไม่ปกติ 
- ความรีบร้อนเพราะงานต้องการความรวดเร็ว
การป้องกันอุบัติเหตุ 
มีหลักการหรือวิธีโดยแบ่งออกเป็น 3 สถานการณ์คือ 
1. การป้องกันก่อนการเกิดอุบัติเหตุคือการป้องกันหรือมีการเตรียมการ 
ล่วงหน้า เพื่อไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ โดยมีหลักการต่างๆ เช่น 
หลักการ 5 ส. สู่การป้องกันอุบัติเหตุ 
สะสาง หมายถึง การแยกแยะงานดี-งานเสีย ใช้-ไม่ใช้ 
สะดวก หมายถึง การจัดการ จัดเก็บให้เป็นระเบียบเป็นหมวดหมู่ 
สะอาด หมายถึง การทา ความสะอาดเครื่องมือ เครื่องจักรอุปกรณ์ สถานที่ 
ก่อนและหลังการใช้งาน 
สุขลักษณะ หมายถึง ผู้ปฏิบัติงานต้องรักษาสุขอนามัยของตัวเอง เครื่องมือ 
และสถานที่ 
สร้างนิสัย หมายถึง การสร้างนิสัยที่ดี
หลักการ 5 ส. 
สู่การป้องกันอุบัติเหตุ 
สะสาง 
สะดวก 
สะอาด 
สุขลักษณะ 
สร้างนิสัย
การป้องกันอุบัติเหตุ 
มีหลักการหรือวิธีโดยแบ่งออกเป็น 3 สถานการณ์คือ 
2. การป้องกันขณะเกิดอุบัติเหตุ หมายถึงการเตรียมตัวล่วงหน้า เป็น 
การลดอันตรายให้น้อยลงหรือไม่เกิดอันตรายเลย มีหลักการดังนี้คือ 
2.1 การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลเพื่อป้องกันอวัยวะของร่างกาย 
ดังนี้ 
2.1.1 หมวกนิรภัย 
2.1.2 อุปกรณ์ป้องกันใบหน้า ดวงตา 
2.1.3 อุปกรณ์ลดเสียง ป้องกันหู 
2.1.4 อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ 
2.1.5 อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย แขนขา 
2.1.6 อุปกรณ์ป้องกันมือ 
2.1.7 อุปกรณ์ป้องกันเท้า
อุปกรณ์ 
ป้องกัน 
อันตราย 
ส่วนบุคคล 
เพื่อป้องกัน 
อวัยวะ 
ของร่างกาย
การป้องกันอุบัติเหตุ 
มีหลักการหรือวิธีโดยแบ่งออกเป็น 3 สถานการณ์คือ 
3. การป้องกันหลังการเกิดอุบัติเหตุคือการป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ 
ซ้า ซ้อนขึ้น หรือมีการลดอันตรายที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง 
3.1 การอพยพ การขนย้าย หลังการเกิดอุบัติเหตุขึ้นจะมีการตกใจ ตื่นกลัว 
ดังนั้นควรมีการวางแผนการอพยพ หรือการขนย้ายผู้ป่วย อย่างถูกวธิี 
3.2 การปฐมพยาบาลเบื้องต้น เพื่อลดอันตรายให้น้อยลง เช่น การห้ามเลือด 
การผายปอด 
3.3 การสารวจความเสียหายหลังการเกิดอุบัติเหตุเช่น ผู้บาดเจ็บ สถานที่
หลัก 3E ในการป้องกันอุบัติเหตุ . . . 
หลักการ 3E ในการป้องกันอุบัติเหตุ โดยเพื่อ 
ใช้ในการควบคุมและป้องกันอุบัติเหตุให้เป็นไปอย่าง 
มีประสิทธิภาพและง่ายต่อการทาความเข้าใจในการ 
ประยุกต์ใช้โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 
E ตัวแรก คือ Engineering 
E ตัวสอง คือ Education 
E ตัวสุดท้าย คือ Enforcement
E ตัวแรก คือ Engineering 
การนาเอาความรู้ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์มา 
ประยุกต์ใช้ในการคานวณ การอออกแบบ เครื่องมือ 
อุปกรณ์ป้องกันภัยแบบต่างๆ รวมทั้งการจัดผังโรงงานที่ 
ประกอบด้วยแสงสว่าง เสียงหรือสีที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ 
การทางานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความ 
ปลอดภัยสูงสุด
E ตัวสอง คือ Education 
การให้ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 
และระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับพนักงานในทุกระดับ ต้งัแต่ 
ระดับบริหารจนถึงระดับปฏิบัติการ เพื่อให้มีทักษะที่พร้อมจะ 
ปฏิบัติงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้อย่างต่อเนื่อง เช่น การ 
สร้างความตระหนักในเรื่อง QSHE (quality, safety, health, 
and environment) การกู้ภัยช่วยชีวิตและการปฐมพยาบาล 
การฝึกซ้อมดับเพลิงประจาปี การฝึกซ้อมแผนฉุกเฉินประจาปี 
เป็นต้น
E ตัวสุดท้าย คือ Enforcement 
การกาหนดกฎระเบียบและแนวทางปฏิบัติเพื่อให้ 
ผู้ปฏิบัติงาน ต้องปฏิบัติตามถ้าไม่ปฏิบัติก็จะถูกลงโทษ 
โดยอาจจะใช้มาตรการในการกระตุ้นเตือนด้วยวิธีการ 
ต่างๆ เช่น การใช้การสื่อสารภายในองค์การด้วยข้อความ 
และสัญลักษณ์ต่างๆ กระตุ้นเตือน “Safety First” ตดิแผ่น 
ภาพคาขวัญที่เกี่ยวข้อกับความปลอดภัย จัดประกวด 
กิจกรรมที่เกี่ยวกับความปลอดภัย เพื่อให้เกิดจิตสานึกและ 
วัฒนธรรมที่เกี่ยวกับความปลอดภัย
หลัก 3E ในการป้องกันอุบัติเหตุ . . . 
ดั้งนั้นการใช้หลัก 3E โดยนาทั้งวิชาการวิศวกรรม 
(Engineering) การให้การศึกษาอบรมแก่คนงาน 
(Education) และการออกกฎข้อบังคับ (Enforcement) 
มาดาเนินการพร้อมกันอย่างเหมาะสมในขบวนการผลิต 
และการบริหารโรงงานนั้น จึงเป็นมาตรการทใี่ห้ 
ประสิทธิภาพสูงสุดต่อการป้องกันอุบัติเหตุและการเสริม 
สร้างความปลอดภัยในการทา งานภายในเวลาอันสั้น
Case Study No.1
ความปลอดภัยในการทางาน 
นโยบาย 
บริษัทให้ความสาคัญต่อการรักษา 
ความปลอดภัยในชีวิต 
ทรัพย์สินของพนักงานของบริษัท 
และของชุมชนแวดล้อม 
การจัดการด้านความปลอดภัย
การสร้างจิตสานึก 
ทีมงาน จป.วิชาชีพ TBR. 
ด้านความปลอดภัย
บทบาทหน้าที่ของพนักงานในการร่วมมือป้องกัน 
และ รักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติต่อ 
กฎหมายความปลอดภัยในการทางาน 
ผู้ปฏิบัติตาม : - นายจ้าง 
- ลูกจ้าง 
บทลงโทษ : - จาคุก 6 เดือน 
- ปรับ 20,000 บาท 
- ท้งัจา ท้งัปรับ
ปัจจัยของการให้ความมั่นคงปลอดภัยแก่พนักงาน 
สาเหตุที่ปัญหาเรื่องความปลอดภัยได้มีความสาคัญมากยิ่งขึ้นในยุคปัจจุบัน 
ก็เพราะปัจจัยต่าง ๆ ต่อไปนี้ คือ 
1. สภาพของงานเปลี่ยนแปลงเนื่องจากการนาเอาเทคนิควิทยาการทางการผลิต 
ใหม่ ๆ มาใช้ 
2. ทัศนคติของพนักงาน ตระหนักถึงความสาคัญของสุขภาพและความ 
ปลอดภัยของตนเองมากขึ้น 
3. ข้อกาหนดของกฎหมายของรัฐบาล 
4. ข้อเรียกร้องของฝ่ายแรงงานที่จะให้มีการดูแลสุขภาพและความปลอดภัย 
ในขณะทางานของพนักงานให้มากขึ้น 
5. เพื่อประโยชน์ในทางการผลิต ตลอดจนยกระดับขวัญของพนักงานด้วย 
ความหมายของภัยที่เกี่ยวกับภัยกรณีต่าง ๆ (Safety Harzard)
อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล 
Personal Protective Equipment 
P P E
อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล 
ถุงมือผ้า (Grove) ผ้าปิดจมูก (MASK)
อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล 
ที่อุดหู (Earplug) หมวกคลุมผม (Cap Gap)
อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล 
ถุงมือกันบาด(Grove Hand Cut) 
แว่นตากันเศษแก้ว(Glasses)
อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล 
รองเท้าบู๊ท(Boots Shoes) 
รองเท้านิรภัย( Safety Shoes)
อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล 
หน้ากากกรองสารเคมี 
(Masks Filters Chemicals) 
เข็มขัดพยุงหลัง 
(Back Support)
อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล 
หมวกนิรภัยพร้อมกระบังหน้ากันเศษแก้ว 
ถุงมือยาง (Grove Rubber)
อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยที่ไม่ต้องหาซื้อ 
1. ตา คอยสังเกตเหตุไม่ปลอดภัย 
2. หู คอยฟังเสียงเตือน 
3. เท้า เดินเลี่ยงบริเวณที่เป็นอันตราย 
4. มือ ช่วยแก้ไขสิ่งที่อาจก่ออันตราย 
5. เสียง ไว้คอยเตือนคนอื่นหากมีอันตราย 
6. สมอง คอยพิจารณาการทางานให้ปลอดภัย 
“ เกิดขึ้นหากเราใช้อุปกรณ์เหล่านี้อย่างครบครัน เรื่องความปลอดภัยในการทางานจะไม่ใช่ของยากเลยที่จะเกิดขึ้น”
สี สัญญาลักษณ์ความปลอดภัย . . . 
สีแดง หมายถึง ห้าม / หยุด สีที่นามาตัดคือ สีขาว 
สีน้าเงิน หมายถึง บังคับ สีที่นามาตัดคือ สีขาว 
สีเหลือง หมายถึง ระวัง สีที่นามาตัดคือ สีขาว 
สีเขียว หมายถึง ปลอดภัย สีที่นามาตัดคือ สีดา
หัวข้อการอบรม ( ภาคทฤษฏี ) 
ทฤษฏีการเกิดเพลิงไหม้ 
การแบ่งประเภทของไฟ 
จิตวิทยาเมื่อเกิดอัคคีภัย 
แผนการป้องกันและระงับอัคคีภัย 
การป้องกันแหล่งกาเนิดการติดไฟ 
วิธีการดับเพลิงประเภทต่างๆ 
เครื่องมือดับเพลิงชนิดต่างๆ 
วิธีการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่ 
ใช้ในการดับเพลิง 
การจัดระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย และการ 
ประยุกต์ใช้ระบบและอุปกรณ์ที่มีอยู่ในสถาน 
ประกอบการ 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
หัวข้อการอบรม (ภาคปฏิบัติ) 
ฝึกการใช้เครื่องดับเพลิงแบบน้าอัดแรงดัน 
ฝึกการใช้เครื่องดับเพลิงแลลผงเคมีแห้ง 
ฝึกการใช้เครื่องดับเพลิงแบบ Co 2 
ฝึกการใช้เครื่องดับเพลิงแบบน้าผสมโฟม 
การใช้สายฉีดน้าดับเพลิงและหัวฉีด (กรณีที่ 
บริษัทมีระบบดับเพลิงในอาคาร) 
ฝึกการดับเพลิงที่เกิดจากเชื้อเพลิงประเภท 
น้ามัน แก๊ส และฝึกดับเพลิงที่ไหม้น้ามันพืช 
ในกะทะ 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น 
การเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย 
การอพยพหนีไฟ
การให้บริการของโรงพยาบาล 
สถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์ 
•ตรวจสุขภาพและคัดกรองผู้ป่วยโรคไตเรื้องรัง 
•ดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคไตเรื้องรัง เช่น 
ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และไขมัน 
ในเส้นเลือดสูง เป็นต้น 
•มีบริการตรวจรักษาทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน 
•ห้องฉุกเฉินเปิดให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง 
•ห้องตรวจรักษาผู้ป่วยนอก 20 ห้อง 
•ห้องสาหรับผู้ป่วยทั้งห้องพิเศษ ห้องเดี่ยว ห้องคู่ 
รองรับผู้ป่วยในได้ 128 เตียง 
•ห้องไอซียู (Intensive Care Unit) สาหรับดูแล 
ผู้ป่วยหนัก รองรับได้ 12 เตียง 
•เครื่องไตเทียม 50 เครื่อง 
•ห้องผ่าตัด 6 ห้อง 
•ห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ (Laboratory) 
•เครื่องเอ็กซเรย์ เครื่องตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 
(MRI) เครื่อง CT SCAN, Ultra Sound
โรงพยาบาลพร้อมให้บริการ 24 ชั่วโมง 
เปิดให้บริการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมทุกวัน (ยกเว้นวันจันทร์) 
บริการปลูกถ่ายไตโดยศัลยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเรื่องปลูกถ่ายอวัยวะ 
การผ่าตัดทา เส้นเลือดเทียม หรือแก้ปัญหาเส้นเลือดอุดตัน ในผู้ป่วยที่ 
เคยทาการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม 
ข้าราชการสามารถเบิกจ่ายได้ตามระเบียบของกรมบัญชีกลาง
Case Study No.2 
Case Study No.2 
Case Study No.2 
Case Study No.2 
Case Study No.2
สัญลักษณ์ที่ใช้ในโรงงาน
KYT. (KIKEN YOSHI TRAINING) 
กิจกรรม KYT 
ZERO ACCIDENT…OK
ประเภทของอันตราย
สาเหตุที่อุบัติเหตุเกิดขึ้น
ปัจจัยพื้นฐานในการเกิดอุบัติเหตุ
ปัจจัยส่วนบุคคล
KYT ช่วยอะไร
ความหมายของ KYT
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
Gawewat Dechaapinun
 
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
Viam Manufacturing
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Nan Natni
 

La actualidad más candente (20)

RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิว
 
บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์
 
บุคลิกภาพ
บุคลิกภาพบุคลิกภาพ
บุคลิกภาพ
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาล
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
 
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
 
Forklift 2
Forklift 2Forklift 2
Forklift 2
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
การยศาสตร์ (Ergonomics)
การยศาสตร์ (Ergonomics)การยศาสตร์ (Ergonomics)
การยศาสตร์ (Ergonomics)
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 

Destacado

Intro to OH&S
Intro to OH&SIntro to OH&S
Intro to OH&S
nnanthas
 
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัยแบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
Adisorn Tanprasert
 
Poka yoke (mistake proofing)
Poka yoke (mistake proofing)Poka yoke (mistake proofing)
Poka yoke (mistake proofing)
Animesh Khamesra
 

Destacado (9)

Intro to OH&S
Intro to OH&SIntro to OH&S
Intro to OH&S
 
คู่มือความปลอดภัยในการทำงาน
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานคู่มือความปลอดภัยในการทำงาน
คู่มือความปลอดภัยในการทำงาน
 
โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014
 
Human Error Prevention
Human Error PreventionHuman Error Prevention
Human Error Prevention
 
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัยแบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
 
POKA-YOKE - A Lean Strategy to Mistake Proofing
POKA-YOKE - A Lean Strategy to Mistake ProofingPOKA-YOKE - A Lean Strategy to Mistake Proofing
POKA-YOKE - A Lean Strategy to Mistake Proofing
 
Poka yoke (mistake proofing)
Poka yoke (mistake proofing)Poka yoke (mistake proofing)
Poka yoke (mistake proofing)
 
Poka Yoke Final Ppt
Poka Yoke  Final PptPoka Yoke  Final Ppt
Poka Yoke Final Ppt
 
Poka yoke
Poka yokePoka yoke
Poka yoke
 

ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย

  • 4. โดยเฉพาะการเจ็บป่วยที่เกิดจาก อุบัติเหตุและความไม่ปลอดภัยในการ ทางานที่ไม่มีระบบการป้องกันซึ่ง อาจจะส่งผลกระทบต่อพนักงานและ องค์กรทาให้ขาดงานเสียค่าใช้จ่ายใน การรักษาพยาบาล อีกทั้งยังทาให้เสีย กาลังขวัญอีกด้วย
  • 6. สุขภาพ หมายถึง สุขภาพ หมายความว่า สุขภาวะที่สมบูรณ์และ เชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุล ทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางจิตวิญญาณ ซึ่งมีคาที่ในปัจจุบันจะเกี่ยวข้องกับการจัดการ ทรัพยากรมนุษย์ คือคาว่า “อาชีวอนามัย” ซึ่งหมายถึงการ ดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้ทา งานใน อาชีพต่างๆ
  • 7. สุขภาพ = สุขภาวะที่สมบูรณ์ สุขภาพกาย คือ ไม่เป็นโรค สุขภาพจิต คือ จิตมีความสุข สุขภาพสังคม คือ อยู่ร่วมกันด้วยดี,สังคมยุติธรรม,เสมอภาค,สันติภาพ สุขภาพจิตวิญญาณ คือ การไม่เห็นแก่ตัว เมตตา กรุณา
  • 8. ในองค์ประกอบสุขภาพทั้ง 4 ด้านนั้น แต่ละด้านยังแบ่งออกเป็น 4 มิติดังนี้ 1.) การส่งเสริมสุขภาพ เป็นกลไกการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ สุขภาพกาย สุขภาพจิต สุขภาพสังคมและสุขภาพจิตวิญญาณ 2.) การป้องกันโรค ได้แก่ มาตรการลดความเสี่ยงในการเกิดโรค รวมทั้งการสร้างภูมิคุ้มกันเฉพาะโรค ด้วยวิธีการต่างๆ นาน เพื่อ มิให้เกิดโรคกาย โรคจิต โรคสังคม และโรคจิตวิญญาณ
  • 9. ในองค์ประกอบสุขภาพทั้ง 4 ด้านนั้น แต่ละด้านยังแบ่งออกเป็น 4 มิติดังนี้ 3.) การรักษาโรค เมื่อเกิดโรคขึ้นแล้ว เราต้องเร่งวินิจฉัยโรคว่าเป็นโรค อะไร แล้วรีบให้การรักษาด้วยวิธีที่ได้ผลดีที่สุดและปลอดภัยที่สุด เท่าที่มนุษย์จะรู้และสามารถให้การบริการรักษาได้เพื่อลดความ เสียหายแก่สุขภาพหรือแม้แต่เพื่อป้องกันมิให้เสียชีวิต 4.) การฟื้นฟูสภาพ หลายโรคเมื่อเป็นแล้ว ก็อาจเกิดความเสียหายต่อ การทา งานของระบบอวัยวะหรือทา ให้พิการ จึงต้องเริ่มมาตรการฟื้นฟู ให้กลับมามีสภาพใกล้เคียงปกติที่สุดเท่าที่จะทา ได้
  • 10. จากองค์ประกอบทั้ง 4 ด้าน (1) การส่งเสริมสุขภาพ และ (2) การป้องกันโรคนี้ เราเรียกร่วมกันว่า “การสร้างสุขภาพ” เป็นการทาก่อนเกิดโรค ส่วน (3) การรักษาโรค และ (4) การฟื้นฟูสภาพนี้ เราเรียกรวมกันว่า “การซ่อมสุขภาพ” เป็นการทาหลังจากเกิดโรคแล้ว และเป็นที่เชื่อกันว่า “การสร้างสุขภาพ” มีประสิทธิผลดีกว่าและเสียค่าใช้จ่าย น้อยกว่าการซ่อมสุขภาพ เนื่องจากการสร้างสุขภาพเป็นสิ่งที่ประชาชนสามารถ ทาได้ด้วยตัวเอง ส่วนการซ่อมสุขภาพต้องอาศัยหน่วยงานด้านการแพทย์เป็น หลัก ดังนั้นจะเห็นได้ว่าสุขภาพโดยองค์รวมแล้วจะเป็นภาวะของมนุษย์ที่ เชื่อมโยงกันทั้ง ทางกาย ทางจิต ทางปัญญาและทางสังคม
  • 11.
  • 12.
  • 13. มาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน “การตรวจสุขภาพ” หมายความ ว่า การตรวจร่างกายและสภาวะทาง จิตใจตามวิธีการแพทย์ เพื่อให้ทราบ ถึงความเหมาะสมและผลกระทบต่อ สุขภาพของลูกจ้างอันอาจเกิดจากการ ทางาน อย่าลืม ! ตรวจสุขภาพพนักงาน ครั้งต่อไปอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง นะค่ะ ...
  • 15. ความปลอดภัยในการทางาน คือ สภาพที่ปลอดภัยจากอุบัติภัย ต่างๆอันจะเกิดแก่ร่างกาย ชีวิต หรือทรัพย์สินในขณะที่ ปฏิบัติงาน ซึ่งก็คือ สภาพการ ทางานที่ถูกต้องโดยปราศจาก "อุบัติเหตุ" ในการทางานนั่นเอง
  • 16. อุบัติเหตุ ? คือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยมิได้คาดคิดมาก่อน อาจ เกิดจากการกระทาของคน หรือเกิดจากความผิดพลาด ของเครื่องจักร อุปกรณ์,สารเคมี,และสภาพแวดล้อมต่างๆ ซึ่งเป็นผลให้เกิดการบาดเจ็บ พิการ หรือเสียชีวิตและอาจ ทาให้ทรัพย์สินเสียหาย
  • 17. สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ 1. สภาพการทางานที่ไม่ปลอดภัยในการทางาน อันได้แก่ >> เครื่องมือ เครื่องจักร หรืออุปกรณ์ในการทา งานที่ชารุด หรือ เสื่อมคุณภาพ >> พื้นที่ทา งานสกปรกหรือเต็มไปด้วยเศษวัสดุ >> ส่วนที่เป็นอันตรายหรือส่วนเคลื่อนไหวของเครื่องจักร ไม่มีที่กาบังหรือป้องกันอันตราย >> การวางผังไม่ถูกต้อง การจัดเก็บสิ่งของไม่เป็นระเบียบ >> สภาพการทางานไม่ปลอดภัย เช่น เสียงดัง อากาศร้อน มฝีุ่นละออ
  • 18. สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ 2. การกระทาที่ไม่ปลอดภัย เป็นสาเหตุใหญ่ที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุ คิด เป็น 85% ของการเกิดอุบัติเหตุทั้งหมด การกระทา ที่ไม่ปลอดภัย ได้แก่ - การกระทา ที่ ขาดความรู้ ไม่ถูกวิธี หรือ ไม่ถูกขั้นตอน - ความประมาท พลั้งเผลอ เหม่อลอย - การมีนิสัยชอบเสี่ยง หรือเจตนาหลีกเลี่ยงเพื่อความสะดวกสบาย - การไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบความปลอดภัยในการทางาน - การทางานโดยไม่มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล - ใช้เครื่องมือไม่เหมาะสมหรือผิดประเภท - การทางานโดยสภาพร่างกายหรือจิตใจไม่ปกติ - ความรีบร้อนเพราะงานต้องการความรวดเร็ว
  • 19. การป้องกันอุบัติเหตุ มีหลักการหรือวิธีโดยแบ่งออกเป็น 3 สถานการณ์คือ 1. การป้องกันก่อนการเกิดอุบัติเหตุคือการป้องกันหรือมีการเตรียมการ ล่วงหน้า เพื่อไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ โดยมีหลักการต่างๆ เช่น หลักการ 5 ส. สู่การป้องกันอุบัติเหตุ สะสาง หมายถึง การแยกแยะงานดี-งานเสีย ใช้-ไม่ใช้ สะดวก หมายถึง การจัดการ จัดเก็บให้เป็นระเบียบเป็นหมวดหมู่ สะอาด หมายถึง การทา ความสะอาดเครื่องมือ เครื่องจักรอุปกรณ์ สถานที่ ก่อนและหลังการใช้งาน สุขลักษณะ หมายถึง ผู้ปฏิบัติงานต้องรักษาสุขอนามัยของตัวเอง เครื่องมือ และสถานที่ สร้างนิสัย หมายถึง การสร้างนิสัยที่ดี
  • 20. หลักการ 5 ส. สู่การป้องกันอุบัติเหตุ สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ สร้างนิสัย
  • 21. การป้องกันอุบัติเหตุ มีหลักการหรือวิธีโดยแบ่งออกเป็น 3 สถานการณ์คือ 2. การป้องกันขณะเกิดอุบัติเหตุ หมายถึงการเตรียมตัวล่วงหน้า เป็น การลดอันตรายให้น้อยลงหรือไม่เกิดอันตรายเลย มีหลักการดังนี้คือ 2.1 การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลเพื่อป้องกันอวัยวะของร่างกาย ดังนี้ 2.1.1 หมวกนิรภัย 2.1.2 อุปกรณ์ป้องกันใบหน้า ดวงตา 2.1.3 อุปกรณ์ลดเสียง ป้องกันหู 2.1.4 อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ 2.1.5 อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย แขนขา 2.1.6 อุปกรณ์ป้องกันมือ 2.1.7 อุปกรณ์ป้องกันเท้า
  • 22. อุปกรณ์ ป้องกัน อันตราย ส่วนบุคคล เพื่อป้องกัน อวัยวะ ของร่างกาย
  • 23. การป้องกันอุบัติเหตุ มีหลักการหรือวิธีโดยแบ่งออกเป็น 3 สถานการณ์คือ 3. การป้องกันหลังการเกิดอุบัติเหตุคือการป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ ซ้า ซ้อนขึ้น หรือมีการลดอันตรายที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง 3.1 การอพยพ การขนย้าย หลังการเกิดอุบัติเหตุขึ้นจะมีการตกใจ ตื่นกลัว ดังนั้นควรมีการวางแผนการอพยพ หรือการขนย้ายผู้ป่วย อย่างถูกวธิี 3.2 การปฐมพยาบาลเบื้องต้น เพื่อลดอันตรายให้น้อยลง เช่น การห้ามเลือด การผายปอด 3.3 การสารวจความเสียหายหลังการเกิดอุบัติเหตุเช่น ผู้บาดเจ็บ สถานที่
  • 24. หลัก 3E ในการป้องกันอุบัติเหตุ . . . หลักการ 3E ในการป้องกันอุบัติเหตุ โดยเพื่อ ใช้ในการควบคุมและป้องกันอุบัติเหตุให้เป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพและง่ายต่อการทาความเข้าใจในการ ประยุกต์ใช้โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ E ตัวแรก คือ Engineering E ตัวสอง คือ Education E ตัวสุดท้าย คือ Enforcement
  • 25. E ตัวแรก คือ Engineering การนาเอาความรู้ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์มา ประยุกต์ใช้ในการคานวณ การอออกแบบ เครื่องมือ อุปกรณ์ป้องกันภัยแบบต่างๆ รวมทั้งการจัดผังโรงงานที่ ประกอบด้วยแสงสว่าง เสียงหรือสีที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ การทางานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความ ปลอดภัยสูงสุด
  • 26. E ตัวสอง คือ Education การให้ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน และระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับพนักงานในทุกระดับ ต้งัแต่ ระดับบริหารจนถึงระดับปฏิบัติการ เพื่อให้มีทักษะที่พร้อมจะ ปฏิบัติงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้อย่างต่อเนื่อง เช่น การ สร้างความตระหนักในเรื่อง QSHE (quality, safety, health, and environment) การกู้ภัยช่วยชีวิตและการปฐมพยาบาล การฝึกซ้อมดับเพลิงประจาปี การฝึกซ้อมแผนฉุกเฉินประจาปี เป็นต้น
  • 27. E ตัวสุดท้าย คือ Enforcement การกาหนดกฎระเบียบและแนวทางปฏิบัติเพื่อให้ ผู้ปฏิบัติงาน ต้องปฏิบัติตามถ้าไม่ปฏิบัติก็จะถูกลงโทษ โดยอาจจะใช้มาตรการในการกระตุ้นเตือนด้วยวิธีการ ต่างๆ เช่น การใช้การสื่อสารภายในองค์การด้วยข้อความ และสัญลักษณ์ต่างๆ กระตุ้นเตือน “Safety First” ตดิแผ่น ภาพคาขวัญที่เกี่ยวข้อกับความปลอดภัย จัดประกวด กิจกรรมที่เกี่ยวกับความปลอดภัย เพื่อให้เกิดจิตสานึกและ วัฒนธรรมที่เกี่ยวกับความปลอดภัย
  • 28. หลัก 3E ในการป้องกันอุบัติเหตุ . . . ดั้งนั้นการใช้หลัก 3E โดยนาทั้งวิชาการวิศวกรรม (Engineering) การให้การศึกษาอบรมแก่คนงาน (Education) และการออกกฎข้อบังคับ (Enforcement) มาดาเนินการพร้อมกันอย่างเหมาะสมในขบวนการผลิต และการบริหารโรงงานนั้น จึงเป็นมาตรการทใี่ห้ ประสิทธิภาพสูงสุดต่อการป้องกันอุบัติเหตุและการเสริม สร้างความปลอดภัยในการทา งานภายในเวลาอันสั้น
  • 30.
  • 31. ความปลอดภัยในการทางาน นโยบาย บริษัทให้ความสาคัญต่อการรักษา ความปลอดภัยในชีวิต ทรัพย์สินของพนักงานของบริษัท และของชุมชนแวดล้อม การจัดการด้านความปลอดภัย
  • 34. การปฏิบัติต่อ กฎหมายความปลอดภัยในการทางาน ผู้ปฏิบัติตาม : - นายจ้าง - ลูกจ้าง บทลงโทษ : - จาคุก 6 เดือน - ปรับ 20,000 บาท - ท้งัจา ท้งัปรับ
  • 35. ปัจจัยของการให้ความมั่นคงปลอดภัยแก่พนักงาน สาเหตุที่ปัญหาเรื่องความปลอดภัยได้มีความสาคัญมากยิ่งขึ้นในยุคปัจจุบัน ก็เพราะปัจจัยต่าง ๆ ต่อไปนี้ คือ 1. สภาพของงานเปลี่ยนแปลงเนื่องจากการนาเอาเทคนิควิทยาการทางการผลิต ใหม่ ๆ มาใช้ 2. ทัศนคติของพนักงาน ตระหนักถึงความสาคัญของสุขภาพและความ ปลอดภัยของตนเองมากขึ้น 3. ข้อกาหนดของกฎหมายของรัฐบาล 4. ข้อเรียกร้องของฝ่ายแรงงานที่จะให้มีการดูแลสุขภาพและความปลอดภัย ในขณะทางานของพนักงานให้มากขึ้น 5. เพื่อประโยชน์ในทางการผลิต ตลอดจนยกระดับขวัญของพนักงานด้วย ความหมายของภัยที่เกี่ยวกับภัยกรณีต่าง ๆ (Safety Harzard)
  • 36.
  • 44. อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยที่ไม่ต้องหาซื้อ 1. ตา คอยสังเกตเหตุไม่ปลอดภัย 2. หู คอยฟังเสียงเตือน 3. เท้า เดินเลี่ยงบริเวณที่เป็นอันตราย 4. มือ ช่วยแก้ไขสิ่งที่อาจก่ออันตราย 5. เสียง ไว้คอยเตือนคนอื่นหากมีอันตราย 6. สมอง คอยพิจารณาการทางานให้ปลอดภัย “ เกิดขึ้นหากเราใช้อุปกรณ์เหล่านี้อย่างครบครัน เรื่องความปลอดภัยในการทางานจะไม่ใช่ของยากเลยที่จะเกิดขึ้น”
  • 45. สี สัญญาลักษณ์ความปลอดภัย . . . สีแดง หมายถึง ห้าม / หยุด สีที่นามาตัดคือ สีขาว สีน้าเงิน หมายถึง บังคับ สีที่นามาตัดคือ สีขาว สีเหลือง หมายถึง ระวัง สีที่นามาตัดคือ สีขาว สีเขียว หมายถึง ปลอดภัย สีที่นามาตัดคือ สีดา
  • 46. หัวข้อการอบรม ( ภาคทฤษฏี ) ทฤษฏีการเกิดเพลิงไหม้ การแบ่งประเภทของไฟ จิตวิทยาเมื่อเกิดอัคคีภัย แผนการป้องกันและระงับอัคคีภัย การป้องกันแหล่งกาเนิดการติดไฟ วิธีการดับเพลิงประเภทต่างๆ เครื่องมือดับเพลิงชนิดต่างๆ วิธีการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่ ใช้ในการดับเพลิง การจัดระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย และการ ประยุกต์ใช้ระบบและอุปกรณ์ที่มีอยู่ในสถาน ประกอบการ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
  • 47. หัวข้อการอบรม (ภาคปฏิบัติ) ฝึกการใช้เครื่องดับเพลิงแบบน้าอัดแรงดัน ฝึกการใช้เครื่องดับเพลิงแลลผงเคมีแห้ง ฝึกการใช้เครื่องดับเพลิงแบบ Co 2 ฝึกการใช้เครื่องดับเพลิงแบบน้าผสมโฟม การใช้สายฉีดน้าดับเพลิงและหัวฉีด (กรณีที่ บริษัทมีระบบดับเพลิงในอาคาร) ฝึกการดับเพลิงที่เกิดจากเชื้อเพลิงประเภท น้ามัน แก๊ส และฝึกดับเพลิงที่ไหม้น้ามันพืช ในกะทะ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย การอพยพหนีไฟ
  • 48. การให้บริการของโรงพยาบาล สถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์ •ตรวจสุขภาพและคัดกรองผู้ป่วยโรคไตเรื้องรัง •ดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคไตเรื้องรัง เช่น ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และไขมัน ในเส้นเลือดสูง เป็นต้น •มีบริการตรวจรักษาทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน •ห้องฉุกเฉินเปิดให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง •ห้องตรวจรักษาผู้ป่วยนอก 20 ห้อง •ห้องสาหรับผู้ป่วยทั้งห้องพิเศษ ห้องเดี่ยว ห้องคู่ รองรับผู้ป่วยในได้ 128 เตียง •ห้องไอซียู (Intensive Care Unit) สาหรับดูแล ผู้ป่วยหนัก รองรับได้ 12 เตียง •เครื่องไตเทียม 50 เครื่อง •ห้องผ่าตัด 6 ห้อง •ห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ (Laboratory) •เครื่องเอ็กซเรย์ เครื่องตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) เครื่อง CT SCAN, Ultra Sound
  • 49. โรงพยาบาลพร้อมให้บริการ 24 ชั่วโมง เปิดให้บริการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมทุกวัน (ยกเว้นวันจันทร์) บริการปลูกถ่ายไตโดยศัลยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเรื่องปลูกถ่ายอวัยวะ การผ่าตัดทา เส้นเลือดเทียม หรือแก้ปัญหาเส้นเลือดอุดตัน ในผู้ป่วยที่ เคยทาการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ข้าราชการสามารถเบิกจ่ายได้ตามระเบียบของกรมบัญชีกลาง
  • 50. Case Study No.2 Case Study No.2 Case Study No.2 Case Study No.2 Case Study No.2
  • 51.
  • 52.
  • 53.
  • 54.
  • 55.
  • 56.
  • 57.
  • 58.
  • 59.
  • 60.
  • 61.
  • 62.
  • 64.
  • 65.
  • 66.
  • 67.
  • 68.
  • 69. KYT. (KIKEN YOSHI TRAINING) กิจกรรม KYT ZERO ACCIDENT…OK

Notas del editor

  1. กลุ่ม บริษัท ไดเซลล์กรุ๊ปมีทั้งหมด 5 ประเทศครับ ดังนี้ครับ
  2. บริษัทในเมืองไทยได้แก่ Daicel Safety System และ Daicel Safety technologies.
  3. แผนที่ทางอากาศ สถานที่ตั้งของโรงงานครับ
  4. เรามีคำขวัญที่ว่า “เราคือผู้ช่วยชีวิต”
  5. ผ้าที่ใช้ทำจากเส้นใยคาร์บอนชนิดพิเศษ สามารถถ่ายเทไฟฟ้าสถิตย์ได้ดี ห้ามดัดแปลงชุด ยกเว้นตัดขา เพราะจะมีผลต่อการถ่ายเทไฟฟ้าสถิตย์
  6. ชุดพิเศษ ป้องกันไฟลุกลาม
  7. ป้ายเตือนเกี่ยวกับไฟไหม้
  8. ป้ายห้ามต่าง ๆ
  9. ป้ายเครื่องหมายความปลอดภัย
  10. ป้ายระวังอันตราย
  11. ป้ายบังคับ