SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 5
Descargar para leer sin conexión
เอกสาร
สัญลักษณ์และวงจรไฟฟ้า (Symbol and circuit diagram)
เรากาหนดและเขียนขึ้นมาก็เพื่อความสะดวกในการสื่อความหมายและทาความเข้าใจในทางไฟฟ้าได้ง่าย
ขึ้น
ชื่อ สัญลักษณ์ ชื่อ สัญลักษณ์
เซลล์ไฟฟ้า ความต้านทาน (คงที่)
แบตเตอรี่ (ต่อแบบอนุกรม) ความต้านทาน (เปลี่ยนค่าได้)
แบตเตอรี่ (ต่อแบบขนาน) สายดิน
ตัวนาไฟฟ้า แอล ดี อาร์
สวิตซ์ ฟิวส์
โวลต์มิเตอร์ แอมมิเตอร์
จุดต่อไฟฟ้า แกลเวนอมิเตอร์
วัตต์มิเตอร์ ไดโอด
ไดโอดเปล่งแสง ตัวเก็บประจุ (ค่าคงที่)
ตัวเก็บประจุ (เปลี่ยนค่าได้) ทรานซิสเตอร์
เสาอากาศ ลาโพง
หลอดไฟต่อแบบอนุกรม หลอดไฟต่อแบบขนาน
ขดลวดเหนี่ยวนาและแกน
เหล็ก
หม้อแปลงไฟฟ้า
ขดลวดเหนี่ยวนา เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
กระแสตรง
เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
กระแสสลับ
แหล่งกาเนิดไฟฟ้า
ใบความรู้เรื่อง สัญลักษณ์และวงจรไฟฟ้า
1
2
เอกสาร
วงจรไฟฟ้า (electric circuit)
คือ เส้นทางที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ครบรอบ เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านอุปกรณ์
วงจรปิด (close circuit) หมายถึง วงจรที่กระแสไฟฟ้าไหลได้ครบวงจร เครื่องใช้ไฟฟ้าในวงจรนั้น
ทางานได้
วงจรเปิด (open circuit) หมายถึง วงจรขาด ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรและเครื่องใช้ไฟฟ้าในวงจร
นั้นทางานไม่ได้
การกดสวิตซ์เปิดไฟ ก็คือการทาให้วงจรปิด มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านหลอดไฟ
การกดสวิตซ์ปิดไฟ ก็คือการทาให้วงจรเปิด ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านหลอดไฟ
วงจรไฟฟ้าในบ้าน เริ่มจากมาตรวัดพลังงานไฟฟ้า ซึ่งมีมาตรวัดพลังงานไฟฟ้าจะมีสายไฟต่อออกมาสอง
สาย คือ สายไฟ (มีศักย์ไฟฟ้า 220 โวลต์) กลับสายกลาง (มีศักย์ไฟฟ้า 0 โวลต์) กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านสายไฟ
สะพานไฟ ฟิวส์ สวิตซ์ และเครื่องใช้ไฟฟ้าตามลาดับ แล้วจึงไหลกลับทางสายกลาง
การไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าใน 1/100 วินาทีแรก กระแสไฟฟ้าจะไหลเข้าทางสายมีศักย์และ
จะไหลกลับทางสายกลางใน 1/100 วินาทีถัดมา กระแสไฟฟ้าจะไหลเข้าทางสายกลาง และไหลกลับออกทาง
สายมีศักย์สลับกันไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งเรียกว่า ไฟฟ้ากระแสสลับ
ชื่อ สัญลักษณ์ ชื่อ สัญลักษณ์
หลอดไฟ แบลลัสต์
สตาร์ตเตอร์ กระแสไฟฟ้า A
ความต้านทานภายนอก R ความต้านทานภายใน r
ความต่างศักย์ไฟฟ้า V กาลังไฟฟ้า P
แรงเคลื่อนไฟฟ้า E พลังงานไฟฟ้า W
เวลา t
เอกสาร
ไฟฟ้าที่ใช้ในบ้านเรือนทั่วไปเป็นไฟฟ้ากระแสสลับมีความต่างศักย์ 220 โวลต์ ความถี่ 50 เฮิรตซ์
การส่งพลังงานไฟฟ้าเข้าบ้านจะใช้สายไฟ 2 เส้น คือ
1. สายกลาง หรือสาย N มีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์
2. สายไฟ หรือสาย L มีศักย์ไฟฟ้าเป็น 220 โวลต์
โดยปกติสาย L และสาย N ที่ต่อเข้าบ้านจะต่อเข้ากับแผงควบคุมไฟฟ้า ซึ่งเป็นที่ควบคุมการจ่าย
พลังงาน ไฟฟ้าทั้งหมดในบ้านอย่างมีระบบ บนแผงควบคุมไฟฟ้ามักจะประกอบด้วย ฟิวส์รวม สะพานไฟรวม
และสะพาน ไฟย่อย โดยสะพานไฟย่อยมีไว้เพื่อแยกและควบคุมการส่งพลังงานไฟฟ้าไปยังวงจรไฟฟ้าย่อย ตาม
ส่วนต่างๆ ของ บ้านเรือน เช่น วงจรชั้นล่าง วงจรชั้นบน วงจรในครัว เป็นต้น
กระแสไฟฟ้า จะสูญเสียพลังงานไฟฟ้าใหกับเครื่องใช้ไฟฟ้า เพื่อเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงาน
อื่นๆ
อุปกรณ์ที่ใช้ในวงจรไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเป็นเครื่องอานวยความสะดวกที่สามารถเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้า เป็นพลังงานรูปอื่น
ตามที่ต้องการได้ง่าย เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้กันอยู่ตามบ้านเรือน เช่น เตารีดไฟฟ้า หม้อหุงข้าวไฟฟ้า พัดลม หลอด
ไฟฟ้า เครื่องซักผ้า เป็นต้น
วงจรไฟฟ้าในบ้านนอกจากจะมีเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดต่างๆ แล้วยังต้องมีอุปกรณ์ที่จาเป็นอื่นๆ อีก เช่น
สายไฟ ฟิวส์ สวิตช์ เต้ารับ-เต้าเสียบ เป็นต้น
สายไฟ (wire)
สายไฟ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ส่งพลังงานไฟฟ้าจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งในรูปของกระแสไฟฟ้า
3
4
เอกสาร
สายไฟทาด้วยลวดตัวนาซึ่งเป็นโลหะ มีความต้านทานไฟฟ้าต่า หุ้มด้วยฉนวนไฟฟ้า ซึ่งอาจเป็นยางหรือ
พลาสติกพีวีซี หรือฉาบด้วยน้ายาเคมี เพื่อป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่ว
สายไฟฟ้าสามารถจาแนกได้ 2 ประเภท คือ
1. สายไฟแรงสูง เป็นสายไฟเปลือยหรือไม่มีฉนวนหุ้มสาย เกลียวทาด้วยโลหะอะลูมิเนียม เพราะมีราคา
ถูกและน้าหนักเบา
2. สายไฟทั่วไป (สายไฟในบ้าน) เป็นสายที่มีฉนวนหุ้ม มีโลหะทองแดงเป็นตัวนา มีหลากหลายประเภท
ให้เลือกตามการใช้งาน ดังนี้
2.1 สายไฟเส้นเดียวหรือสายไฟสายเดี่ยว สาหรับเดินในท่อร้อยสายไฟ
2.2 สายไฟคู่หรือสายไฟสายคู่ ลักษณะอ่อน เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์
2.3 สายไฟสามเส้นหรือเรียกว่าสายคู่มีสายดิน เป็นสายที่ใช้ตามอาคารบ้านเรือนทั่วไป
2.4 สายทนความร้อน มีเปลือกนอกเป็นฉนวนที่ทนความร้อน เช่น สายเตารีด
การอ่านและแปลความหมายของตัวอักษรที่กากับบนสายไฟ
220 V 60 ๐C PVC 2  1.0 SQ.mm
หมายความว่า สายไฟนี้ช้กับกระแสไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์สูงสุดได้ไม่เกิน 220 โวลต์ ในบริเวณที่มี
อุณหภูมิสูงสุดได้ไม่เกิน 60 ๐C ใช้พลาสติกพีวีซีเป็นฉนวนหุ้ม ภายในมีสายไฟ 2 เส้นคู่กัน โดยแต่ละเส้นมี
พื้นที่หน้าตัดเส้น 1.0 ตารางมิลลิเมตร
ตารางแสดงปริมาณกระแสไฟฟ้าสูงสุดที่ไหลผ่านสายไฟมาตรฐานขนาดต่างๆ ที่อุณหภูมิไม่เกิน 40 ๐C
ขนาดพื้นที่หน้าตัด (ตารางมิลลิเมตร) กระแสไฟฟ้าสูงสุดสาหรับสายหุ้ม (แอมแปร์)
เดินในอาคารและนอกอาคาร เดินในท่อหรือภายในอาคาร
1.0 10 6
5
เอกสาร
2.5 18 14
6.0 35 27
16.0 72 49
50.0 163 94
แสดงว่า สายไฟที่ใช้ต่อนอกอาคารหรือนอกบ้านควรมีขนาดใหญ่กว่าสายไฟที่ใช้ภายในอาคารหรือใน
บ้าน เพราะสายไฟขนาดเท่ากันเมื่อต่อนอกอาคาร กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านได้มากกว่าสายไฟที่ต่อภายในอาคาร
ระบบไฟฟ้าในบ้าน
แหล่งผลิตกระแสไฟฟ้ามีอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ ตัวอย่างเช่น ภาคเหนือ มีโรงไฟฟ้าแม่เมาะ จังหวัด
ลาปาง โรงไฟฟ้าเขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก โรงไฟฟ้าเชื่อนสิริกิติ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ และโรงไฟฟ้าลานกระบือ จังหวัด
กาแพงเชร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีโรงไฟฟ้าจุฬาภรณ์ จังหวัดชัยภูมิ โรงไฟฟ้าเขื่อนสิรินธร จังหวัด
อุบลราชธานี และโรงไฟฟ้าเขื่อนอุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น ภาคใต้ มีโรงไฟฟ้ารัชชประภา จังหวัดสุราษฎ์ธานี
และโรงไฟฟ้ากระบี่ จังหวัดกระบี่ ภาคตะวันออก มีโรงไฟฟ้าบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา และภาคกลางมี
โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ จังหวัดนนทบุรี
ไฟฟ้าที่ผลิตจากโรงไฟฟ้าเหล่านี้มีแรงดันสูงมาก เช่น 230,000 โวลต์ 132,000 โวลต์ หรือ 115,000
โวลต์ เป็นต้น เราจึงเรียกว่า ไฟฟ้าแรงสูง การส่งไฟฟ้าจึงต้องใช้สายส่งขนาดใหญ่ มีเสาไฟฟ้าตั้งผ่านทุ่งนาป่าเขา
ไปทั่วประเทศไทย มีระยะทางนาวนับหมื่นๆ กิโลเมตร สายไฟฟ้าแรงสูงเป็นสายเปลือยไม่มีฉนวนหุ้ม ทั้งนี้เพราะ
ไฟฟ้ามีแรงดันสูง หากมีฉนวนหุ้มต้องใช้ฉนวนลักษณะพิเศษ ทาให้มีราคาแพง และเนื่องจากอยู่บนเสาสูงไม่เป็น
อันตรายต่อผู้คนจึงไม่จาเป็นต้องใช้ฉนวนหุ้มก็ได้
ก่อนที่ไฟฟ้าจากสายแรงสูงจะถูกส่งเข้าสู่บ้านที่อยู่อาศัย กระแสไฟฟ้าจะถูกลดแรงดันให้ต่าลงด้วยหม้อ
แปลงไฟฟ้าที่ติดตั้งอยู่ที่เสาไฟฟ้า ให้กระแสไฟฟ้ามีขนาดแรงดันขนาด 220 โวลต์ เพื่อให้กระแสไฟฟ้าแรงดัน
200 โวลต์ ไหลผ่านสายไฟฟ้าแรงดันต่าที่มีสายหุ้มฉนวน ส่งผ่านไปให้บ้านที่อยู่อาศัยนาไปใช้ต่อ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
krupornpana55
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
website22556
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
สมศรี หอมเนียม
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
Aomiko Wipaporn
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
Jariya Jaiyot
 

La actualidad más candente (20)

เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 

Destacado

วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
สุทน ดอนไพร
 
สมุดภาพไฟฟ้า พิชาพรรณ์
สมุดภาพไฟฟ้า พิชาพรรณ์สมุดภาพไฟฟ้า พิชาพรรณ์
สมุดภาพไฟฟ้า พิชาพรรณ์
Rujaruk Sukhasame
 
เรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าเรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้า
Maliwan303fkk
 
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
njoyok
 

Destacado (7)

ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบอนุกรม+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f07-1page
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบอนุกรม+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f07-1pageใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบอนุกรม+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f07-1page
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบอนุกรม+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f07-1page
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
 
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
 
สมุดภาพไฟฟ้า พิชาพรรณ์
สมุดภาพไฟฟ้า พิชาพรรณ์สมุดภาพไฟฟ้า พิชาพรรณ์
สมุดภาพไฟฟ้า พิชาพรรณ์
 
เรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าเรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้า
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
 
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
 

Similar a ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า

สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
ASpyda Ch
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
parm305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
parm305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
parm305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
parm305
 
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
jee2002
 
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
Aommy Arpajai
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
Sarun Boonwong
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
0841766393
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
Kanoknat Kaosim
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
wanitda
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
wanitda
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้า
Natdanai Kumpao
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้า
Natdanai Kumpao
 

Similar a ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า (20)

สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
ตอน2
ตอน2ตอน2
ตอน2
 
Elec1
Elec1Elec1
Elec1
 
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
 
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้า
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้า
 

Más de พัน พัน

Más de พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า

  • 1. เอกสาร สัญลักษณ์และวงจรไฟฟ้า (Symbol and circuit diagram) เรากาหนดและเขียนขึ้นมาก็เพื่อความสะดวกในการสื่อความหมายและทาความเข้าใจในทางไฟฟ้าได้ง่าย ขึ้น ชื่อ สัญลักษณ์ ชื่อ สัญลักษณ์ เซลล์ไฟฟ้า ความต้านทาน (คงที่) แบตเตอรี่ (ต่อแบบอนุกรม) ความต้านทาน (เปลี่ยนค่าได้) แบตเตอรี่ (ต่อแบบขนาน) สายดิน ตัวนาไฟฟ้า แอล ดี อาร์ สวิตซ์ ฟิวส์ โวลต์มิเตอร์ แอมมิเตอร์ จุดต่อไฟฟ้า แกลเวนอมิเตอร์ วัตต์มิเตอร์ ไดโอด ไดโอดเปล่งแสง ตัวเก็บประจุ (ค่าคงที่) ตัวเก็บประจุ (เปลี่ยนค่าได้) ทรานซิสเตอร์ เสาอากาศ ลาโพง หลอดไฟต่อแบบอนุกรม หลอดไฟต่อแบบขนาน ขดลวดเหนี่ยวนาและแกน เหล็ก หม้อแปลงไฟฟ้า ขดลวดเหนี่ยวนา เครื่องกาเนิดไฟฟ้า กระแสตรง เครื่องกาเนิดไฟฟ้า กระแสสลับ แหล่งกาเนิดไฟฟ้า ใบความรู้เรื่อง สัญลักษณ์และวงจรไฟฟ้า 1 2
  • 2. เอกสาร วงจรไฟฟ้า (electric circuit) คือ เส้นทางที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ครบรอบ เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านอุปกรณ์ วงจรปิด (close circuit) หมายถึง วงจรที่กระแสไฟฟ้าไหลได้ครบวงจร เครื่องใช้ไฟฟ้าในวงจรนั้น ทางานได้ วงจรเปิด (open circuit) หมายถึง วงจรขาด ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรและเครื่องใช้ไฟฟ้าในวงจร นั้นทางานไม่ได้ การกดสวิตซ์เปิดไฟ ก็คือการทาให้วงจรปิด มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านหลอดไฟ การกดสวิตซ์ปิดไฟ ก็คือการทาให้วงจรเปิด ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านหลอดไฟ วงจรไฟฟ้าในบ้าน เริ่มจากมาตรวัดพลังงานไฟฟ้า ซึ่งมีมาตรวัดพลังงานไฟฟ้าจะมีสายไฟต่อออกมาสอง สาย คือ สายไฟ (มีศักย์ไฟฟ้า 220 โวลต์) กลับสายกลาง (มีศักย์ไฟฟ้า 0 โวลต์) กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านสายไฟ สะพานไฟ ฟิวส์ สวิตซ์ และเครื่องใช้ไฟฟ้าตามลาดับ แล้วจึงไหลกลับทางสายกลาง การไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าใน 1/100 วินาทีแรก กระแสไฟฟ้าจะไหลเข้าทางสายมีศักย์และ จะไหลกลับทางสายกลางใน 1/100 วินาทีถัดมา กระแสไฟฟ้าจะไหลเข้าทางสายกลาง และไหลกลับออกทาง สายมีศักย์สลับกันไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งเรียกว่า ไฟฟ้ากระแสสลับ ชื่อ สัญลักษณ์ ชื่อ สัญลักษณ์ หลอดไฟ แบลลัสต์ สตาร์ตเตอร์ กระแสไฟฟ้า A ความต้านทานภายนอก R ความต้านทานภายใน r ความต่างศักย์ไฟฟ้า V กาลังไฟฟ้า P แรงเคลื่อนไฟฟ้า E พลังงานไฟฟ้า W เวลา t
  • 3. เอกสาร ไฟฟ้าที่ใช้ในบ้านเรือนทั่วไปเป็นไฟฟ้ากระแสสลับมีความต่างศักย์ 220 โวลต์ ความถี่ 50 เฮิรตซ์ การส่งพลังงานไฟฟ้าเข้าบ้านจะใช้สายไฟ 2 เส้น คือ 1. สายกลาง หรือสาย N มีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์ 2. สายไฟ หรือสาย L มีศักย์ไฟฟ้าเป็น 220 โวลต์ โดยปกติสาย L และสาย N ที่ต่อเข้าบ้านจะต่อเข้ากับแผงควบคุมไฟฟ้า ซึ่งเป็นที่ควบคุมการจ่าย พลังงาน ไฟฟ้าทั้งหมดในบ้านอย่างมีระบบ บนแผงควบคุมไฟฟ้ามักจะประกอบด้วย ฟิวส์รวม สะพานไฟรวม และสะพาน ไฟย่อย โดยสะพานไฟย่อยมีไว้เพื่อแยกและควบคุมการส่งพลังงานไฟฟ้าไปยังวงจรไฟฟ้าย่อย ตาม ส่วนต่างๆ ของ บ้านเรือน เช่น วงจรชั้นล่าง วงจรชั้นบน วงจรในครัว เป็นต้น กระแสไฟฟ้า จะสูญเสียพลังงานไฟฟ้าใหกับเครื่องใช้ไฟฟ้า เพื่อเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงาน อื่นๆ อุปกรณ์ที่ใช้ในวงจรไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้าเป็นเครื่องอานวยความสะดวกที่สามารถเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้า เป็นพลังงานรูปอื่น ตามที่ต้องการได้ง่าย เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้กันอยู่ตามบ้านเรือน เช่น เตารีดไฟฟ้า หม้อหุงข้าวไฟฟ้า พัดลม หลอด ไฟฟ้า เครื่องซักผ้า เป็นต้น วงจรไฟฟ้าในบ้านนอกจากจะมีเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดต่างๆ แล้วยังต้องมีอุปกรณ์ที่จาเป็นอื่นๆ อีก เช่น สายไฟ ฟิวส์ สวิตช์ เต้ารับ-เต้าเสียบ เป็นต้น สายไฟ (wire) สายไฟ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ส่งพลังงานไฟฟ้าจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งในรูปของกระแสไฟฟ้า 3 4
  • 4. เอกสาร สายไฟทาด้วยลวดตัวนาซึ่งเป็นโลหะ มีความต้านทานไฟฟ้าต่า หุ้มด้วยฉนวนไฟฟ้า ซึ่งอาจเป็นยางหรือ พลาสติกพีวีซี หรือฉาบด้วยน้ายาเคมี เพื่อป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่ว สายไฟฟ้าสามารถจาแนกได้ 2 ประเภท คือ 1. สายไฟแรงสูง เป็นสายไฟเปลือยหรือไม่มีฉนวนหุ้มสาย เกลียวทาด้วยโลหะอะลูมิเนียม เพราะมีราคา ถูกและน้าหนักเบา 2. สายไฟทั่วไป (สายไฟในบ้าน) เป็นสายที่มีฉนวนหุ้ม มีโลหะทองแดงเป็นตัวนา มีหลากหลายประเภท ให้เลือกตามการใช้งาน ดังนี้ 2.1 สายไฟเส้นเดียวหรือสายไฟสายเดี่ยว สาหรับเดินในท่อร้อยสายไฟ 2.2 สายไฟคู่หรือสายไฟสายคู่ ลักษณะอ่อน เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ 2.3 สายไฟสามเส้นหรือเรียกว่าสายคู่มีสายดิน เป็นสายที่ใช้ตามอาคารบ้านเรือนทั่วไป 2.4 สายทนความร้อน มีเปลือกนอกเป็นฉนวนที่ทนความร้อน เช่น สายเตารีด การอ่านและแปลความหมายของตัวอักษรที่กากับบนสายไฟ 220 V 60 ๐C PVC 2  1.0 SQ.mm หมายความว่า สายไฟนี้ช้กับกระแสไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์สูงสุดได้ไม่เกิน 220 โวลต์ ในบริเวณที่มี อุณหภูมิสูงสุดได้ไม่เกิน 60 ๐C ใช้พลาสติกพีวีซีเป็นฉนวนหุ้ม ภายในมีสายไฟ 2 เส้นคู่กัน โดยแต่ละเส้นมี พื้นที่หน้าตัดเส้น 1.0 ตารางมิลลิเมตร ตารางแสดงปริมาณกระแสไฟฟ้าสูงสุดที่ไหลผ่านสายไฟมาตรฐานขนาดต่างๆ ที่อุณหภูมิไม่เกิน 40 ๐C ขนาดพื้นที่หน้าตัด (ตารางมิลลิเมตร) กระแสไฟฟ้าสูงสุดสาหรับสายหุ้ม (แอมแปร์) เดินในอาคารและนอกอาคาร เดินในท่อหรือภายในอาคาร 1.0 10 6 5
  • 5. เอกสาร 2.5 18 14 6.0 35 27 16.0 72 49 50.0 163 94 แสดงว่า สายไฟที่ใช้ต่อนอกอาคารหรือนอกบ้านควรมีขนาดใหญ่กว่าสายไฟที่ใช้ภายในอาคารหรือใน บ้าน เพราะสายไฟขนาดเท่ากันเมื่อต่อนอกอาคาร กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านได้มากกว่าสายไฟที่ต่อภายในอาคาร ระบบไฟฟ้าในบ้าน แหล่งผลิตกระแสไฟฟ้ามีอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ ตัวอย่างเช่น ภาคเหนือ มีโรงไฟฟ้าแม่เมาะ จังหวัด ลาปาง โรงไฟฟ้าเขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก โรงไฟฟ้าเชื่อนสิริกิติ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ และโรงไฟฟ้าลานกระบือ จังหวัด กาแพงเชร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีโรงไฟฟ้าจุฬาภรณ์ จังหวัดชัยภูมิ โรงไฟฟ้าเขื่อนสิรินธร จังหวัด อุบลราชธานี และโรงไฟฟ้าเขื่อนอุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น ภาคใต้ มีโรงไฟฟ้ารัชชประภา จังหวัดสุราษฎ์ธานี และโรงไฟฟ้ากระบี่ จังหวัดกระบี่ ภาคตะวันออก มีโรงไฟฟ้าบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา และภาคกลางมี โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ จังหวัดนนทบุรี ไฟฟ้าที่ผลิตจากโรงไฟฟ้าเหล่านี้มีแรงดันสูงมาก เช่น 230,000 โวลต์ 132,000 โวลต์ หรือ 115,000 โวลต์ เป็นต้น เราจึงเรียกว่า ไฟฟ้าแรงสูง การส่งไฟฟ้าจึงต้องใช้สายส่งขนาดใหญ่ มีเสาไฟฟ้าตั้งผ่านทุ่งนาป่าเขา ไปทั่วประเทศไทย มีระยะทางนาวนับหมื่นๆ กิโลเมตร สายไฟฟ้าแรงสูงเป็นสายเปลือยไม่มีฉนวนหุ้ม ทั้งนี้เพราะ ไฟฟ้ามีแรงดันสูง หากมีฉนวนหุ้มต้องใช้ฉนวนลักษณะพิเศษ ทาให้มีราคาแพง และเนื่องจากอยู่บนเสาสูงไม่เป็น อันตรายต่อผู้คนจึงไม่จาเป็นต้องใช้ฉนวนหุ้มก็ได้ ก่อนที่ไฟฟ้าจากสายแรงสูงจะถูกส่งเข้าสู่บ้านที่อยู่อาศัย กระแสไฟฟ้าจะถูกลดแรงดันให้ต่าลงด้วยหม้อ แปลงไฟฟ้าที่ติดตั้งอยู่ที่เสาไฟฟ้า ให้กระแสไฟฟ้ามีขนาดแรงดันขนาด 220 โวลต์ เพื่อให้กระแสไฟฟ้าแรงดัน 200 โวลต์ ไหลผ่านสายไฟฟ้าแรงดันต่าที่มีสายหุ้มฉนวน ส่งผ่านไปให้บ้านที่อยู่อาศัยนาไปใช้ต่อ