SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 50
Descargar para leer sin conexión
สื่ อการสอนประกอบ
      วิชาภาษาไทย ท ๓๓๑๐๒
 เรื่อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ
จัดทาโดย นางสุ จฬา ไก่แก้ว ครู อันดับ คศ. ๓
                ิ
  โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
        สานักงานเขตพืนทีการศึกษา มัธยมศึกษา เขต ๘
                     ้ ่

                                             (สงวนลิขสิทธิ์)
ไตรภูมพระร่ วง
              ิ
       แก้ววรรณกรรม พระราชนิพนธ์ของ
พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พญาลิไท) นัดดา ของ
 พ่อขุนรามคาแหงมหาราช เมื่อครั้ง ทรงเป็ น
อุปราชครองเมืองศรี สชนาลัย เมื่อกว่า ๗๐๐ ปี
                    ั
ไตรภูมพระร่ วง
      ิ
ตอน มนุสสภูมิ
ไตรภูมิ คือ อะไร
เดิม เรียก เตภูมิกถา คือ เรื่องราว
ของสามโลก หรือ สามภูมิ ได้ แก่
กามภูมิ
           รูปภูมิ

อรูปภูมิ
กามภูมิ
โลกของผู้ยงติดอยู่ในกามกิเลส ๒ แดน มี ๑๑ ชั้น
          ั
๑. สุ คติภูมิ ประกอบด้ วย นุสสภูมิ และสวรรค์ ภูมิ
   หรือ ฉกามาพจร ( ๗ ชั้น)
   -   ชั้นที่   ๖ : ปรนิมมิตวสวัตดี
   -   ชั้นที่   ๕ : นิมมานนรดี
   -   ชั้นที่   ๔ : ดุสิต
   -   ชั้นที่   ๓ : ยามา
   -   ชั้นที่   ๒ : ดาวดึงส์
   -   ชั้นที่   ๑ : จตุมหาราชิกา
                    มนุสสภูมิ
๒. อบายภูมิ (ทุคติภูม)ิ แดนฝ่ ายเสื่ อม
   ได้ แก่
   -   อสุ รกายภูมิ
   -   เปรตภูมิ
   -   ดิรัจฉานภูมิ
   -   นรกภูมิ
รูปภูมิ
รูปภูมิ
    ที่อย่ ของพรหมที่มรูปมีท้ งสิ้น
           ู          ี       ั       ๑๖ ชั้น
ต้ องบาเพ็ญสมาธิจนได้ ฌาน
อรูปภูมิ
อรูปภูมิ
แดนของพรหมไม่ มรูป มีแต่ จตหรือวิญญาณ
               ี          ิ
มีท้ังหมด ๔ ชั้น
ไตรภูมพระร่ วง สอนอะไร?
       ิ

“ความเปลียนแปรของสรรพสิ่ ง คือ
         ่
 อนิจจลักษณะ”
มนุสสภูมิ
กาเนิดแห่ งมนุษย์
  ในความเชื่อ
 ของพญาลิไท?
เมือแรกเป็ นเพียง “กลละ” หรือ Cell ขนาดเล็ก
   ่
ผิรูปอันจะเกิดเป็ นชายก็ดี หญิงก็ดี เกิดมีเป็ น อาทิ
               เกิดเป็ น กลละ นั้น
โดยใหญ่ แต่ ละวัน
  แลน้ อย ครั้น ๗ วัน
   เรียกว่ า อัมพุทะ
    ครั้น ๗ วัน วันขึน ้
ดั่งตะกัวเชื่อมอยู่ในหม้ อ
          ่
        เรียกว่ า เปสิ
ฆนะ นั้นค่อยใหญ่ไปทุกวันครั้น ๗ วัน เป็ นตุ่มออกห้าแห่ง
ดังหูดเรียกว่า เบญจสาขาหูด
เบญจหูดนั้นเป็ นมือ ๒ อัน เป็ นตีน ๒ อัน
           เป็ นหัวนันอันหนึ่ง
แลแต่ น้ ันค่ อยไป
     เบืองหน้ า
          ้
  ทุกวันครั้น ๗
            วัน
     เป็ นฝ่ ามือ
เป็ นนิวมือ นิวตีน
        ้       ้
คารบ ๔๒ จึงเป็ นขน
เป็ นเล็บตีน เล็บมือ
เป็ นเครื่องสาหรับมนุษย์
ถ้ วนทุกอันแล
แลกุมารนั้นนั่งกลาง
     ท้ องแม่
แลเอาหลังมาต่ อหลัง
     ท้ องแม่
่
  เมื่อกุมารอยูใน
    ท้องแม่น้ น
              ั
ลาบากนักหนา ก็ช้ืน
 และเหม็นกลิ่นตืด
แลเอือน ๘๐ ครอก
อันว่ าสายดือแห่ งกุมารนั้น กลวงดังสายก้ านบัว อันมีชื่อว่ าอุบล
          จงอยไส้ ดอนั้น กลวงขึนไปติดหลังท้ องแม่
                     ื          ้
ข้ าวนาอาหารใดอันแม่ กนไสร้ แลโอชารสนั้นก็เป็ นนาชุ่ม
       ้                 ิ                           ้
      เข้ าไปในไส้ ดอนั้นแลเข้ าไปในท้ องกุมารนั้นแล
                    ื
     สะหน่ อยๆ แลผู้น้อยนั้นก็ได้ กนทุกคาเช้ าทุกวัน
                                    ิ      ่
เบืองหลังกุมารนั้นต่ อหลังท้ องแม่ แลนั่งยอง
   ้
      อยู่ในท้ องแม่ แลกามือทั้งสอง...
กุมารนั้นอยู่ในท้ องแม่ บ่ห่อน
   ได้ หายใจเข้ าออกเสี ยเลย
     บ่ ห่อนได้ เหยียดตีน
  เหยียดมือออก ดังเราท่ าน
                    ่
    ทั้งหลายนีสักคาบเลย
                ้
คนผู้ใดอยู่ในท้ องแม่ ๖ เดือน
แลคลอดบ่ ห่อนจะได้ สักคาบ
เมื่อจะออกจากท้ องแม่
      วันนั้นไสร้
  จึงลมกรรมชวาต
พัดให้ หัวผู้น้อยนั้นลง
    มาสู่ ทจะออก
           ี่
     แลคับแคบ
   แอ่ นยันนักหนา
ครั้นออกจากท้ องแม่ แต่ น้ันไป เมื่อหน้ ากุมารนั้น
           จึงรู้ หายใจเข้ าออกแล
ผิแลคนผู้มาแต่ สวรรค์ ... ครั้นว่ าออกมาไสร้
          ก็ย่อมหัวเราะก่ อนแล
ผิคนอันมาแต่ นรกก็ดี แลมาแต่ เปรตก็ดมนคานึงถึง
                                     ี ั
   ความอันลาบากนั้น ครั้นว่ าออกมาก็ร้องไห้ แล
น่ าสั งเกตไหมว่ าเหตุใดผู้แต่ งจึงเข้ าใจ
เรื่องกาเนิดมนุษย์ อย่ างความคิด
วิทยาศาสตร์ จนแทบไม่ น่าเชื่อว่ านี่คอ     ื
ผลงานกวีโบราณ
สรุปเนือหาไตรภูมพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ
                      ้        ิ
ผูแต่ง
   ้
      – พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไทย)เป็ นกษัตริ ยองค์ที่ 5 ของสุโขทัย
                                                           ์
ชื่อเดิม
      – เตภูมกถา หรื อ ไตรภูมิกถา
                ิ
ความหมาย
      – เรื่ องราวของสามโลก คือ กามภูมิ รู ปภูมิ อรู ปภูมิ
จุดมุ่งหมาย
     – ชี้ให้เห็นคุณและโทษของโลกทั้งสาม ที่มีแต่การแปรเปลี่ยนไม่แน่นอน มีแต่อนิจจลักษณะ
                                                             ่
     – ชี้ให้มนุษย์หาทางหลุดพ้นไปจากโลกทั้งสามเพื่อไปอยูในโลกุตรภูมิ หรื อนิพพาน
     – เน้นเรื่ องกฎแห่งกรรม โดยเริ่ มเนื้อหาจากนรกภูมิ
ผลจากการฟัง – ทาให้บรรลุนิพพาน
      – ได้เกิดเป็ นเทพยดาในสวรรค์อนเป็ นโลกทิพย์
                                       ั
      – มีโอกาสเกิดมาพบพระศรี อาริ ยผจะมาเป็ นพระพุทธเจ้าในอนาคต
                                          ์ ู้
คุณค่า
ด้านวรรณคดี
   – เป็ นหลักฐานแสดงให้เห็นว่าคนไทยรู้จกแต่งวรรณคดีต้งแต่สมัยสุโขทัย
                                         ั             ั
ด้านศาสนา
   – เป็ นการนาเสนอปรัชญาทางพุทธศาสนา
ด้านจริยธรรม
   – กาหนดกรอบการปฏิบติตนให้คนในสังคมทั้งผูปกครองและผูถูกปกครอง ทาให้สงคมสงบสุ ข
                          ั                      ้            ้              ั
ด้านประเพณีและวัฒนธรรม
   – แสดงให้เห็นความเชื่อที่ตกทอดมาสู่ ประเพณี และวัฒนธรรมในปั จจุบน เช่น
                                                                    ั
   – การจัดดอกไม้ธูปเทียนให้คนตายก่อนปิ ดฝาโลง เพื่อให้ผตายนาดอกไม้น้ นไปสักการะพระจุฬามณี
                                                           ู้           ั
    เจดีย์ในสวรรค์
   – การเผาศพในเมรุ เปรี ยบเสมือนการเดินทางขึ้นเขาพระสุเมรุ ไปสู่สวรรค์
ด้านศิลปะ
   – ก่อให้เกิดงานจิตรกรรมและสถาปัตยกรรมตามแผนภูมิจกรวาลในเรื่ องไตรภูมิพระร่ วง
                                                         ั
แนวคิด

– การเกิดในท้องมารดาเป็ นทุกข์แบบหนึ่ง ไม่ใช่เรื่ องน่ายินดีเลย
– กวีมีความรู้ เรื่องการกาเนิดมนุษย์ ตามแบบวิทยาศาสตร์
การใช้ ภาษา
– มีการใช้คาเป็ นจังหวะน่าฟัง
– มีการใช้คาสัมผัสคล้องจอง
– มีการใช้โวหารภาพพจน์ โดยเฉพาะอุปมาโวหาร
การเกิดมนุษย์
•   ปฏิสนธิ -> กัลละ (ขนาด เศษ 1 ส่วน256 ของเส้นผม)
•   7 วัน -> อัมพุทะ (น้ าล้างเนื้อ)
•   14 วัน -> เปสิ (ชิ้นเนื้อ)
•   21 วัน -> ฆนะ (ก้อนเนื้อ, แท่งเนื้อ ขนาดเท่าไข่ไก่)
•   28 วัน -> เบญจสาขาหูด (มีหว แขน2 ขา2) ครบ 1 เดือน
                                    ั
•   35 วัน -> มีฝ่ามือ นิ้วมือ ลายนิ้วมือ
•   42 วัน -> มีขน เล็บมือ เล็บเท้า (เป็ นมนุษย์ครบสมบูรณ์)
•   50 วัน -> ท่อนล่างสมบูรณ์
•   84 วัน -> ท่อนบนสมบูรณ์
•   184 วัน -> เป็ นเด็กสมบูรณ์ นังกลางท้องแม่ (6เดือน)
                                  ่
การคลอด/การเกิด

•   ท้อง 6 เดือนคลอด - >ไม่รอด
•   ท้อง 7 เดือนคลอด ->ไม่แข็งแรง
•   การเกิด
•   มาจากสวรรค์ -> ตัวเย็น ออกมาแล้วหัวเราะ
•   มาจากนรก -> ตัวร้อน ออกมาแล้วร้องไห้
•   *** ลมกรรมชวาต = ลมเกิดแต่กรรม ดันให้เด็กคลอดออกมา
กาลทั้ง 3 ของมนุษย์

• กาล 1 แรกเกิดในท้องแม่
• กาล 2 อยู่ในท้ องแม่
• กาล 3 ออกจากในท้องแม่
• * คนธรรมดา ไม่ ร้ ู ตัว จาไม่ ได้ ท้ง 3 กาล
                                      ั
• * พระปัจเจกโพธิเจ้ า/ พระอรหันตาขีณาสพเจ้ า / พระอัครสาวกเจ้ า 2
  กาลแรกรู้ ตัว จาได้ แต่ ลมกาลที่ 3
                           ื
• *** ควรอิมสงสารแล = เกิดเป็ นคนควรใช้ ชีวตให้ ค้ ุมค่ า
             ่                                ิ
โวหารในไตรภูมิ
อุปมาโวหาร แสดงให้ เห็นความทุกข์ ของการเกิด
- เลือดแลนาเหลืองย้อยลงเต็มตนทุกเมื่อแล ดุจดังลิงเมื่อฝนตก แลนั่งกามือเซาเจ่ าอยู่ในโพรงไม้ น้ ัน
             ้                                     ่
    แล
- ในท้ องแม่ ร้อนนักหนา ดุจดังเราเอาใบตองเข้ าจ่ อตน แลต้ มในหม้ อนั้นไซร้
- กุมารนั้นเจ็บเนือเจ็บตน ดังคนอันท่ านขังไว้ในไหอันคับแคบหนักหนา
                   ้             ่
- กุมารอยู่ในท้ องแม่ น้ ันให้ เจ็บเพียงจะตายแล ดุจดังลูกทรายอันเพิงออกแล อยู่ธรห้ อยผิบ่มดุจดังคน
                                                       ่           ่                      ิ ่
    อันเมาเหล้า(เหมือนลูกทรายโดนคนเมาเอาไปโยนเล่น) ผิบ่มิดุจดังลูกงูอนหมองูเอาไปเล่น นั้น
                                                                     ่   ั
    แล
- เมื่อถึงจักคลอด ดุจดังฝูงนรกอันยมบาลกุมตีนแลหย่อนหัวลงในขุมนรก อันลึกได้แลร้ อยวา
                          ่
- เมื่อกุมารคลอดออกจากท้ องแม่ ออกแลไปบ่ มิพ้นตน ตนเย็น(แม่ )นั้นแลเจ็บเนือเจ็บตนนักหนา ดัง
                                                                               ้                 ่
    ช้ างสารท่ านชักท่ านเข็นออกจากประตูลกษ(รูกญแจ)อันน้ อยนั้น
                                              ั      ุ
- แลคับตัวออกยากลาบากนั้นแล ผิบ่มิดงนั้น ดังคนผู้อยู่ในนรกแล แล ภูเขาอันชื่อคังไคยบรรพตหีบ
                                           ่ั   ่
    (บีบ)แลเหง(ทับ) และบดบีน้ันแล  ้
ข้ อสอบก่ อนเรียน/หลังเรียน

1. ข้ อใดแสดงให้ เห็นว่าผู้แต่ งเรื่องไตรภูมิพระร่ วงเข้ าใจเรื่องกาเนิดของมนุษย์ อย่างความคิดทาง
         วิทยาศาสตร์
                                             ่
   ก. ฝูงตืดแลเอือนทั้งหลายนั้นคนกันอยูในท้องแม่ ตืดแลเอือนฝูงนั้นเริ มตัวกุมารนั้นไสร้
   ข. ผิวรู ปอันจะเกิดเป็ นชายก็ดีเป็ นหญิงก็ดี เกิดมีอาทิแต่เกิดเป็ นกลละนั้นโดยใหญ่แต่ละวัน
      แลน้อย
                   ่
   ค. เมื่อกุมารอยูในท้องแม่น้ นลาบากหนักหนา พึงเกลียดพึงหน่ายพ้นประมาณนัก
                                  ั
      ก็ช้ืนแลเหม็นกลิ่นตืดแลเอือนอันได้ 80 ครอก
   ง. ด้วยอานาจแห่งไฟธาตุอนร้อนนั้น ส่วนตัวกุมารนั้นบ่มิไหม้ เพราะว่าเป็ นธรรมดาด้วยบุญ
                                ั
      กุมารนั้นจะเป็ นคนแล
2. ข้ อใดคือจุดมุ่งหมายของเรื่อง “ไตรภูมิพระร่ วง”
   ก. เพื่อสะท้อนภาพชีวตของคนสมัยสุโขทัย
                          ิ
   ข. เพื่อสอนธรรมะของพระพุทธเจ้า
   ค. เพื่อสอนธรรมะแกประชาชนชาวสุโขทัยและเป็ นการเผยแผ่ทาง
      พระพุทธศาสนา
                                                            ่
   ง. เพื่อชี้นาให้มนุษย์หาทางหลุดพ้นไปจากโลกทั้งสามและไปอยูใน
      โลกและภพภูมิที่มีความสุขนิรันดร.
3. ข้ อใดคือแนวคิดสาคัญของไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ
   ก. การเกิดเป็ นมนุษย์เป็ นความทุกข์อย่างยิง
                                             ่
   ข. การเกิดของมนุษย์ตามแนวคิดทางด้านวิทยาศาสตร์
   ค. มนุษย์เกิดมาด้วยความยากลาบากและมีที่มาต่างๆ กัน
   ง. มนุษย์เมื่อแรกเกิดเป็ นเพียง “กลละ” หรื อเซลล์ที่มีขนาดเล็ก
4. ข้ อใดรวมเรียกว่า “ไตรภูมิ”
  ก. สวรรคภูมิ มนุสสภูมิ นรกภูมิ
  ข. กามภูมิ รู ปภูมิ อรู ปภูมิ
  ค. โลกมนุษย์ สวรรค์ บาดาล
  ง. สุคติภูมิ ทุคติภูมิ ฉกามาพจร
5. สถานที่ใดจัดว่าเป็ นดินแดนของผู้มีบุญ
  ก. อุตตรกุรุทวีป          ข. ชมพูทวีป
  ค. อมรโคยานทวีป ง. บุรพวิเทหทวีป
6. “......แต่ กมารนั้นอยู่ในท้ องแม่ บ่ ห่อนจะได้หายใจเข้ าออกเสียเลย บ่ ห่อนได้เหยียดตีนเหยียดมือออกดัง
               ุ                                                                                       ่
    เราท่ านทั้งหลายนีสักคาบหนึ่งเลยแลกุมารนั้นเจ็บเนือเจ็บตนดังคนอันท่ านขังไว้ ในไหอันคับแคบ
                       ้                              ้        ่
    หนักหนา แค้นเนือแค้นใจ แลเดือดเนือเดือดใจนักหนา.....”
                     ้                ้
  ลักษณะใดไม่ ปรากฏในข้ อความข้ าง
  ก. การใช้โวหารภาพพจน์
  ข. การพรรณนาให้กลัวบาปกรรม
  ค. การใช้คาที่เป็ นจังหวะน่าฟัง
  ง. การซ้ าคา ซ้อนคาและการใช้วลีซ้ าๆ เพื่อเน้นความหมาย
7. ข้ อใดเรียงลาดับก่ อน – หลัง เกียวกับขั้นตอนการเกิดของมนุษย์ ได้ ถูกต้ อง
                                        ่
  ก. กลละ ฆนะ เปสิ อัมพุทะ
  ข. อัมพุทะ เปสิ ฆนะ กลละ
  ค. กลละ อัมพุทะ เปสิ ฆนะ
  ง. อัมพุทะ ฆนะ กลละ เปสิ
8. “......เมือกุมารอยู่ในท้ องแม่ น้นลาบากนักหนา พึงเกลียดพึงหน่ ายพ้ นประมาณนัก
             ่                      ั
    ก็ชื้นแลเหม็นกลินตืดแลเอือน.....”
                       ่
         คาว่ า “เอือน” ในข้ อความข้ างต้ นนี้ มีความหมายตามข้ อใด
         ก. พยาธิชนิดหนึ่ง            ข. น้ าเหลือง
         ค. เลือด                     ง. สะอิดสะเอียน
9. ข้ อใดเด่นที่สุดในการใช้ คาที่แสดงความเคลือนไหว เพือสื่อให้ เกิดจินตภาพ
                                             ่        ่
  ก. ในท้องแม่น้ นร้อนนักหนา ดุจดังเราเอา ใบตองเข้าจ่อตน แลต้มในหม้อนั้นไสร้
                   ั                 ่
  ข. มีปากอันแดงดังลูกฟักข้าวอันสุ กนั้น แลมีลาแข้งลาขานั้นงามดังลากล้วยทองฝาแฝด
                       ่                                           ่
        นั้นแล
  ค. อีกฝูงเทวาฟ้ าฝนนั้นก็ตกชอบฤดูกาล บ่มินอย บ่มิมาก ทั้งข้าวในนาทั้งปลาในน้ าก็บห่อน
                                               ้                                   ่
        รู้ร่วงโรยเสี ยไปด้วยฝนแล้งเลย
  ง. ฝูงยมบาลเอาเชื อกเหล็กแดงอันลุกเป็ นไฟไล่ กระหวัดรัดตัวเขา แล้วตระบิดให้คอเขานั้น
        ขาดออก
10.“.....แลมีฝูงผู้หญิงอันอยู่ในแผ่นดินนั้นงามทุกคน รู ปทรงเขานั้นบ่ มตา บ่ มสูง บ่ มพี
                                                                      ิ ่ ิ           ิ
       บ่ มผอม บ่ มขาว บ่ มดา สีสมบูรณ์ งามดังทองอันสุ กเหลืองเรืองเป็ นทีพอใจฝูงชาย
           ิ            ิ       ิ                  ่                         ่
       ทุกคนแลนิวตีนนิวมือเขานั้น กลมงามนะแน่ ง เล็บตีนเล็บมือเขานั้นแดงดังนาครั่ง
                    ้     ้                                                     ่ ้
       อันท่ านแต่ งแล้ วแลแต้ มไว้ แลสองแก้ มเขานั้นไสร้ งามเป็ นนวลดังแกล้ งเอาแป้ งผัด
                                                                       ่
       หน้ าเขานั้นหมดเกลียงปราศจากมลทินหาฝ้ าหาไฝบ่ มได้ แลเห็นดวงหน้ าเขาไสร้
                              ้                             ิ
       ดุจดังพระจันทร์ วนเพ็งบูรณ์ น้ัน.....”
             ่              ั
        “แผ่นดินนั้น” ในข้ อความข้ างต้ นนีหมายถึงแผ่นดินใด
                                             ้
        ก. สวรรค์ช้ นดาวดึงส์
                      ั                ข. สวรรค์ช้ นโสฬส
                                                     ั
        ค. อุตตรกุรุทวีป                ง. ป่ าหิ มพานต์
เฉลยข้ อสอบ
1. ข.                6. ก.
2. ข.        7. ค.
3. ก.                8. ก.
4. ข.                9. ง.
5. ก.            10. ค.
จบบริบูรณ์

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34Kittisak Chumnumset
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51Krusupharat
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือWarodom Techasrisutee
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)K'Keng Hale's
 

La actualidad más candente (20)

การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 

Similar a ไตรภูมิพระร่วง

ไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ Pdfไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ PdfMameaw Pawa
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลniralai
 
Power point คำราชาศัพท์
Power  point  คำราชาศัพท์Power  point  คำราชาศัพท์
Power point คำราชาศัพท์Jazz Kanok-orn Busaparerk
 
กลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการกลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการniralai
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1krubuatoom
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปดTongsamut vorasan
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนPanda Jing
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญาTongsamut vorasan
 
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดานอมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดานTongsamut vorasan
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรหยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรPanda Jing
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมTongsamut vorasan
 
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasatiTongsamut vorasan
 

Similar a ไตรภูมิพระร่วง (20)

Tripoom
TripoomTripoom
Tripoom
 
ไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ Pdfไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ Pdf
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาล
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
Power point คำราชาศัพท์
Power  point  คำราชาศัพท์Power  point  คำราชาศัพท์
Power point คำราชาศัพท์
 
กลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการกลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการ
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
 
Buddha
BuddhaBuddha
Buddha
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
 
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดานอมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรหยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
มนุษย์กับการสร้างสรรค์
มนุษย์กับการสร้างสรรค์มนุษย์กับการสร้างสรรค์
มนุษย์กับการสร้างสรรค์
 
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
 

Más de พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

Más de พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ไตรภูมิพระร่วง

  • 1. สื่ อการสอนประกอบ วิชาภาษาไทย ท ๓๓๑๐๒ เรื่อง ไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ จัดทาโดย นางสุ จฬา ไก่แก้ว ครู อันดับ คศ. ๓ ิ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี สานักงานเขตพืนทีการศึกษา มัธยมศึกษา เขต ๘ ้ ่ (สงวนลิขสิทธิ์)
  • 2. ไตรภูมพระร่ วง ิ แก้ววรรณกรรม พระราชนิพนธ์ของ พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พญาลิไท) นัดดา ของ พ่อขุนรามคาแหงมหาราช เมื่อครั้ง ทรงเป็ น อุปราชครองเมืองศรี สชนาลัย เมื่อกว่า ๗๐๐ ปี ั
  • 3. ไตรภูมพระร่ วง ิ ตอน มนุสสภูมิ
  • 4. ไตรภูมิ คือ อะไร เดิม เรียก เตภูมิกถา คือ เรื่องราว ของสามโลก หรือ สามภูมิ ได้ แก่
  • 5. กามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ
  • 7. โลกของผู้ยงติดอยู่ในกามกิเลส ๒ แดน มี ๑๑ ชั้น ั ๑. สุ คติภูมิ ประกอบด้ วย นุสสภูมิ และสวรรค์ ภูมิ หรือ ฉกามาพจร ( ๗ ชั้น) - ชั้นที่ ๖ : ปรนิมมิตวสวัตดี - ชั้นที่ ๕ : นิมมานนรดี - ชั้นที่ ๔ : ดุสิต - ชั้นที่ ๓ : ยามา - ชั้นที่ ๒ : ดาวดึงส์ - ชั้นที่ ๑ : จตุมหาราชิกา มนุสสภูมิ
  • 8. ๒. อบายภูมิ (ทุคติภูม)ิ แดนฝ่ ายเสื่ อม ได้ แก่ - อสุ รกายภูมิ - เปรตภูมิ - ดิรัจฉานภูมิ - นรกภูมิ
  • 10. รูปภูมิ ที่อย่ ของพรหมที่มรูปมีท้ งสิ้น ู ี ั ๑๖ ชั้น ต้ องบาเพ็ญสมาธิจนได้ ฌาน
  • 12. อรูปภูมิ แดนของพรหมไม่ มรูป มีแต่ จตหรือวิญญาณ ี ิ มีท้ังหมด ๔ ชั้น
  • 13. ไตรภูมพระร่ วง สอนอะไร? ิ “ความเปลียนแปรของสรรพสิ่ ง คือ ่ อนิจจลักษณะ”
  • 14. มนุสสภูมิ กาเนิดแห่ งมนุษย์ ในความเชื่อ ของพญาลิไท?
  • 15. เมือแรกเป็ นเพียง “กลละ” หรือ Cell ขนาดเล็ก ่
  • 16. ผิรูปอันจะเกิดเป็ นชายก็ดี หญิงก็ดี เกิดมีเป็ น อาทิ เกิดเป็ น กลละ นั้น
  • 17. โดยใหญ่ แต่ ละวัน แลน้ อย ครั้น ๗ วัน เรียกว่ า อัมพุทะ ครั้น ๗ วัน วันขึน ้ ดั่งตะกัวเชื่อมอยู่ในหม้ อ ่ เรียกว่ า เปสิ
  • 18. ฆนะ นั้นค่อยใหญ่ไปทุกวันครั้น ๗ วัน เป็ นตุ่มออกห้าแห่ง ดังหูดเรียกว่า เบญจสาขาหูด
  • 19. เบญจหูดนั้นเป็ นมือ ๒ อัน เป็ นตีน ๒ อัน เป็ นหัวนันอันหนึ่ง
  • 20. แลแต่ น้ ันค่ อยไป เบืองหน้ า ้ ทุกวันครั้น ๗ วัน เป็ นฝ่ ามือ เป็ นนิวมือ นิวตีน ้ ้
  • 21. คารบ ๔๒ จึงเป็ นขน เป็ นเล็บตีน เล็บมือ เป็ นเครื่องสาหรับมนุษย์ ถ้ วนทุกอันแล
  • 22. แลกุมารนั้นนั่งกลาง ท้ องแม่ แลเอาหลังมาต่ อหลัง ท้ องแม่
  • 23. ่ เมื่อกุมารอยูใน ท้องแม่น้ น ั ลาบากนักหนา ก็ช้ืน และเหม็นกลิ่นตืด แลเอือน ๘๐ ครอก
  • 24. อันว่ าสายดือแห่ งกุมารนั้น กลวงดังสายก้ านบัว อันมีชื่อว่ าอุบล จงอยไส้ ดอนั้น กลวงขึนไปติดหลังท้ องแม่ ื ้
  • 25. ข้ าวนาอาหารใดอันแม่ กนไสร้ แลโอชารสนั้นก็เป็ นนาชุ่ม ้ ิ ้ เข้ าไปในไส้ ดอนั้นแลเข้ าไปในท้ องกุมารนั้นแล ื สะหน่ อยๆ แลผู้น้อยนั้นก็ได้ กนทุกคาเช้ าทุกวัน ิ ่
  • 26. เบืองหลังกุมารนั้นต่ อหลังท้ องแม่ แลนั่งยอง ้ อยู่ในท้ องแม่ แลกามือทั้งสอง...
  • 27. กุมารนั้นอยู่ในท้ องแม่ บ่ห่อน ได้ หายใจเข้ าออกเสี ยเลย บ่ ห่อนได้ เหยียดตีน เหยียดมือออก ดังเราท่ าน ่ ทั้งหลายนีสักคาบเลย ้
  • 28. คนผู้ใดอยู่ในท้ องแม่ ๖ เดือน แลคลอดบ่ ห่อนจะได้ สักคาบ
  • 29. เมื่อจะออกจากท้ องแม่ วันนั้นไสร้ จึงลมกรรมชวาต พัดให้ หัวผู้น้อยนั้นลง มาสู่ ทจะออก ี่ แลคับแคบ แอ่ นยันนักหนา
  • 30. ครั้นออกจากท้ องแม่ แต่ น้ันไป เมื่อหน้ ากุมารนั้น จึงรู้ หายใจเข้ าออกแล
  • 31.
  • 32. ผิแลคนผู้มาแต่ สวรรค์ ... ครั้นว่ าออกมาไสร้ ก็ย่อมหัวเราะก่ อนแล
  • 33. ผิคนอันมาแต่ นรกก็ดี แลมาแต่ เปรตก็ดมนคานึงถึง ี ั ความอันลาบากนั้น ครั้นว่ าออกมาก็ร้องไห้ แล
  • 34. น่ าสั งเกตไหมว่ าเหตุใดผู้แต่ งจึงเข้ าใจ เรื่องกาเนิดมนุษย์ อย่ างความคิด วิทยาศาสตร์ จนแทบไม่ น่าเชื่อว่ านี่คอ ื ผลงานกวีโบราณ
  • 35. สรุปเนือหาไตรภูมพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ ้ ิ ผูแต่ง ้ – พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไทย)เป็ นกษัตริ ยองค์ที่ 5 ของสุโขทัย ์ ชื่อเดิม – เตภูมกถา หรื อ ไตรภูมิกถา ิ ความหมาย – เรื่ องราวของสามโลก คือ กามภูมิ รู ปภูมิ อรู ปภูมิ จุดมุ่งหมาย – ชี้ให้เห็นคุณและโทษของโลกทั้งสาม ที่มีแต่การแปรเปลี่ยนไม่แน่นอน มีแต่อนิจจลักษณะ ่ – ชี้ให้มนุษย์หาทางหลุดพ้นไปจากโลกทั้งสามเพื่อไปอยูในโลกุตรภูมิ หรื อนิพพาน – เน้นเรื่ องกฎแห่งกรรม โดยเริ่ มเนื้อหาจากนรกภูมิ ผลจากการฟัง – ทาให้บรรลุนิพพาน – ได้เกิดเป็ นเทพยดาในสวรรค์อนเป็ นโลกทิพย์ ั – มีโอกาสเกิดมาพบพระศรี อาริ ยผจะมาเป็ นพระพุทธเจ้าในอนาคต ์ ู้
  • 36. คุณค่า ด้านวรรณคดี – เป็ นหลักฐานแสดงให้เห็นว่าคนไทยรู้จกแต่งวรรณคดีต้งแต่สมัยสุโขทัย ั ั ด้านศาสนา – เป็ นการนาเสนอปรัชญาทางพุทธศาสนา ด้านจริยธรรม – กาหนดกรอบการปฏิบติตนให้คนในสังคมทั้งผูปกครองและผูถูกปกครอง ทาให้สงคมสงบสุ ข ั ้ ้ ั ด้านประเพณีและวัฒนธรรม – แสดงให้เห็นความเชื่อที่ตกทอดมาสู่ ประเพณี และวัฒนธรรมในปั จจุบน เช่น ั – การจัดดอกไม้ธูปเทียนให้คนตายก่อนปิ ดฝาโลง เพื่อให้ผตายนาดอกไม้น้ นไปสักการะพระจุฬามณี ู้ ั เจดีย์ในสวรรค์ – การเผาศพในเมรุ เปรี ยบเสมือนการเดินทางขึ้นเขาพระสุเมรุ ไปสู่สวรรค์ ด้านศิลปะ – ก่อให้เกิดงานจิตรกรรมและสถาปัตยกรรมตามแผนภูมิจกรวาลในเรื่ องไตรภูมิพระร่ วง ั
  • 37. แนวคิด – การเกิดในท้องมารดาเป็ นทุกข์แบบหนึ่ง ไม่ใช่เรื่ องน่ายินดีเลย – กวีมีความรู้ เรื่องการกาเนิดมนุษย์ ตามแบบวิทยาศาสตร์ การใช้ ภาษา – มีการใช้คาเป็ นจังหวะน่าฟัง – มีการใช้คาสัมผัสคล้องจอง – มีการใช้โวหารภาพพจน์ โดยเฉพาะอุปมาโวหาร
  • 38. การเกิดมนุษย์ • ปฏิสนธิ -> กัลละ (ขนาด เศษ 1 ส่วน256 ของเส้นผม) • 7 วัน -> อัมพุทะ (น้ าล้างเนื้อ) • 14 วัน -> เปสิ (ชิ้นเนื้อ) • 21 วัน -> ฆนะ (ก้อนเนื้อ, แท่งเนื้อ ขนาดเท่าไข่ไก่) • 28 วัน -> เบญจสาขาหูด (มีหว แขน2 ขา2) ครบ 1 เดือน ั • 35 วัน -> มีฝ่ามือ นิ้วมือ ลายนิ้วมือ • 42 วัน -> มีขน เล็บมือ เล็บเท้า (เป็ นมนุษย์ครบสมบูรณ์) • 50 วัน -> ท่อนล่างสมบูรณ์ • 84 วัน -> ท่อนบนสมบูรณ์ • 184 วัน -> เป็ นเด็กสมบูรณ์ นังกลางท้องแม่ (6เดือน) ่
  • 39. การคลอด/การเกิด • ท้อง 6 เดือนคลอด - >ไม่รอด • ท้อง 7 เดือนคลอด ->ไม่แข็งแรง • การเกิด • มาจากสวรรค์ -> ตัวเย็น ออกมาแล้วหัวเราะ • มาจากนรก -> ตัวร้อน ออกมาแล้วร้องไห้ • *** ลมกรรมชวาต = ลมเกิดแต่กรรม ดันให้เด็กคลอดออกมา
  • 40. กาลทั้ง 3 ของมนุษย์ • กาล 1 แรกเกิดในท้องแม่ • กาล 2 อยู่ในท้ องแม่ • กาล 3 ออกจากในท้องแม่ • * คนธรรมดา ไม่ ร้ ู ตัว จาไม่ ได้ ท้ง 3 กาล ั • * พระปัจเจกโพธิเจ้ า/ พระอรหันตาขีณาสพเจ้ า / พระอัครสาวกเจ้ า 2 กาลแรกรู้ ตัว จาได้ แต่ ลมกาลที่ 3 ื • *** ควรอิมสงสารแล = เกิดเป็ นคนควรใช้ ชีวตให้ ค้ ุมค่ า ่ ิ
  • 41. โวหารในไตรภูมิ อุปมาโวหาร แสดงให้ เห็นความทุกข์ ของการเกิด - เลือดแลนาเหลืองย้อยลงเต็มตนทุกเมื่อแล ดุจดังลิงเมื่อฝนตก แลนั่งกามือเซาเจ่ าอยู่ในโพรงไม้ น้ ัน ้ ่ แล - ในท้ องแม่ ร้อนนักหนา ดุจดังเราเอาใบตองเข้ าจ่ อตน แลต้ มในหม้ อนั้นไซร้ - กุมารนั้นเจ็บเนือเจ็บตน ดังคนอันท่ านขังไว้ในไหอันคับแคบหนักหนา ้ ่ - กุมารอยู่ในท้ องแม่ น้ ันให้ เจ็บเพียงจะตายแล ดุจดังลูกทรายอันเพิงออกแล อยู่ธรห้ อยผิบ่มดุจดังคน ่ ่ ิ ่ อันเมาเหล้า(เหมือนลูกทรายโดนคนเมาเอาไปโยนเล่น) ผิบ่มิดุจดังลูกงูอนหมองูเอาไปเล่น นั้น ่ ั แล - เมื่อถึงจักคลอด ดุจดังฝูงนรกอันยมบาลกุมตีนแลหย่อนหัวลงในขุมนรก อันลึกได้แลร้ อยวา ่ - เมื่อกุมารคลอดออกจากท้ องแม่ ออกแลไปบ่ มิพ้นตน ตนเย็น(แม่ )นั้นแลเจ็บเนือเจ็บตนนักหนา ดัง ้ ่ ช้ างสารท่ านชักท่ านเข็นออกจากประตูลกษ(รูกญแจ)อันน้ อยนั้น ั ุ - แลคับตัวออกยากลาบากนั้นแล ผิบ่มิดงนั้น ดังคนผู้อยู่ในนรกแล แล ภูเขาอันชื่อคังไคยบรรพตหีบ ่ั ่ (บีบ)แลเหง(ทับ) และบดบีน้ันแล ้
  • 42. ข้ อสอบก่ อนเรียน/หลังเรียน 1. ข้ อใดแสดงให้ เห็นว่าผู้แต่ งเรื่องไตรภูมิพระร่ วงเข้ าใจเรื่องกาเนิดของมนุษย์ อย่างความคิดทาง วิทยาศาสตร์ ่ ก. ฝูงตืดแลเอือนทั้งหลายนั้นคนกันอยูในท้องแม่ ตืดแลเอือนฝูงนั้นเริ มตัวกุมารนั้นไสร้ ข. ผิวรู ปอันจะเกิดเป็ นชายก็ดีเป็ นหญิงก็ดี เกิดมีอาทิแต่เกิดเป็ นกลละนั้นโดยใหญ่แต่ละวัน แลน้อย ่ ค. เมื่อกุมารอยูในท้องแม่น้ นลาบากหนักหนา พึงเกลียดพึงหน่ายพ้นประมาณนัก ั ก็ช้ืนแลเหม็นกลิ่นตืดแลเอือนอันได้ 80 ครอก ง. ด้วยอานาจแห่งไฟธาตุอนร้อนนั้น ส่วนตัวกุมารนั้นบ่มิไหม้ เพราะว่าเป็ นธรรมดาด้วยบุญ ั กุมารนั้นจะเป็ นคนแล
  • 43. 2. ข้ อใดคือจุดมุ่งหมายของเรื่อง “ไตรภูมิพระร่ วง” ก. เพื่อสะท้อนภาพชีวตของคนสมัยสุโขทัย ิ ข. เพื่อสอนธรรมะของพระพุทธเจ้า ค. เพื่อสอนธรรมะแกประชาชนชาวสุโขทัยและเป็ นการเผยแผ่ทาง พระพุทธศาสนา ่ ง. เพื่อชี้นาให้มนุษย์หาทางหลุดพ้นไปจากโลกทั้งสามและไปอยูใน โลกและภพภูมิที่มีความสุขนิรันดร.
  • 44. 3. ข้ อใดคือแนวคิดสาคัญของไตรภูมิพระร่ วง ตอน มนุสสภูมิ ก. การเกิดเป็ นมนุษย์เป็ นความทุกข์อย่างยิง ่ ข. การเกิดของมนุษย์ตามแนวคิดทางด้านวิทยาศาสตร์ ค. มนุษย์เกิดมาด้วยความยากลาบากและมีที่มาต่างๆ กัน ง. มนุษย์เมื่อแรกเกิดเป็ นเพียง “กลละ” หรื อเซลล์ที่มีขนาดเล็ก 4. ข้ อใดรวมเรียกว่า “ไตรภูมิ” ก. สวรรคภูมิ มนุสสภูมิ นรกภูมิ ข. กามภูมิ รู ปภูมิ อรู ปภูมิ ค. โลกมนุษย์ สวรรค์ บาดาล ง. สุคติภูมิ ทุคติภูมิ ฉกามาพจร
  • 45. 5. สถานที่ใดจัดว่าเป็ นดินแดนของผู้มีบุญ ก. อุตตรกุรุทวีป ข. ชมพูทวีป ค. อมรโคยานทวีป ง. บุรพวิเทหทวีป 6. “......แต่ กมารนั้นอยู่ในท้ องแม่ บ่ ห่อนจะได้หายใจเข้ าออกเสียเลย บ่ ห่อนได้เหยียดตีนเหยียดมือออกดัง ุ ่ เราท่ านทั้งหลายนีสักคาบหนึ่งเลยแลกุมารนั้นเจ็บเนือเจ็บตนดังคนอันท่ านขังไว้ ในไหอันคับแคบ ้ ้ ่ หนักหนา แค้นเนือแค้นใจ แลเดือดเนือเดือดใจนักหนา.....” ้ ้ ลักษณะใดไม่ ปรากฏในข้ อความข้ าง ก. การใช้โวหารภาพพจน์ ข. การพรรณนาให้กลัวบาปกรรม ค. การใช้คาที่เป็ นจังหวะน่าฟัง ง. การซ้ าคา ซ้อนคาและการใช้วลีซ้ าๆ เพื่อเน้นความหมาย
  • 46. 7. ข้ อใดเรียงลาดับก่ อน – หลัง เกียวกับขั้นตอนการเกิดของมนุษย์ ได้ ถูกต้ อง ่ ก. กลละ ฆนะ เปสิ อัมพุทะ ข. อัมพุทะ เปสิ ฆนะ กลละ ค. กลละ อัมพุทะ เปสิ ฆนะ ง. อัมพุทะ ฆนะ กลละ เปสิ 8. “......เมือกุมารอยู่ในท้ องแม่ น้นลาบากนักหนา พึงเกลียดพึงหน่ ายพ้ นประมาณนัก ่ ั ก็ชื้นแลเหม็นกลินตืดแลเอือน.....” ่ คาว่ า “เอือน” ในข้ อความข้ างต้ นนี้ มีความหมายตามข้ อใด ก. พยาธิชนิดหนึ่ง ข. น้ าเหลือง ค. เลือด ง. สะอิดสะเอียน
  • 47. 9. ข้ อใดเด่นที่สุดในการใช้ คาที่แสดงความเคลือนไหว เพือสื่อให้ เกิดจินตภาพ ่ ่ ก. ในท้องแม่น้ นร้อนนักหนา ดุจดังเราเอา ใบตองเข้าจ่อตน แลต้มในหม้อนั้นไสร้ ั ่ ข. มีปากอันแดงดังลูกฟักข้าวอันสุ กนั้น แลมีลาแข้งลาขานั้นงามดังลากล้วยทองฝาแฝด ่ ่ นั้นแล ค. อีกฝูงเทวาฟ้ าฝนนั้นก็ตกชอบฤดูกาล บ่มินอย บ่มิมาก ทั้งข้าวในนาทั้งปลาในน้ าก็บห่อน ้ ่ รู้ร่วงโรยเสี ยไปด้วยฝนแล้งเลย ง. ฝูงยมบาลเอาเชื อกเหล็กแดงอันลุกเป็ นไฟไล่ กระหวัดรัดตัวเขา แล้วตระบิดให้คอเขานั้น ขาดออก
  • 48. 10.“.....แลมีฝูงผู้หญิงอันอยู่ในแผ่นดินนั้นงามทุกคน รู ปทรงเขานั้นบ่ มตา บ่ มสูง บ่ มพี ิ ่ ิ ิ บ่ มผอม บ่ มขาว บ่ มดา สีสมบูรณ์ งามดังทองอันสุ กเหลืองเรืองเป็ นทีพอใจฝูงชาย ิ ิ ิ ่ ่ ทุกคนแลนิวตีนนิวมือเขานั้น กลมงามนะแน่ ง เล็บตีนเล็บมือเขานั้นแดงดังนาครั่ง ้ ้ ่ ้ อันท่ านแต่ งแล้ วแลแต้ มไว้ แลสองแก้ มเขานั้นไสร้ งามเป็ นนวลดังแกล้ งเอาแป้ งผัด ่ หน้ าเขานั้นหมดเกลียงปราศจากมลทินหาฝ้ าหาไฝบ่ มได้ แลเห็นดวงหน้ าเขาไสร้ ้ ิ ดุจดังพระจันทร์ วนเพ็งบูรณ์ น้ัน.....” ่ ั “แผ่นดินนั้น” ในข้ อความข้ างต้ นนีหมายถึงแผ่นดินใด ้ ก. สวรรค์ช้ นดาวดึงส์ ั ข. สวรรค์ช้ นโสฬส ั ค. อุตตรกุรุทวีป ง. ป่ าหิ มพานต์
  • 49. เฉลยข้ อสอบ 1. ข. 6. ก. 2. ข. 7. ค. 3. ก. 8. ก. 4. ข. 9. ง. 5. ก. 10. ค.