SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 22
ประเทศสิงคโปร์
Information
Downtown core
Language
697 KM2
5,543,494
SGD : dollar singapore
Information
Merlion
ประวัติความเป็นมาของอาหารสิงคโปร์
อาหารของประเทศสิงคโปร์เป็นอาหารที่ได้รับอิทธิพลมาจากอาหาร
ท้องถิ่นอันหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นมาเลย์ จีน อินเดียน เปรานากาน หรือ
ชาวจีนที่อาศัยอยู่บริเวณช่องแคบยะโฮร์ ซึ่งเป็นผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากชาวจีน
อพยพที่ได้สร้างครอบครัวกับชาวมาเลย์ในท้องถิ่น รวมถึงอิทธิพลของอาหาร
แบบตะวันตก ทั้งจากชาวอังกฤษ ชาวโปรตุกีส และชนชาติกลุ่มยูเรเซียน
ต่างๆ ซึ่งชาวสิงคโปร์ท้องถิ่นได้ซึมซับวัฒนธรรมเหล่านี้มาตั้งแต่ช่วงศตวรรษ
ที่ 19 เมื่อนักเดินเรือชาวอังกฤษเดินทางมายังเกาะสิงคโปร์เป็นครั้งแรก จึงไม่
น่าแปลกใจนัก หากเมื่อไปเยือนประเทศนี้แล้วจะได้ชิมรสอาหารที่มีกลิ่น
อายของเครื่องยาจีนในเมนูอาหารอินเดียจานเด็ด
ประวัติความเป็นมาของอาหารสิงคโปร์
อาหารของสิงคโปร์จะสะท้อนถึงสิ่งที่ดีที่สุดของเกาะหลาย
วัฒนธรรมแห่งนี้อาหารและรสชาติต่างๆ ของที่นี่ส่งอิทธิพลถึงกัน
และกันมาเป็นเวลาหลายสิบปีแล้ว แต่ที่ขึ้นชื่อมากที่สุดถ้าหาก
ใครได้มาสิงคโปร์แล้วไม่ได้ลองก็เหมือนยังไม่ถึง ได้แก่ บักคุด
เท ชาแควท่าว ปูผัดพริก ข้าวมันไก่ไหหลา สาเทย์ (สะเต๊ะ) เป็น
ต้น มีข้อสังเกตอย่างหนึ่งคือ อาหารแทบจะทุกชนิดมักนิยมใส่
แป้ งข้าวโพดลงไปด้วย ก็จะเหมือนกับอาหารมาเลย์ที่จะใส่กะปิ
ลงไปในอาหารแทบทุกชนิด
ลักษณะเด่นของอาหารสิงคโปร์
อาหารสิงคโปร์จะมีความหลากหลายในการปรุงและ
การประกอบอาหาร โดยจะมีการใช้ส่วนผสมจากต่าง
ที่มารวมกันในเมนูนั้นๆ อาหารของชาวสิงคโปร์ มีหลาย
ชนิดให้เลือก และส่วนใหญ่นั้นจะเป็นการผสมผสาน
ระหว่าง จีน อินโดนีเซียและทางอาหรับเนื่องจาก มีการ
ผสมผสานระหว่างเชื้อชาติ ได้อย่างลงตัว อาหารบาง
ชนิดนั้นก็มีคล้ายๆ กับอาหารไทยบ้านเรา อาจจะ
เหมือนกันเลยก็มี แต่มีชื่อเรียกที่แตกต่างกันออกไป
รสชาติของอาหารประเทศสิงคโปร์
-รสค่อนข้างไปทางจืด
-อาหารจะมีสีสันที่น่ารับประทาน
-มีความหอมของเครื่องยาจีน และ เครื่องเทศอินเดีย
-ยกเว้นบางเมนูที่จะมีรสชาติเข้มข้น
เช่น ลักซา (ก๋วยเตี๋ยวต้มยาใส่กะทิ) ปูพริก จะมีความเข้มข้นแต่
ไม่มีค่อยมีความพริก
วัตถุดิบในการประกอบอาหาร
วัตถุดิบในการประกอบอาหาร
อุปกรณ์ในการประกอบอาหาร
เนื่องจากสิงค์โปร์ได้รับอิทธิพลจากประเทศมาเลเซีย ประเทศจีน
และเป็นประเทศใหม่ที่เกิดขึ้น อุปกรณ์ในการทาอาหารในสมัยเก่าเลย
ไม่มีบันทึกไว้ จะมีแต่อุปกรณ์ที่ทามาจากเครื่องปั้นดินเผาจาน ชาม ที่
ได้รับอิทธิพลจากประเทศจีน
พฤติกรรมการบริโภค
• การตัดสินใจซื้อ: ด้วยกาลังซื้อที่ค่อนข้างสูง ทาให้ชาวสิงคโปร์มักนิยมเลือก
ซื้อสินค้าแบ รนด์เนม เนื่องจากเป็นสินค้าที่มีชื่อเสียงและมีคุณภาพค่อนข้างสูง
• รสนิยม: วัฒนธรรมไลฟ์ สไตล์ทางตะวันตกมีอิทธิพลมากในสังคมสิงคโปร์
โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่น นอกจากนี้พฤติกรรมผู้บริโภคยัง อ่อนไหวต่อกระแส
นิยมและแฟชั่นในตลาดโลกสูง จนได้ชื่อว่าเป็นตลาดแฟชั่นที่ทันสมัยที่สุดแห่ง
หนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
• การบริโภค: ชาวสิงคโปร์ให้ความสาคัญกับการดูแลสุขภาพมาก และนิยม
ทานอาหารเสริมเพื่อบารุงร่างกาย นอกจากนี้ผู้มีรายได้และ มีระดับการศึกษา
สูงจะนิยมบริโภคอาหารออร์ แกนิกมากขึ้น
เมนูนิยมของชาวสิงคโปร์
บักกุ๊กเต๋ (Bak Kut Teh)
อาหารจานเด็ดอีกชนิดหนึ่งของสิงคโปร์ สันนิษฐานว่าถูกนามาพร้อมกับแรงงาน
ชาวจีนที่อพยพมาจากมณฑลฟูเจี้ยนในช่วงคริสตศวรรษที่ 19 คาว่า บักกุ๊กเต๋
แปลว่าซุปกระดูกหมู ลักษณะเป็นซุปกระดูกหมูสีเข้ม อุดมไปด้วยเครื่องเทศและ
สมุนไพร ร้านส่วนใหญ่เสิร์ฟบักกุ๊กเต๋ พร้อมเครื่องเคียงอย่างผักกาดแก้วหรือ
ผักกวางตุ้งไต้หวันผัดน้ามันหอย ถั่วลิสงต้ม แต่ที่ขาดไม่ได้คือ ปาท่องโก๋ที่หั่นเป็น
ชิ้นๆสาหรับจุ่มกับซุปกระดูกหมูจนชุ่ม ทานพร้อมกับข้าวสวยร้อนๆ
เมนูนิยมของชาวสิงคโปร์
นาซี ลมะก์ (Nazi Lemak)
เมนูอาหารเช้าของชาวมาเลย์ที่ปัจจุบันมิใช่เพียงชาวมาเลย์
เท่านั้นที่ชื่นชอบ นาซี ลมะก์ ยังเป็นที่นิยมของชาวสิงคโปร์เชื้อสายจีน
และอินเดียอีกด้วย นาซี ละมะก์ เป็นภาษามาเลย์แปลว่าข้าวมัน เป็น
การหุงข้าวเจ้ากับกะทิ รับประทานกับเครื่องเคียงที่ประกอบด้วย ปีก
ไก่ทอด ไข่ดาว ถั่วลิสง ปลากรอบ และน้าพริก บางครั้งในศูนย์อาหาร
เราจะนาซี ลมะก์ห่อด้วยใบเตย เป็นอาหารจานด่วนของชาวสิงคโปร์
ที่ซื้อหาติดตัวได้สะดวก เคล็ดลับความอร่อยของนาซี ลมะก์ อยู่ที่
น้าพริกที่ออกหวานนิดๆ กลมกล่อมด้วยกลิ่นเครื่องเทศ คลุกกับข้าว
มันหอมๆ และไก่ทอดหนังกรอบ จึงไม่แปลกใจว่าทาไม นาซี ลมะก์
ของที่นี่จึงเป็นที่นิยมในหมู่ชาวสิงคโปร์
เมนูนิยมของชาวสิงคโปร์
ปูพริก เป็นอาหารสิงคโปร์แท้ ๆ ดั้งเดิมโดยพ่อครัวชาวสิงคโปร์ที่ชื่อ
ว่า CherYam ในปี ค.ศ. 1950 สามารถพบได้ในประเทศมาเลเซีย
สิงคโปร์ แม้ปูพริกจะชื่อว่าปูพริกแต่ก็รสชาติไม่เผ็ดมาก
เมนูนิยมของชาวสิงคโปร์
• ข้าวมันไก่
คนส่วนใหญ่รู้จักกันดีว่าข้าวมันไก่ เป็นของคู่กับมื้ออาหารของชาวสิงคโปร์
มาอย่างยาวนาน แทบทุกศูนย์อาหารในสิงคโปร์จะต้องมีร้านข้าวมันไก่อยู่
ด้วยอย่างน้อยหนึ่งร้าน ว่ากันว่าข้าวมันไก่เข้ามายังสิงคโปร์โดยชาวจีนจาก
มณฑลไหหลา ที่นาสูตรการทาข้าวมันไก่เนื้อนุ่มกับข้าวที่หอมมันมาสู่
สิงคโปร์ จนปัจจุบันกลายเป็นอาหารประจาชาติสิงคโปร์ไปแล้ว
ประสบการณ์กับอาหารสิงค์โปร
ประสบการณ์กับอาหารสิงค์โปร
ประสบการณ์กับอาหารสิงค์โปร
ประสบการณ์กับอาหารสิงค์โปร
Fried Seafood Hor fun
Buk Kut Teh
ประสบการณ์กับอาหารสิงค์โปร
Hokkien Prawn Mee Soup
Fried Hokkien Noodle
Singapore ppt

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
Junya Punngam
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
kalayatookta
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
Suriyawaranya Asatthasonthi
 
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าวปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
Nut Seraphim
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
Pannaray Kaewmarueang
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
Tonkao Limsila
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
Golfzie Loliconer
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
WoraWat Somwongsaa
 

La actualidad más candente (20)

เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
หมวกสีขาว
หมวกสีขาวหมวกสีขาว
หมวกสีขาว
 
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
การท่องเที่ยวยั่งยืน
การท่องเที่ยวยั่งยืนการท่องเที่ยวยั่งยืน
การท่องเที่ยวยั่งยืน
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมบทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
นาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมืองนาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมือง
 
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าวปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
 
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
 

Destacado

powerpoint ประเทศสิงคโปร์
powerpoint ประเทศสิงคโปร์powerpoint ประเทศสิงคโปร์
powerpoint ประเทศสิงคโปร์
Junjira Wuttiwitchai
 
ประเทศสิงคโปร์
ประเทศสิงคโปร์ประเทศสิงคโปร์
ประเทศสิงคโปร์
Phongthon Changyom
 
งานนำเสนอ.pdf
งานนำเสนอ.pdfงานนำเสนอ.pdf
งานนำเสนอ.pdf
Khim Bk
 
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ประเทศสิงคโปร์
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ประเทศสิงคโปร์การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ประเทศสิงคโปร์
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ประเทศสิงคโปร์
Saowaluck Sangkoomphai
 

Destacado (19)

powerpoint ประเทศสิงคโปร์
powerpoint ประเทศสิงคโปร์powerpoint ประเทศสิงคโปร์
powerpoint ประเทศสิงคโปร์
 
Singapore
SingaporeSingapore
Singapore
 
ประเทศสิงคโปร์
ประเทศสิงคโปร์ประเทศสิงคโปร์
ประเทศสิงคโปร์
 
งานนำเสนอ.pdf
งานนำเสนอ.pdfงานนำเสนอ.pdf
งานนำเสนอ.pdf
 
Singapore
SingaporeSingapore
Singapore
 
ประเทศสิงคโปร์
ประเทศสิงคโปร์ประเทศสิงคโปร์
ประเทศสิงคโปร์
 
Singapore Green Plan
Singapore Green PlanSingapore Green Plan
Singapore Green Plan
 
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ประเทศสิงคโปร์
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ประเทศสิงคโปร์การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ประเทศสิงคโปร์
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ประเทศสิงคโปร์
 
10 7
10 710 7
10 7
 
Singapore Powerpoint Country
Singapore Powerpoint CountrySingapore Powerpoint Country
Singapore Powerpoint Country
 
Presentació singapore
Presentació singaporePresentació singapore
Presentació singapore
 
Setting the Scene: The SME and SMP Landscape in Singapore
Setting the Scene: The SME and SMP Landscape in Singapore Setting the Scene: The SME and SMP Landscape in Singapore
Setting the Scene: The SME and SMP Landscape in Singapore
 
Singapore Investment ppt
Singapore Investment pptSingapore Investment ppt
Singapore Investment ppt
 
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ประเทศสิงคโปร์
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ประเทศสิงคโปร์การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ประเทศสิงคโปร์
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ประเทศสิงคโปร์
 
ASEAN for International Business
ASEAN for International BusinessASEAN for International Business
ASEAN for International Business
 
ประเทศฟิลิปปินส์
ประเทศฟิลิปปินส์ประเทศฟิลิปปินส์
ประเทศฟิลิปปินส์
 
SINGAPORE.ppt
SINGAPORE.pptSINGAPORE.ppt
SINGAPORE.ppt
 
Singapore presentaion
Singapore presentaionSingapore presentaion
Singapore presentaion
 
Japan presentation
Japan presentationJapan presentation
Japan presentation
 

Singapore ppt

Notas del editor

  1. เมืองหลวง : สิงคโปร์ (ดาวน์ทาวน์คอร์, เซนทรัล) ภาษาราชการ : ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษามาเลย์ และภาษาทมิฬ พื้นที่ : 697 ตร.กม. จำนวนประชากร(2012) : 5,543,494 สกุลเงิน : สิงค์โปร์ ดอลล่า แลนด์มาร์ค : เมอร์ไลออน