SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 12
Descargar para leer sin conexión
๑. อย่าปลงใจเชื่อ ตามที่ฟงๆ กันมา
                                  ั
   คาว่า การได้ยินมาว่า คือการที่เราได้ยินว่าที่นั่นทาแบบนั้นที่นั่นทาแบบนี้
ประสบความสาเร็จแบบนั้น ประสบความสาเร็จแบบนี้ นั่นคือสิ่งที่เราได้ยิน
แต่การปฏิบัตอาจเป็นอีกเรื่องหนึ่ง การพัฒนาคุณภาพแนวทางอีกหนึ่งอย่างที่
             ิ
เรานามาใช้คือการที่เราได้ยินว่าเพื่อนทาอะไรได้ดีแล้วแสวงหามา ถอด
บทเรียน (มิใช่ Copy) จากสิ่งที่เพื่อนทาได้ดี มาปรับใช้เป็นของตนเอง แต่
ทว่าการนามาใช้อาจต้องทบทวนว่าสิ่งที่นามานั้นเป็นบริบทของเราหรือไม่
เพราะหลายครั้งสิ่งที่เพื่อนเป็น กับสิ่งที่เราเป็น
นั้นไม่เหมือนกัน ทาให้การพัฒนาเป็นความทุกข์
และเป็นภาระในที่สุด
๒.อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการถือสืบๆ กันมา
    สิ่งนี้เราเรียกว่าความคุ้นชินในการปฏิบัตครับ นั่นคือปฏิบัติกันมาอย่างไร
                                                ิ
ฉันก็จะปฏิบัติของฉันอย่างนั้น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง หรือปรับเปลี่ยนวิธีการ
ทางานเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีกว่า ย่อมจะเกิดแรงต้านของบุคลากรที่มีลักษณะ
แบบนี้ สิ่งนี้อาจต้องมีการพูดคุยร่วมกัน และบอกเล่าให้เห็นความสาคัญและ
ประโยชน์ของการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ว่าจะส่งผลดีอย่างไรให้กับผู้รับบริการ
และตัวของผู้ปฏิบัติเอง แต่การเปลี่ยนแปลงใดๆ ผมขอให้ยึดหลักอยู่ 4 ข้อ
คือ ง่าย มัน ดี มีสุข ถ้าทาได้ดั่งนี้ การเปลี่ยนแปลงก็จะเป็นที่ยอมรับของทุก
ฝ่ายครับ
๓.อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการเล่าลือ
    เสียงลือ เสียงเล่าอ้างอันใดพี่เอย (ผมจาได้เท่านี้ครับ) คาเล่า คาลือ จะ
เป็นพรายกระซิบหรือเทวดากระซิบก็แล้วแต่ว่าจะเป็นทางร้ายหรือทางดี
บ่อยครั้งเรามักได้ยินเสียงคาเล่าลือว่าองค์กรเราเป็นแบบนั้น เป็นแบบนี้ ถ้า
ดีเราก็ดีใจ แต่ถ้าเป็นทางไม่ดี แน่นอนว่าเราก็เสียใจ แต่อยากบอกว่า การ
พัฒนาคุณภาพไม่มีผิด และไม่มีถูก ทุกอย่างขึ้นอยู่กับบริบทของเราใน
ขณะนั้น การพัฒนาของเราอาจดูแล้วไม่เข้าท่าในสายตาผู้อื่น แต่เข้าท่าใน
บริบทของเรา สิ่งนี้ไม่ผิด เพียงแต่การพัฒนานั้นสามารถตอบคาถามเหล่านี้
ได้หรือไม่ คือดีต่อองค์กร ดีต่อตัวเรา และดี
ต่อผูรับบริการ ถ้าครบ 3 ดี ก็พัฒนา
     ้
ต่อไปเถอะครับเพราะท่านเดินมาถูกทางแล้ว
ครับ
๔.อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการอ้างตาราหรือคัมภีร์
   เอกสารหรือตาราคือสิ่งที่เราใช้ในการศึกษา เพื่อหาแง่มุมในการที่เราจะ
นาไปพัฒนา ซึ้งในเอกสารและตารานั้นย่อมมีเนื้อหาที่คลอบคลุม และกิน
ความที่กว้างขวางสามารถนาไปปรับใช้ได้ทุกขนาดขององค์กร แต่ดวยขึ้นชื่อว่า้
เป็นหนังสือหรือตาราที่ออกโดยสานักนั้น สถาบันนี้ เราจึงเชื่อว่านี่คือคัมภีร์
ศักดิ์สิทธิ์ที่ทาให้สาเร็จสมความมุ่งหมาย จึงเชื่อในทุกสิ่งที่ตาราได้เขียนเอาไว้
แล้วนามาสู่การปฏิบัติ บางสิ่งที่เรามีเราก็ปฏิบัติอย่างสบาย
ใจ ในสิ่งที่เราไม่มีก็พยายามหรือก่อตั้งขึ้นให้เหมือนกับที่
หนังสือบอก สุดท้ายมาในสิ่งที่เราไม่มีกลายเป็นภาระใน
ปฏิบัติ เพราะอะไร ก็เพราะเราไม่ได้มองบริบทของเรา
ว่าจาเป็นแค่ไหนในการนามาใช้ นั่นคือไม่ได้พิจารณาก่อน
ก่อนที่จะนามาปฏิบัติว่าคือฉันหรือไม่ ?
๕.อย่าปลงใจเชื่อ เพราะตรรกะ
  คาว่าตรรกะ ในที่นี้หมายถึงการคาดเดาครับ แน่นอนว่าการพัฒนาคุณภาพ
เราต้องยึดหลักข้อเท็จจริง หรือ Management by Fact ในการใช้เป็นข้อมูล
ในการพัฒนาคุณภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเราต้องให้การดูแลเรื่องสุขภาพ และ
โรคภัยไข้เจ็บของผู้รับบริการ ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เรามาใช้จึงเป็นข้อมูลที่
มิใช่เกิดจากการคาดเดาเอาเอง ว่าเป็นแบบนั้นหรือเป็นแบบนี้ เพราะถ้าเราใช้
ข้อมูลที่เดาเอาเอง แล้วอะไรคือข้อเท็จจริงที่ผู้รับบริการจะได้รับ และอะไรจะ
เกิดขึ้นบ้าง ก็ยากที่จะคาดเดา ดังนั้นจึงต้องยึดด้วยข้อมูลที่เป็นจริง เพราะนั่น
จะทาให้เรารู้ว่าตอนนี้เราอยู่ส่วนใดของการพัฒนา
คุณภาพ
๖.อย่าปลงใจเชื่อ เพราะอนุมาน
การอนุมานก็คือการคาดคะเนครับ ซึ้งก็คล้ายๆกับการคาดเดา
นั่นเอง เพียงแต่การคาดคะเนนันเรายังมีสิ่งที่นามาคาดคะเนได้ ผิด
                            ้
กับการคาดเดาคือไม่มีอะไรเลย แต่ไม่ว่าจะเป็นแบบใด ก็มใช่
                                                      ิ
วิถีทางแห่งการพัฒนาคุณภาพ เพราะล้วนแต่มิได้อาศัย สิ่งที่เป็น
ความจริง มาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาครับ
๗.อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการคิดตรองตามแนวเหตุผล
   เราทุกคนมีเหตุผลในการตัดสินใจสิ่งใดๆด้วยกันทั้งนั้นครับ สิ่งนี้ก็ขึ้นอยู่กับ
ประสบการณ์และความรู้ที่ตนมีอยู่ จึงทาให้เกิดกรณีหลายต่อหลายครั้งว่าทาไม
จึงตัดสินใจแบบนี้และอาจมีคาต่อว่า ต่อขานตามมาต่อการกระทาที่เกิดขึ้น จึง
เป็นที่มาของการพัฒนาคุณภาพ เพื่อจัดวางระบบ และกาหนดแนวทางในการ
ปฏิบัติงานเพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน เพื่ออะไรหรือครับ ก็เพื่อมิให้เจ้าหน้าที่
หรือบุคลากรใช้เหตุผลของตนเองในการตัดสินใจ หรือใช้ให้น้อยที่สุด
เพราะการตัดสินใจด้วยเหตุผลนั้นย่อมมีความผิด
พลาดเกิดขึ้นได้ง่าย เพราะนั่นอาจมิใช่มาตรฐาน
หรือความปลอดภัยที่ผู้ป่วยได้รับที่แท้จริงครับ
๘.อย่าปลงใจเชื่อ เพราะเข้าได้กับทฤษฎีที่พินิจไว้แล้ว
   สิ่งนี้เราเรียกว่าความเชื่อมั่นในตนเองครับ การเชื่อมั่นในตนเองนั้นเป็นสิ่งที่
ดี เพราะนั่นจะทาให้เรามีความมั่นใจในสิ่งที่เราจะทา แต่ถ้ามีมากเกินไปก็จะ
กลายเป็นสิ่งที่ไม่ดี นั่นคือเราก็จะไม่ยอมรับฟังในสิ่งที่เราไม่ชอบใจ แต่จะรับ
ฟังแต่สิ่งที่ตนเองชอบ ซึ้งในเรื่องของการพัฒนาคุณภาพ การรับฟังข้อคิดเห็น
จากผู้อื่น หรือแหล่งอื่นนั้นเป็นสิ่งสาคัญยิ่ง เพราะการพัฒนาจาต้องอาศัยสิ่ง
ต่างๆจากภายนอกทั้งที่เรารู้แล้ว ไม่รู้ ชอบ และไม่ชอบมาปรับใช้และปรับ
                      เปลี่ยนกระบวนการการพัฒนาของเราให้ดียิ่งขึ้น การที่เรา
                      รับฟังแต่ในเรื่องที่ตนเองชอบหรือถูกใจ นั่นคือเรามีความ
                       เป็นตัวกูของกู และทิฐิในตนเองครับ ลองเปิดใจและรับรู้
                        ในส่งที่ต่างไปจากตนเอง แล้วจะพบว่าโลกแห่งการ
                         พัฒนาคุณภาพมีอะไรมากกว่าที่เราคิดครับ
๙.อย่าปลงใจเชื่อ เพราะมองเห็นรูปลักษณะน่าจะเป็นไปได้
    ข้อเสนอแนะคือสิ่งที่เรามักจะได้เสมอจากผู้เข้ามาเยี่ยมเราใช่ไหมครับ ว่า
ควรทาแบบนั้น ควรทาแบบนี้ ซึ้งข้อเสนอแนะนั้นเป็นสิ่งที่ดี เป็นแบบอย่างใน
การที่เราจะนาไปพัฒนาต่อ แต่อยากกล่าวกับผู้ที่ได้รับการเยี่ยมว่า
ข้อเสนอแนะต่างๆที่เราได้รับมานั้น อย่าพึ่งเชื่อทั้งหมด ความหมายของผม
คือให้ย้อนกลับมาดูบริบทของเราว่า เราเป็นอย่างไร สิ่งที่เราได้รับมานั้นเราจะ
มาปรับกับองค์กรเราได้อย่างไร มีอะไรบ้างที่เราสามารถปรับเข้ากับองค์กรเรา
ได้ และสิ่งไหนที่ยังปรับไม่ได้ซึ้งจะต้องใช้เวลา มิใช่นาสิ่งที่ผู้ให้ข้อเสนอนามา
ปฏิบัติโดยไม่พิจารณาและทันที เพราะเมื่อเป็นแบบนั้นความทุกข์ย่อมเกิดกับ
ผู้ปฏิบัติ เพราะจะเกิดแรงกดดันและความเครียด
จึงควรมีกรอบเวลาในการที่จะพัฒนาและปรับปรุง
ในส่วนที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม
๑๐.อย่าปลงใจเชื่อ เพราะนับถือว่าท่านเป็นครูของเรา
   สิ่งนี้เราอาจได้ยินได้ฟังกันบ่อยๆ ว่า สรพ. ให้ทาแบบนั้น อาจารย์ท่านนี้ให้
ทาแบบนี้ เราก็มักจะนาสิ่งที่อาจารย์บอกกับเรามา รวมทั้งเครื่องมือต่างๆที่
ออกมา นามาพัฒนาองค์กรของเราอย่างเต็มรูปแบบ คือทุกอย่าง แท้จริงเรา
ต้องทาถึงขนาดนั้นหรือไม่ คาตอบคือไม่ครับ สิ่งที่จะเป็นเกณฑ์ที่จะบอกว่า
ต้องทาอะไรบ้างนั้นอยู่ที่บริบทของตัวเราเองว่าเป็นเช่นใด อาจารย์ท่านทาได้
แต่ชี้ทางให้เห็นว่าเราจะไปทางใด แต่สิ่งที่เป็นเครื่องมือและสัมภาระต่างๆ
เราต้องเป็นผู้กาหนดเองว่าจะนา
สิ่งใดติดตัวไป มิใช่อาจารย์ ดังนั้นแล้วทบทวน
บริบทของตนเองให้ดี ก่อนที่เดินหน้าต่อไปครับ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
pentanino
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
blcdhamma
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
Padvee Academy
 
3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok
3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok
3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok
Rose Banioki
 
สอนเด็กให้เป็นคนดี ศ นพ วิจารณ์ พานิช
สอนเด็กให้เป็นคนดี ศ นพ วิจารณ์ พานิชสอนเด็กให้เป็นคนดี ศ นพ วิจารณ์ พานิช
สอนเด็กให้เป็นคนดี ศ นพ วิจารณ์ พานิช
Utai Sukviwatsirikul
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
Padvee Academy
 
พื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบสพื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบส
Jariya Jaiyot
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
Chavalit Deeudomwongsa
 

La actualidad más candente (20)

ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 
Ppt+การยศ..
Ppt+การยศ..Ppt+การยศ..
Ppt+การยศ..
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok
3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok
3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok
 
สอนเด็กให้เป็นคนดี ศ นพ วิจารณ์ พานิช
สอนเด็กให้เป็นคนดี ศ นพ วิจารณ์ พานิชสอนเด็กให้เป็นคนดี ศ นพ วิจารณ์ พานิช
สอนเด็กให้เป็นคนดี ศ นพ วิจารณ์ พานิช
 
Attitude
AttitudeAttitude
Attitude
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
5 behavior theory 15092558 (1)
5 behavior theory 15092558 (1)5 behavior theory 15092558 (1)
5 behavior theory 15092558 (1)
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
พื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบสพื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบส
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
 
148
148148
148
 
ภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลก
ภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลกภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลก
ภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลก
 

Similar a หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ

หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ
หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพหลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ
หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ
Suradet Sriangkoon
 
การสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงการสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูง
Satheinna Khetmanedaja
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2
krubuatoom
 
The 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allThe 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people all
KruKaiNui
 
ทัศนคติกับความสำเร็จ
ทัศนคติกับความสำเร็จทัศนคติกับความสำเร็จ
ทัศนคติกับความสำเร็จ
pyopyo
 
ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4
paewwaew
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2
krubuatoom
 
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดีหลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
pluakdeang Hospital
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
kittitach06709
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
Proud N. Boonrak
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
พัน พัน
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
Tawanat Ruamphan
 

Similar a หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ (20)

หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ
หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพหลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ
หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ
 
การแนะแนว
การแนะแนวการแนะแนว
การแนะแนว
 
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พคุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
 
สร้างองค์กรอย่างยั่งยืน Built to last
สร้างองค์กรอย่างยั่งยืน Built to last สร้างองค์กรอย่างยั่งยืน Built to last
สร้างองค์กรอย่างยั่งยืน Built to last
 
Eb chapter2
Eb chapter2Eb chapter2
Eb chapter2
 
การสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงการสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูง
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2
 
The 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growthThe 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growth
 
The 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allThe 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people all
 
Strengths Quest Thai version
Strengths Quest Thai versionStrengths Quest Thai version
Strengths Quest Thai version
 
ทัศนคติกับความสำเร็จ
ทัศนคติกับความสำเร็จทัศนคติกับความสำเร็จ
ทัศนคติกับความสำเร็จ
 
ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2
 
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดีหลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
 
ทัศนคติสู่ความสำเร็จ3
ทัศนคติสู่ความสำเร็จ3ทัศนคติสู่ความสำเร็จ3
ทัศนคติสู่ความสำเร็จ3
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
Radio Interview
Radio InterviewRadio Interview
Radio Interview
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
 

Más de Suradet Sriangkoon

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
Suradet Sriangkoon
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 

Más de Suradet Sriangkoon (20)

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
 
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoonการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
 
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoonหลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
 
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
 
Risk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profileRisk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profile
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
 
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงA -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
 
Rm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลRm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผล
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 

หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ

  • 1.
  • 2.
  • 3. ๑. อย่าปลงใจเชื่อ ตามที่ฟงๆ กันมา ั คาว่า การได้ยินมาว่า คือการที่เราได้ยินว่าที่นั่นทาแบบนั้นที่นั่นทาแบบนี้ ประสบความสาเร็จแบบนั้น ประสบความสาเร็จแบบนี้ นั่นคือสิ่งที่เราได้ยิน แต่การปฏิบัตอาจเป็นอีกเรื่องหนึ่ง การพัฒนาคุณภาพแนวทางอีกหนึ่งอย่างที่ ิ เรานามาใช้คือการที่เราได้ยินว่าเพื่อนทาอะไรได้ดีแล้วแสวงหามา ถอด บทเรียน (มิใช่ Copy) จากสิ่งที่เพื่อนทาได้ดี มาปรับใช้เป็นของตนเอง แต่ ทว่าการนามาใช้อาจต้องทบทวนว่าสิ่งที่นามานั้นเป็นบริบทของเราหรือไม่ เพราะหลายครั้งสิ่งที่เพื่อนเป็น กับสิ่งที่เราเป็น นั้นไม่เหมือนกัน ทาให้การพัฒนาเป็นความทุกข์ และเป็นภาระในที่สุด
  • 4. ๒.อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการถือสืบๆ กันมา สิ่งนี้เราเรียกว่าความคุ้นชินในการปฏิบัตครับ นั่นคือปฏิบัติกันมาอย่างไร ิ ฉันก็จะปฏิบัติของฉันอย่างนั้น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง หรือปรับเปลี่ยนวิธีการ ทางานเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีกว่า ย่อมจะเกิดแรงต้านของบุคลากรที่มีลักษณะ แบบนี้ สิ่งนี้อาจต้องมีการพูดคุยร่วมกัน และบอกเล่าให้เห็นความสาคัญและ ประโยชน์ของการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ว่าจะส่งผลดีอย่างไรให้กับผู้รับบริการ และตัวของผู้ปฏิบัติเอง แต่การเปลี่ยนแปลงใดๆ ผมขอให้ยึดหลักอยู่ 4 ข้อ คือ ง่าย มัน ดี มีสุข ถ้าทาได้ดั่งนี้ การเปลี่ยนแปลงก็จะเป็นที่ยอมรับของทุก ฝ่ายครับ
  • 5. ๓.อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการเล่าลือ เสียงลือ เสียงเล่าอ้างอันใดพี่เอย (ผมจาได้เท่านี้ครับ) คาเล่า คาลือ จะ เป็นพรายกระซิบหรือเทวดากระซิบก็แล้วแต่ว่าจะเป็นทางร้ายหรือทางดี บ่อยครั้งเรามักได้ยินเสียงคาเล่าลือว่าองค์กรเราเป็นแบบนั้น เป็นแบบนี้ ถ้า ดีเราก็ดีใจ แต่ถ้าเป็นทางไม่ดี แน่นอนว่าเราก็เสียใจ แต่อยากบอกว่า การ พัฒนาคุณภาพไม่มีผิด และไม่มีถูก ทุกอย่างขึ้นอยู่กับบริบทของเราใน ขณะนั้น การพัฒนาของเราอาจดูแล้วไม่เข้าท่าในสายตาผู้อื่น แต่เข้าท่าใน บริบทของเรา สิ่งนี้ไม่ผิด เพียงแต่การพัฒนานั้นสามารถตอบคาถามเหล่านี้ ได้หรือไม่ คือดีต่อองค์กร ดีต่อตัวเรา และดี ต่อผูรับบริการ ถ้าครบ 3 ดี ก็พัฒนา ้ ต่อไปเถอะครับเพราะท่านเดินมาถูกทางแล้ว ครับ
  • 6. ๔.อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการอ้างตาราหรือคัมภีร์ เอกสารหรือตาราคือสิ่งที่เราใช้ในการศึกษา เพื่อหาแง่มุมในการที่เราจะ นาไปพัฒนา ซึ้งในเอกสารและตารานั้นย่อมมีเนื้อหาที่คลอบคลุม และกิน ความที่กว้างขวางสามารถนาไปปรับใช้ได้ทุกขนาดขององค์กร แต่ดวยขึ้นชื่อว่า้ เป็นหนังสือหรือตาราที่ออกโดยสานักนั้น สถาบันนี้ เราจึงเชื่อว่านี่คือคัมภีร์ ศักดิ์สิทธิ์ที่ทาให้สาเร็จสมความมุ่งหมาย จึงเชื่อในทุกสิ่งที่ตาราได้เขียนเอาไว้ แล้วนามาสู่การปฏิบัติ บางสิ่งที่เรามีเราก็ปฏิบัติอย่างสบาย ใจ ในสิ่งที่เราไม่มีก็พยายามหรือก่อตั้งขึ้นให้เหมือนกับที่ หนังสือบอก สุดท้ายมาในสิ่งที่เราไม่มีกลายเป็นภาระใน ปฏิบัติ เพราะอะไร ก็เพราะเราไม่ได้มองบริบทของเรา ว่าจาเป็นแค่ไหนในการนามาใช้ นั่นคือไม่ได้พิจารณาก่อน ก่อนที่จะนามาปฏิบัติว่าคือฉันหรือไม่ ?
  • 7. ๕.อย่าปลงใจเชื่อ เพราะตรรกะ คาว่าตรรกะ ในที่นี้หมายถึงการคาดเดาครับ แน่นอนว่าการพัฒนาคุณภาพ เราต้องยึดหลักข้อเท็จจริง หรือ Management by Fact ในการใช้เป็นข้อมูล ในการพัฒนาคุณภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเราต้องให้การดูแลเรื่องสุขภาพ และ โรคภัยไข้เจ็บของผู้รับบริการ ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เรามาใช้จึงเป็นข้อมูลที่ มิใช่เกิดจากการคาดเดาเอาเอง ว่าเป็นแบบนั้นหรือเป็นแบบนี้ เพราะถ้าเราใช้ ข้อมูลที่เดาเอาเอง แล้วอะไรคือข้อเท็จจริงที่ผู้รับบริการจะได้รับ และอะไรจะ เกิดขึ้นบ้าง ก็ยากที่จะคาดเดา ดังนั้นจึงต้องยึดด้วยข้อมูลที่เป็นจริง เพราะนั่น จะทาให้เรารู้ว่าตอนนี้เราอยู่ส่วนใดของการพัฒนา คุณภาพ
  • 8. ๖.อย่าปลงใจเชื่อ เพราะอนุมาน การอนุมานก็คือการคาดคะเนครับ ซึ้งก็คล้ายๆกับการคาดเดา นั่นเอง เพียงแต่การคาดคะเนนันเรายังมีสิ่งที่นามาคาดคะเนได้ ผิด ้ กับการคาดเดาคือไม่มีอะไรเลย แต่ไม่ว่าจะเป็นแบบใด ก็มใช่ ิ วิถีทางแห่งการพัฒนาคุณภาพ เพราะล้วนแต่มิได้อาศัย สิ่งที่เป็น ความจริง มาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาครับ
  • 9. ๗.อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการคิดตรองตามแนวเหตุผล เราทุกคนมีเหตุผลในการตัดสินใจสิ่งใดๆด้วยกันทั้งนั้นครับ สิ่งนี้ก็ขึ้นอยู่กับ ประสบการณ์และความรู้ที่ตนมีอยู่ จึงทาให้เกิดกรณีหลายต่อหลายครั้งว่าทาไม จึงตัดสินใจแบบนี้และอาจมีคาต่อว่า ต่อขานตามมาต่อการกระทาที่เกิดขึ้น จึง เป็นที่มาของการพัฒนาคุณภาพ เพื่อจัดวางระบบ และกาหนดแนวทางในการ ปฏิบัติงานเพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน เพื่ออะไรหรือครับ ก็เพื่อมิให้เจ้าหน้าที่ หรือบุคลากรใช้เหตุผลของตนเองในการตัดสินใจ หรือใช้ให้น้อยที่สุด เพราะการตัดสินใจด้วยเหตุผลนั้นย่อมมีความผิด พลาดเกิดขึ้นได้ง่าย เพราะนั่นอาจมิใช่มาตรฐาน หรือความปลอดภัยที่ผู้ป่วยได้รับที่แท้จริงครับ
  • 10. ๘.อย่าปลงใจเชื่อ เพราะเข้าได้กับทฤษฎีที่พินิจไว้แล้ว สิ่งนี้เราเรียกว่าความเชื่อมั่นในตนเองครับ การเชื่อมั่นในตนเองนั้นเป็นสิ่งที่ ดี เพราะนั่นจะทาให้เรามีความมั่นใจในสิ่งที่เราจะทา แต่ถ้ามีมากเกินไปก็จะ กลายเป็นสิ่งที่ไม่ดี นั่นคือเราก็จะไม่ยอมรับฟังในสิ่งที่เราไม่ชอบใจ แต่จะรับ ฟังแต่สิ่งที่ตนเองชอบ ซึ้งในเรื่องของการพัฒนาคุณภาพ การรับฟังข้อคิดเห็น จากผู้อื่น หรือแหล่งอื่นนั้นเป็นสิ่งสาคัญยิ่ง เพราะการพัฒนาจาต้องอาศัยสิ่ง ต่างๆจากภายนอกทั้งที่เรารู้แล้ว ไม่รู้ ชอบ และไม่ชอบมาปรับใช้และปรับ เปลี่ยนกระบวนการการพัฒนาของเราให้ดียิ่งขึ้น การที่เรา รับฟังแต่ในเรื่องที่ตนเองชอบหรือถูกใจ นั่นคือเรามีความ เป็นตัวกูของกู และทิฐิในตนเองครับ ลองเปิดใจและรับรู้ ในส่งที่ต่างไปจากตนเอง แล้วจะพบว่าโลกแห่งการ พัฒนาคุณภาพมีอะไรมากกว่าที่เราคิดครับ
  • 11. ๙.อย่าปลงใจเชื่อ เพราะมองเห็นรูปลักษณะน่าจะเป็นไปได้ ข้อเสนอแนะคือสิ่งที่เรามักจะได้เสมอจากผู้เข้ามาเยี่ยมเราใช่ไหมครับ ว่า ควรทาแบบนั้น ควรทาแบบนี้ ซึ้งข้อเสนอแนะนั้นเป็นสิ่งที่ดี เป็นแบบอย่างใน การที่เราจะนาไปพัฒนาต่อ แต่อยากกล่าวกับผู้ที่ได้รับการเยี่ยมว่า ข้อเสนอแนะต่างๆที่เราได้รับมานั้น อย่าพึ่งเชื่อทั้งหมด ความหมายของผม คือให้ย้อนกลับมาดูบริบทของเราว่า เราเป็นอย่างไร สิ่งที่เราได้รับมานั้นเราจะ มาปรับกับองค์กรเราได้อย่างไร มีอะไรบ้างที่เราสามารถปรับเข้ากับองค์กรเรา ได้ และสิ่งไหนที่ยังปรับไม่ได้ซึ้งจะต้องใช้เวลา มิใช่นาสิ่งที่ผู้ให้ข้อเสนอนามา ปฏิบัติโดยไม่พิจารณาและทันที เพราะเมื่อเป็นแบบนั้นความทุกข์ย่อมเกิดกับ ผู้ปฏิบัติ เพราะจะเกิดแรงกดดันและความเครียด จึงควรมีกรอบเวลาในการที่จะพัฒนาและปรับปรุง ในส่วนที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม
  • 12. ๑๐.อย่าปลงใจเชื่อ เพราะนับถือว่าท่านเป็นครูของเรา สิ่งนี้เราอาจได้ยินได้ฟังกันบ่อยๆ ว่า สรพ. ให้ทาแบบนั้น อาจารย์ท่านนี้ให้ ทาแบบนี้ เราก็มักจะนาสิ่งที่อาจารย์บอกกับเรามา รวมทั้งเครื่องมือต่างๆที่ ออกมา นามาพัฒนาองค์กรของเราอย่างเต็มรูปแบบ คือทุกอย่าง แท้จริงเรา ต้องทาถึงขนาดนั้นหรือไม่ คาตอบคือไม่ครับ สิ่งที่จะเป็นเกณฑ์ที่จะบอกว่า ต้องทาอะไรบ้างนั้นอยู่ที่บริบทของตัวเราเองว่าเป็นเช่นใด อาจารย์ท่านทาได้ แต่ชี้ทางให้เห็นว่าเราจะไปทางใด แต่สิ่งที่เป็นเครื่องมือและสัมภาระต่างๆ เราต้องเป็นผู้กาหนดเองว่าจะนา สิ่งใดติดตัวไป มิใช่อาจารย์ ดังนั้นแล้วทบทวน บริบทของตนเองให้ดี ก่อนที่เดินหน้าต่อไปครับ