SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 24
Descargar para leer sin conexión
รายงาน

เรื่อง Need more convenience time conscious right now culture.

                            เสนอ

                     อาจารย์ วจนะ ภูผานี

                             โดย

         นางสาวหทัยรัตน์ อาปัดชิง       54010911002
         นางสาวสุ ธาสินี ภูอ่อน         54010911090
         นางสาวกนกพร อาจวิชัย           54010911099
        นางสาวศิริพร โชคบัณฑิต          54010911141
        นางสาวกนกวรรณ ครองอารมณ์ 54010911159

                           MK 542

  รายงานนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาพฤติกกรมผู้บริโภค (0902111)

               ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2554

                 คณะการบัญชีและการจัดการ

                   มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
คานา
        รายงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาพฤติกรรมผูบริ โภค จัดทาขึ้นเพื่อให้ผท่ีสนใจงานวิจยเกี่ยวกับ
                                                 ้                         ู้           ั
พฤติกรรมผูบริ โภคเกี่ยวกับ Need more convenience time conscious right now culture ได้มาศึกษาค้นคว้า
          ้
หาความรู้ ทางคณะผูจดทาจึงได้สรุ ปงานวิจยเรื่ องพฤติกรรมการผูบริ โภคอาหารของนักศึกษามหาวิทยาลัย
                  ้ั                   ั                    ้
ราชภัฎนครปฐม และหวังเป็ นอย่างยิงว่าผูที่มาศึกษาจะได้รับประโยชน์
                                ่ ้



                                                                                            คณะผูจดทา
                                                                                                 ้ั
สารบัญ
เรื่อง                                                                  หน้ า

ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก………………………………………………………………………….1
ประวัติบริ ษท……………….……………………………………………………………………………6
            ั
การวิเคราะห์ตลาด (Market Analysis)……………………………………………………………..….14

         - ส่ วนแบ่งตลาด (Market share)….........…………………………………………………….14

         - มูลค่าตลาด (Market size)………………………………………………………………….15

         - คู่แข่งขัน (Competitors)……………………………………………………………..……16

         - 6 W 1H……………………………………………………………………………………16

STP (การแบ่งส่ วนตลาด,การกาหนดเป้ าหมาย,การวางตาแหน่งผลิตภัณฑ์)………………………….17

         - การแบ่งส่ วนตลาด……………………………………………………………………….17
         - การกาหนดเป้ าหมาย……………………………………………………………………..17
         - การวางตาแหน่งผลิตภัณฑ์……………………………………………………………….18

วิเคราะห์ 4 P ‘ S……………………………………………………………………………………….18

สรุ ป……………………………………………………………………………………………………20

บทวิเคราะห์ …………………………………………………………………………………………..20
Need more convenience time conscious right now culture.

                  ้                             ิ                                 ั
มนุษย์ทุกคนต่างก็ตองการความสะดวกสบายในการดารงชีวต ที่สามารถเอื้ออานวยความสะดวกให้กบ
ตนเองทั้งด้านเทคโนโลยีและสิ นค้าอุปโภคบริ โภค ทางกลุ่มของเราจึงได้จดทารายงานเรื่ องความ
                                                                   ั
สะดวกสบายเกี่ยวกับสิ นค้าอุปโภคบริ โภค

ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก

วัฒนธรรม(culture)คือผลรวมเกิดจากการเรี ยนรู ้(Learned sum)ความเชื่อ(Beliefs)ค่านิยม(Values)ธรรมเนียม
ปฏิบติ(Customs)ศิลปะ(Arts)คุณธรรม(Moral)กฎหมาย(Laws)ความสามารถ(Capabilities)อุปนิสัย
    ั
(Habits)ซึ่ งกาหนดพฤติกรรมของสังคมในสังคมหนึ่งโดยคนในสังคมนั้นยอมรับและเผยแพร่ ต่อกันไปกลุ่ม
อ้างอิง (Reference Group) หมายถึงบุคคลหนึ่งหรื อกลุ่มคนที่ผอื่นใช้เปรี ยบเทียบหรื อใช้เป็ นมาตรฐานใน
                                                           ู้
การเกิดค่านิยม ทัศนคติ ชนิ ดทัวไปหรื อชนิดที่เฉพาะเจาะจงซึ่ งใช้เป็ นสิ่ งชี้นานาความประพฤติหรื อกลุ่มอ่าง
                              ่
อิงหมายถึงบุคคลหรื อกลุ่มคนที่มีอิทธิ พลสาคัญๆต่อพฤติกรรมของบุคล

วัฒนธรรมย่อย(Subculture) ใช้เรี ยกลักษณะของกลุ่มสังคมที่มีการยึดถือ บรรทัดฐานและการกาหนดคุณค่า
ของสิ่ งรู ปธรรม และสิ่ งนามธรรมที่แตกต่างกันการพูดคุยในวัฒนธรรมย่อยเดียวกันจะพูดคุยเรื่ องเดียวกัน
หรื อเรี ยกว่าภาษาเดียวกันโดยลักษณะหลักที่เห็นได้ชดของกลุ่มวัฒนธรรมคือความเชื่อและแนวคิดจะ
                                                  ั
แตกต่างกันตามกลุ่มวัฒนธรรม

ผูบริ โภคชอบการจับจ่ายสิ นค้าที่สนุกสนานในราคาประหยัดท่ามกลางบรรยากาศการซื้ อสิ นค้าที่
  ้
สะดวกสบาย ผูบริ โภคยังชอบบริ การที่หลากหลายและแตกต่าง และผูบริ โภคยังชอบเข้ามาใช้บริ การได้
            ้                                              ้
สัมผัสประสบการณ์การซื้ อสิ นค้าแบบครบวงจร ณ จุดเดียว

ลักษณะประชากรศาสตร์ หมายถึง ลักษณะทางสถิติที่สาคัญละสามารถวัดได้ของประชาชน เป็ นตัวแปรที่
สาคัญที่สุดในการแบ่งตลาด และหาได้ง่าย ตัวแปรประชากรศาสตร์ ที่สาคัญและนิยมนามาใช้การแบ่งส่ วน
ตลาดมีดงนี้ อายุ เพศ สถานะภาพสมรส รายได้ อาชีพ และการศึกษา ข้อมูลเกี่ยวกับตัวแปรนี้หาได้ง่าย
       ั
ในราคาไม่แพง จึงนิยมใช้ในการพิจารณาตาแหน่งของตลาดเป้ าหมาย

 Big C มุ่ง กลุ่มประชากรที่มีความอ่อนไหวเรื่ องราคา ชอบความสะดวกสบาย สิ นค้ามีความหลากหลาย มี
                                                 ่
สิ นค้าอุปโภคบริ โภคให้เลือกมากมาย ร้านค้าตั้งอยูภายในชุมชน การจับจ่ายที่สะดวกสบาย ใกล้บาน
                                                                                        ้
สถานภาพทางสั งคม(Social status) เป็ นตาแหน่งของแต่ละบุคคลเมื่อเปรี ยบเทียบกับผูอื่นโดยใช้ตวแปรนั้น
                                                                               ้          ั
พิจารณาว่ามีความสาคัญในการจัดแบ่งกลุ่มภายในสังคมโดยในแต่ละกลุ่มนั้นประกอบด้วยบุคคลที่มีค่านิยม
(Values)ความสนใจ(Interests)และพฤติกรรมที่คล้ายกัน

เป็ นตาแหน่งของแต่ละบุคคลเมื่อเปรี ยบเทียบกับผูอื่นโดยใช้ตวแปรนั้น พิจารณาว่ามีความสาคัญในการจัด
                                               ้          ั
แบ่งกลุ่มภายในสังคมโดยในแต่ละกลุ่มนั้นประกอบด้วยบุคคลที่มีค่านิยม(Values)ความสนใจ
(Interests)และพฤติกรรมที่คล้ายกัน

สภาพแวดล้อมภายในคือ การบริ หารงานที่ดี การบริ การดี ราคาสิ นค้าประหยัด ราคาถูก มีสินค้าที่
หลากหลาย อีกทั้งมีบรรยากาศที่โดดเด่นเป็ นที่น่าพอใจของผูบริ โภค
                                                        ้

สภาพแวดล้อมภายนอก คือ คู่แข่งขันของบิ๊กชีที่มีบริ การคล้ายกัน เช่น โลตัส แม็คโคร Pot ซึ่ งเป็ นคู่แข่ง
ทางการค้ากับบิ๊กชีอย่างโดดเด่น (Emotion) คือ ความรู้สึก (Feelings) ที่รุนแรงควบคุมไม่ได้ และส่ งผล
กระทบต่อพฤติกรรมของคน

กลุ่มอ้ างอิง (Reference Group) หมายถึงบุคคลหนึ่งหรื อกลุ่มคนที่ผอื่นใช้เปรี ยบเทียบหรื อใช้เป็ นมาตรฐาน
                                                                 ู้
ในการเกิดค่านิยม ทัศนคติ ชนิดทัวไปหรื อชนิ ดที่เฉพาะเจาะจงซึ่ งใช้เป็ นสิ่ งชี้นานาความประพฤติหรื อกลุ่ม
                               ่
อ่างอิงหมายถึงบุคคลหรื อกลุ่มคนที่มีอิทธิ พลสาคัญๆต่อพฤติกรรมของบุคล

1กลุ่ มอ้ างอิงทางตรง (direct or membership groups) คือ กลุ่มบุคคลที่มีอิทธิ พลต่อผูบริ โภคทางตรง และมี
                                                                                    ้
การติดต่อกันแบบเผชิ ญหน้า แบ่งเป็ น

- กลุ่มปฐมภูมิ (primary groups) เป็ นกลุ่มบุคคลที่มีการติดต่อกันอย่างสม่าเสมอ และมีรูปแบบการติดต่อ
แบบไม่เป็ นทางการ เช่น ครอบครัว เพื่อน เป็ นต้น

- กลุ่มทุติยภูมิ (secondary groups) มีการติดต่อกันแบบนาน ๆ ครั้ง และมีรูปแบบการติดต่อแบบเป็ นทางการ
เช่น กลุ่มทางศาสนา กลุ่มวิชาชีพ หรื อกลุ่มทางการค้า เป็ นต้น

กลุ่มอ้ างอิงทางอ้ อม (indirect groups) คือ กลุ่มบุคคลที่มีอิทธิ พลทางอ้อม ไม่ได้มีการรู ้จกเป็ นการส่ วนตัว
                                                                                           ั
แบ่งเป็ น

- กลุ่มใฝ่ ฝัน (aspirational groups) บุคคลที่บุคคลอื่นต้องการจะเป็ นเหมือน เช่น นักแสดง นักร้อง นายแบบ
นางแบบ พิธีกร นักกีฬาที่มีชื่อเสี ยง เป็ นต้น
- กลุ่มไม่พึงปรารถนา (dissociative groups) บุคคลที่ค่านิ ยมหรื อพฤติกรรมที่บุคคลอื่นปฏิเสธ



การรับรู้ การเรียนรู้ คือกระบวนการที่ทาให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด คนสามารถเรี ยนได้จากการ
ได้ยนการสัมผัส การอ่าน การใช้เทคโนโลยี การรับรู ้มีหลายทาง ซึ่งประกอบไปด้วย ทางด้านสื่ อ
    ิ
อินเทอร์ เน็ต และการบอกเล่าของคนต่อคนที่เคยใช้ บิ๊กซี มีการพัฒนา บัตรบิ๊กการ์ ด บัตรสมาชิกที่ลูกค้า
สามารถมีส่วนร่ วม เพลิดเพลิน สนุกสนานไปกับคูปองส่ วนลดเงินสดและส่ วนลดสิ นค้าราคาสมาชิกในแต่
ละสัปดาห์ ปั จจุบนเรามีสมาชิกมากกว่าหกล้านสมาชิกและยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ อง ซึ่ งส่ งผลให้สัดส่ วน
                 ั
ยอดขายจากสมาชิกเพิ่มขึ้นจาก 25% ในปี พ.ศ.2552 เป็ นมากกว่า65% ในปั จจุบน ปริ มาณการซื้ อสิ นค้าของ
                                                                       ั
สมาชิกในแต่ละครั้งนั้นสู งกว่าเกือบสองเท่าตัว เมื่อเทียบกับลูกค้าทัวไป
                                                                   ่

ความจาเป็ น หมายถึง ความต้องการในปั จจัยแห่งการดารงชีวตที่มนุษย์ขาดไม่ได้หากพิจารณาจาก
                                                      ิ
แหล่งกาเนิดแบ่งได้ 2 กลุ่ม คือ 1. เกิดขึ้นได้ตามธรรมชาติ เช่น ความจาเป็ นเรื่ องอาหาร น้ า อากาศ

       2. ความจาเป็ นที่เกิดจากความรู ้ โดยกระบวนการกลุ่มเกลาทางสังคม

                                                          ั
ในร้านค้าปลีกของเราจะมีการนาเสนอความหลายหลายของสิ นค้าให้กบลูกค้า ตั้งแต่อาหารสด เสื้ อผ้า
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ผลิตภัณฑ์สุขภาพและความงาม โดยปั จจุบนมีสินค้าให้เลือกซื้ อมากกว่า 100,000
                                                          ั
SKUs เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า โดยสามารถแบ่งออกเป็ นห้าประเภท ดังนี้อาหารสด: เนื้อสัตว์
อาหารทะเล ผลไม้สดและผัก (ทั้งพร้อมปรุ งและพร้อมรับประทาน) อาหารแช่แข็ง อาหารอบ สมุนไพร และ
เครื่ องเทศต่างๆอาหารแห้ง: เครื่ องปรุ งรสและประกอบอาหาร เครื่ องดื่มต่างๆ อาทิ น้ าอัดลม และเครื่ องดื่มที่
มี แอลกอฮอล์ ขนมขบเคี้ยว ของใช้ส่วนตัว ผลิตภัณฑ์ทาความสะอาด อาหารและของใช้สาหรับสัตว์เลี้ยง
เสื้ อผ้าและเครื่ องประดับ: สุ ภาพบุรุษ สุ ภาพสตรี เด็ก และทารก รวมถึงรองเท้าและเครื่ องสาอาง
เครื่ องใช้ไฟฟ้ า: อุปกรณ์เครื่ องใช้ไฟฟ้ านานาชนิด เช่น เครื่ องปรับอากาศ ตูเ้ ย็น ฯลฯ อุปกรณ์เครื่ องใช้ใน
ครัวเรื อน อุปกรณ์เพื่อความบันเทิงภายในบ้าน เทป ซีดี อุปกรณ์ประดับยนต์ วัสดุอุปกรณ์และเครื่ องมือ
ซ่อมแซมบารุ งรักษาบ้าน

ความจา หมายถึง กระบวนการเก็บรักษาข้อมูลต่างๆที่บุคคลได้รับ เพื่อที่จะสามารถนากลับมาใช้ใน
ภายหลัง แนวคิดการประมวลสารสนเทศ ได้เสนอว่าสมองของมนุษย์มีการทางานเหมือนดังเช่นเครื่ อง
                                                                         ่
                                    ่
คอมพิวเตอร์ กล่าวคือ ข้อมูลต่างๆที่ผานเข้ามาจะถูกประมวลผล และกลายเป็ นสารสนเทศที่ถูกนามาใช้ใน
ภายหลัง “ตราบิ๊กซี” กลายเป็ นทางเลือกที่ดีในยุคเศรษฐกิจฝื ดเคืองเพราะเราทาให้ลูกค้ามีทางเลือกในการ
เลือกซื้ อผลิตภัณฑ์ที่ราคาถูกกว่าตราสิ นค้าอื่นในประเทศเกือบ 30% ในปี 2552 บิ๊กซี ได้เปิ ดสายการผลิต
สิ นค้าที่ใช้ตราบิ๊กซี กว่า 1,305 รายการ มีท้ งอาหารสด สิ นค้าบริ โภคและสิ นค้าอุปโภค สาหรับปี 2553 บิ๊กซี
                                              ั
จะขยายการผลิตสิ นค้าที่ใช้ตราสิ นค้าของบริ ษทให้สนองตอบความต้องการของลูกค้าของเราต่อไป
                                            ั

แรงจูงใจ ( Motivation) คือ สภาวะที่ถูกกระตุน (Activated State) ภายในแต่ละคน ซึ่ งนาไปสู่ พฤติกรรม
                                           ้
          ่
ที่มีจุดมุงหมาย หรื อเป็ นเหตุผลของพฤติกรรมแต่ละครั้ง

โปรโมชันส่ งผ่านสื่ อต่างๆคือ
       ่

1. การโฆษณา (Advertising) เช่น โฆษณาผ่าน ทีวี วิทยุ ใบปลิว หนังสื อพิมพ์ บิลบอร์ ด

2. การประชาสัมพันธ์ หรื อมักเรี ยกกันว่า PR (Public Relationship)

3. การตลาดทางตรง (Direct Marketing) เช่น จดหมาย โทรศัพท์

4. การส่ งเสริ มการขาย (Sale Promotion) เช่น การลด แลก แจก แถม

5. การส่ งเสริ มการตลาด ณ จุดขาย หรื อเรี ยกว่า P.O.P. (Point-Of-Purchase) เช่น การติดป้ ายโฆษณาตรงชั้น
วางสิ นค้า

6. Online Marketing เช่น การทาโฆษณาผ่าน Website, การส่ ง SMS

บุคลิกภาพ (Personality) คือ แนวโน้ม (Tendencies) ของการตอบสนองที่เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะซึ่งทา
หน้าที่กาหนด (Deteming) และสะท้อน (Reflect) การตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมของแต่ละคน
ผูบริ โภคโดยทัวไปมักใช้ผลิตภัณฑ์และบริ การที่สะท้อนหรื อส่ งเสริ มบุคลิกภาพของตนเองและหลีกเลี่ยง
  ้           ่
ผลิตภัณฑ์ที่ขดแย้งกับบุคลิกนั้นๆ พฤติกรรมดังกล่าวทาให้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์และวางตาแหน่งที่
             ั
สอดคล้องกับบุคลิกของกลุ่มเป้ าหมาย

อารมณ์ (Emotion) คือ ความรู้สึก (Feelings) ที่รุนแรงควบคุมไม่ได้ และส่ งผลกระทบต่อพฤติกรรม
ของคน
ทัศนคติ(Attitudes)เป็ นตัวแปรภายในที่สาคัญมากชนิดหนึ่ งซึ่ งส่ งผลกระทบต่อการตัดสิ นใจซื้ อและเลือกวิถี
ชีวต(Lifestyles)ของผูบริ โภค เช่น ทัศนคติที่มีต่อผลิตภัณฑ์อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สิ นค้าฟุ่ มเฟื อย สิ นค้า
   ิ                 ้
ต่างประเทศ และความงาม เป็ นต้น ความสาเร็ จของหน่วยงานในธุ รกิจและหน่วยงานทางธุ รกิจและ
หน่วยงานทางสังคมในการเปลี่ยนแปลงทั้งที่มีประโยชน์และมีโทษต่อผูบริ โภคส่ วนใหญ่มกจะเกิดการ
                                                              ้                ั
เปลี่ยนแปลงทัศนคติของผูบริ โภคหรื อกลุ่มคนต่างๆที่มีต่อสิ นค้า บริ การ แนวคิดละกิจกรรมต่างๆ
                       ้

ทัศนคติของผูบริ โภคที่มีต่อภาพลักษณ์ของซุ ปเปอร์ สโตร์ โดยภาพรวมอยูในระดับมากโดยความจงรักภักดี
            ้                                                      ่
ของผูบริ โภคที่มีต่อซุ ปเปอร์ สโตร์ ดานความพึงพอใจของลูกค้ามากที่สุด รองลงมาด้านความเชื่อถือและ
     ้                               ้
                                                                       ่
ความไว้วางใจ ความเชื่ อมโยงผูกพันกับอารมณ์ และด้านลดทางเลือกและนิสัยอยูในระดับปานกลาง

จินตภาพตนเองหรือภาพลักษณ์ตนเอง คือความคิดและความรู้สึกโดยรวม(Overal Feeling) ของแต่ละ
บุคคลเกี่ยวกับตนเองในฐานะที่เป็ นวัตถุชนิดหนึ่ง(Object)หรื อเป็ นทัศนคติ(Attitude)ของแต่ละบุคคลที่มีต่อ
ตนเอง หรื อความเชื่อ(Beliefs)และความรู้สึก(Feelings)เกี่ยวกับตนเอง ทัศนคติของผูบริ โภคที่มีต่อ
                                                                               ้
ภาพลักษณ์ของซุปเปอร์สโตร์ดานการจัดการสิ นค้าที่ให้บริ การมากที่สุด รองลงมาด้าน คุณลักษณะของ
                          ้
องค์กร ด้านการดาเนินธุ รกิจ ด้านอาคารและสถานที่ ด้านการให้บริ การจากพนักงาน ด้านประวัติของบริ ษท
                                                                                               ั
                                                         ั        ่
ส่ วนด้านร้านที่มาเช่าพื้นที่ และด้านการสร้างประโยชน์ให้กบสังคมอยูในระดับปานกลาง

วิถีชีวต (Lifestyle)คือรู ปแบบการใช้ชีวตของบุคคลที่แสดงออกในรู ปของกิจกรรม(Activities)ความสนใจ
       ิ                               ิ
(Interest)และความคิดเห็น(OPinions) ความสัมพันธ์อนดีระหว่างเรากับลูกค้า เป็ นสิ่ งที่เราให้ความสาคัญ
                                                ั
มาก เรามีการพัฒนา บัตรบิ๊กการ์ ด บัตรสมาชิกที่ลูกค้าสามารถมีส่วนร่ วม เพลิดเพลิน สนุกสนานไปกับ
คูปองส่ วนลดเงินสดและส่ วนลดสิ นค้าราคาสมาชิกในแต่ละสัปดาห์ ปั จจุบนเรามีสมาชิกมากกว่าหกล้าน
                                                                   ั
สมาชิกและยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่ งส่ งผลให้สัดส่ วนยอดขายจากสมาชิกเพิ่มขึ้นจาก 25% ในปี พ.ศ.
2552 เป็ นมากกว่า65% ในปั จจุบน ปริ มาณการซื้ อสิ นค้าของสมาชิกในแต่ละครั้งนั้นสู งกว่าเกือบสองเท่าตัว
                              ั
เมื่อเทียบกับลูกค้าทัวไป
                     ่
ประวัติ

พ.ศ. 2537 เปิ ดสาขาแรกบนถนนแจ้งวัฒนะ กรุ งเทพมหานคร

พ.ศ. 2542 บิ๊กซี ซูเปอร์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) เข้าร่ วมเป็ นพันธมิตรทางธุ รกิจกับ กลุ่มบริ ษท
                                                                                               ั
              คาสิ โน กรุ๊ ป (Casino Group) จากประเทศฝรั่งเศส โดย คาสิ โน กรุ๊ ป เข้าซื้ อหุ นเพิ่มทุน
                                                                                             ้
              จานวน 530 ล้านหุน และกลายเป็ นผูถือหุ นใหญ่หลังจากเพิ่มทุนดังกล่าว
                              ้               ้ ้
              หลังจากการเข้ามามีส่วนร่ วมในการบริ หารงานในบิ๊กซี คาสิ โนกรุ๊ ปตัดสิ นใจขายธุ รกิจ
              ผลิตเสื้ อผ้าทั้งหมด เพื่อที่จะมุ่งเน้นการดาเนินธุ รกิจค้าปลีกและเสริ มสร้างประสิ ทธิ ภาพ
              การดาเนินงานให้มีประสิ ทธิภาพ

พ.ศ. 2545 บิ๊กซี ได้เปิ ดตัว มูลนิธิบ๊ิกซี โดยมีวตถุประสงค์เพื่อให้โอกาสทางการศึกษาแก่เด็กด้อย
                                                 ั
              โอกาส

พ.ศ. 2548 ทดลองเปิ ดร้านบิ๊กซี ในรู ปแบบกะทัดรัด ซึ่ งมีพ้ืนที่คาปลีกเฉลี่ย 6,000 ตารางเมตรเมื่อ
                                                                ้
              เทียบกับ 10,000 ตารางเมตรของไฮเปอร์ มาร์ เก็ตปกติ

พ.ศ. 2550 บิ๊กซี เปิ ดตัวสิ นค้า ตราบิ๊กซี

พ.ศ. 2551 บิ๊กซี เปิ ดตัว แฮปปี้ บาท

พ.ศ. 2552 บิ๊กซี เปิ ดตัว บัตรสมาชิกรู ปแบบใหม่ “บิ๊กการ์ ด”

พ.ศ. 2553 บิ๊กการ์ ด มีสมาชิกบัตรกว่า 5 ล้านคน
              เปิ ดร้านขนาดเล็กที่เรี ยกว่า บิ๊กซี มาร์ เก็ต
              บิ๊กซี เปิ ดตัวสิ นค้าตราบิ๊กซี ที่เป็ นกลุ่มพรี เมี่ยมโดยเน้นที่คุณภาพสิ นค้า
พ.ศ. 2554 บิ๊กซี ซ้ื อกิจการคาร์ ฟูร์ในประเทศไทย(จานวน42สาขา) และได้ตอกย้าการเป็ นผูนาร่ วมใน
                                                                                    ้
              การดาเนิ นธุ รกิจไฮเปอร์ มาร์ เก็ตในประเทศไทย
              คาร์ฟูร์ จานวน15สาขาได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็ นบิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า ห้างไฮเปอร์ มาร์ เก็ตรู ปแบบใหม่
              ระดับพรี เมี่ยม โดยกาหนดเป้ าหมายลูกค้าที่มีรายได้ระดับกลางถึงสู ง
              เปิ ดตัวบิ๊กซี จมโบ้ ซึ่ งเป็ นร้านค้ารู ปแบบใหม่ที่มีขนาดใหญ่ กาหนดกลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย
                              ั
              เป็ นครอบครัวขนาดใหญ่ ร้านค้าปลีกขนาดเล็ก โรงแรมและ ร้านอาหาร



บิ๊กซี ซูเปอร์ เซ็นเตอร์ ดาเนินธุ รกิจในรู ปของ "ไฮเปอร์ มาร์ เก็ต" หรื อ "ซูเปอร์ เซ็นเตอร์ " ธุ รกิจค้าปลีก
สมัยใหม่ ภายใต้การบริ หารงานโดย บริ ษท บิ๊กซี ซูเปอร์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) และบริ ษทย่อย
                                     ั                                                ั
ปั จจุบนบิ๊กซี แบ่งเป็ น บิ๊กซี จัมโบ้ จานวน 1 สาขา บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า จานวน 15 สาขา บิ๊กซี จานวน 92 รวมเป็ น
       ั
สาขาเปิ ดให้บริ การทั้งสิ้ น 108 สาขา แยกเป็ นสาขาในเขตกรุ งเทพฯ และปริ มณฑล 48 สาขา สาขาใน
ต่างจังหวัด 60 สาขา มีพ้ืนที่ที่ให้บริ การคือไทย, เวียดนามและลาว


ชื่อของ "บิ๊กซี " สะท้อนถึงปั จจัยที่เป็ นหลักในการดาเนิ นธุ รกิจของบิ๊กซี รวมทั้งยังเป็ นกุญแจสาคัญสู่
ความสาเร็ จของบิ๊กซี อีกด้วย

"บิ๊ก" (Big) หมายถึง พื้นที่ท่ีมีขนาดใหญ่ พร้อมด้วยบริ การและสิ่ งอานวยความสะดวกต่างๆ สาหรับลูกค้า
และยังครอบคลุมไปถึงความหลากหลายของสิ นค้าที่บิ๊กซี คดสรรมาจาหน่าย โดยบิ๊กซี มีสินค้ามากกว่า
                                                    ั
100,000 รายการ เพื่อตอบสนองทุกความต้องการของลูกค้า

"ซี" (C) หมายถึง ลูกค้าผูให้การสนับสนุนบิ๊กซี ดวยดีเสมอมา
                         ้                     ้

ด้วยบุคลากรมากกว่า 16,000 คน บิ๊กซี พร้อมมอบประสบการณ์ในการจับจ่ายสิ นค้าที่สนุ กสนานในราคา
ประหยัดท่ามกลางบรรยากาศการซื้ อสิ นค้าที่สะดวกสบาย ภายใต้ปรัชญาที่มุ่งเน้นการให้บริ การที่ดีที่สุดแก่
ลูกค้า นอกจากนี้ บิ๊กซี ยงมีบริ การที่หลากหลายและแตกต่างเพื่อให้ลูกค้าที่เข้ามาใช้บริ การได้สัมผัส
                         ั
ประสบการณ์การซื้ อสิ นค้าแบบครบวงจร ณ จุดเดียว (One-Stop-Shopping) อีกด้วย

พันธะสั ญญา
วิสัยทัศน์ ของบิ๊กซี

มุ่งสู่ การเป็ นผูนาค้าปลีกที่มีรูปแบบและขนาดที่หลากหลายอันดับหนึ่งของคนไทย โดยให้ความสาคัญสู งสุ ด
                  ้
กับลูกค้าของเรา

ภารกิจของเรา

ลูกค้าทุกคนเป็ นสมาชิกของครอบครัวชาวบิ๊กซี

ค่ านิยมของบิ๊กซี

1.เราจะเป็ นผูนาในการให้บริ การแก่ลูกค้าและนาเสนอราคาที่ประหยัด เนื่ องจากลูกค้าทุกท่านมีความสาคัญ
              ้
สู งสุ ดสาหรับเรา

2.เราจะถ่ายทอดความรู ้และฝึ กอบรมให้แก่พนักงานทุกคนของเราสร้างประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดในการบริ การให้
ลูกค้า

3.เราจะทางานเป็ นทีม โดยเป็ นที่กล่าวถึงหรื ออ้างอิงว่า เป็ นที่ที่ให้ความพึงพอใจสู งสุ ดในการบริ การแก่
ลูกค้า

4.เรามุ่งมันที่จะสร้างประโยชน์ เพื่อช่วยเหลือและปกป้ องสิ่ งแวดล้อมในชุมชนที่เราให้บริ การอยู่
           ่

ภาพรวมธุรกิจ

บิ๊กซี เริ่ มดาเนินธุ รกิจค้าปลีกตั้งแต่ปีพ.ศ.2536 ปั จจุบนเป็ นหนึ่งในผูนาที่ดาเนินธุ รกิจค้าปลีกในประเทศไทย
                                                          ั              ้
โดยนาเสนอความหลากหลายของสิ นค้าในร้านค้าปลีกที่ทนสมัย ในราคาที่ประหยัด และเป็ นที่รู้จกในฐานะ
                                                ั                                     ั
ผูนาด้านราคาในธุ รกิจค้าปลีก
  ้

ลูกค้าของเรามาจากคนหลายกลุ่มในสังคม โดยขนาดและรู ปแบบของร้านธุ รกิจที่มีหลากหลาย ทาให้เรา
สามารถเข้าถึงลูกค้าได้ทวประเทศอย่างทัวถึง นอกจากศูนย์การค้าของเราเป็ นแบบครบวงจร เราสามารถ
                       ่ั            ่
นาเสนอบริ การต่างๆผ่านร้านค้าเช่าที่เราคัดสรรมาแล้วอย่างดี

"เราให้คุณมากกว่าคาว่าถูก" เป็ นสโลแกนที่เราเชื่ อว่าสามารถสร้างความพึงพอใจสู งสุ ดให้แก่ลูกค้า โดยผ่าน
นโยบายราคาที่ถูก การคัดสรรสิ นค้าและบริ การที่ หลากหลาย สะอาด อีกทั้งบรรยากาศและบริ การที่โดดเด่น
ในปี พ.ศ. 2554 เป็ นปี ที่มีความสาคัญ เพราะบิ๊กซี กาวสู่ การเป็ นผูนาในตลาดไฮเปอร์ มาร์ เก็ต เมื่อได้ลงนาม
                                                   ้               ้
ในสัญญาซื้ อกิจการคาร์ ฟูร์ในประเทศไทย การดาเนินการครั้งนี้ ได้เพิมศักยภาพ ความแข็งแกร่ งของธุ รกิจ
                                                                  ่
ความสามารถในการนาเสนอราคาที่ประหยัดให้กบลูกค้า รวมถึงการขยายขอบเขตครอบคลุมกลุ่มลูกค้า
                                       ั
ทั้งหมด

    ่
ไม่วาคุณจะร่ วมงานกับเราหรื อเป็ นลูกค้าของเรา คุณเป็ นส่ วนหนึ่งของครอบครัวบิ๊กซี ปั จจุบนเรามีพนักงาน
                                                                                          ั
กว่า 24,000 คน ในทุกภูมิภาคของประเทศไทย อีกทั้ง“บิ๊กการ์ ด”บัตรสมาชิกในรู ปแบบใหม่ที่เติบโตขึ้น
อย่างรวดเร็ วนับตั้งแต่เริ่ มใช้ ในปี พ.ศ. 2552 โดยมีสมาชิกกว่า 6 ล้านคนในกลางปี พ.ศ. 2554

หนึ่งในความมุ่งหมายหลักของบริ ษทฯ คือการเป็ นองค์กรธุ รกิจที่สร้างคุณประโยชน์แก่ชุมชน ลูกค้า
                               ั
พนักงาน และผูถือหุ น เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายดังกล่าว บริ ษทฯมีการสนับสนุนกิจกรรม ของชุมชน ตลอดจน
             ้ ้                                         ั
กิจกรรมสาธารณกุศลต่างๆผ่านมูลนิธิบิ๊กซี โดยเฉพาะในพื้นที่ที่บิ๊กซี เข้าไปประกอบธุ รกิจอย่างต่อเนื่อง

ภาพรวมอุตสาหกรรม

การผสมผสานระหว่ างธุรกิจค้ าปลีกและธุรกิจอสั งหาริมทรัพย์

เรามุ่งมันที่จะเปิ ดศูนย์การค้าใหม่ๆ โดยมีไฮเปอร์ มาร์ เก็ตและมาร์ เก็ตเป็ นตัวดึงดูดลูกค้า ประกอบกับการ
         ่
                                              ่
บริ การและความบันเทิงที่ทางร้านค้าเช่าซึ่ งอยูในศูนย์การค้านาเสนอลูกค้า ทั้งสองส่ วนนี้เป็ นหลักสาคัญใน
การดึงดูดลูกค้าให้มาจับจ่ายใช้สอยในศุนย์การค้าที่ครบวงจรของเรา รายได้จากการให้เช่าพื้นที่ใน
ศูนย์การค้าถือเป็ นแหล่งรายรับสาคัญของบิ๊กซี บิ๊กซี นาแผนงานการปรับปรุ งพื้นที่เช่าให้มีขนาดที่เหมาะสม
มากขึ้นและในขณะเดียวกันจะเพิมประสิ ทธิ ภาพในการดาเนินธุ รกิจค้าปลีก และการจัดสรรพื้นที่เช่าให้ดี
                            ่
ยิงขึ้น ทาให้ร้านค้าเป็ นที่น่าดึงดูดและเพิ่มรายได้ค่าเช่าจากการให้เช่าพื้นที่ศูนย์การค้า โดยไม่มีผลกระทบต่อ
  ่
ยอดขายธุ รกิจค้าปลีกของร้านค้าบิ๊กซี

รู ปแบบและขนาดของร้านค้า มีหลากหลายจากห้างไฮเปอร์ มาร์ เก็ตขนาดใหญ่ ไปสู่ ร้านค้าในชุมชน โดย
มุ่งเน้นการนาเสนอ ราคาที่ดีที่สุดให้แก่ลูกค้า รู ปแบบและขนาดร้านค้ามีดงนี้
                                                                      ั

ไฮเปอร์ มาร์ เก็ต: สาหรับร้านค้าที่ใหญ่ที่สุดของเราสามารถนาเสนอสิ นค้าอุปโภคบริ โภคให้เลือกมากมาย
โดยมีจานวนสิ นค้าเฉลี่ย 80,000 ถึง 100,000 SKUs ขนาดไฮเปอร์ มาร์ เก็ตของเราอาจมีขนาดที่แตกต่างจาก
4,000 ถึง 12,000 ตรม สัดส่ วนของยอดขายผลิตภัณฑ์ของร้านค้าเหล่านี้ มีสัดส่ วนยอดขายสิ นค้าประเภท
อาหารประมาณ 60% และ 40% เป็ นสัดส่ วนยอดขายสิ นค้าที่ไม่ใช่อาหาร
ปั จจุบนเราบริ หารร้านไฮเปอร์ มาร์ เก็ตภายใต้ชื่อ 2 ชื่อคือบิ๊กซี และบิ๊กซี เอ๊กซ์ตร้า ทั้งสอง แบรนด์มุ่งเน้นการ
       ั
เป็ นผูนาทางด้านราคา โดยที่บ๊ิกซี มีการกาหนดเป้ าหมายหลัก โดยมุ่งบริ การต่อกลุ่มลูกค้าที่มีความอ่อนไหว
       ้
เรื่ องราคา ขณะที่บ๊ิกซี เอ็กซ์ตร้ามุ่งเน้นเพิ่มแผนกสิ นค้านาเข้าและความหลากหลายของอาหารสดและกลุ่ม
สิ นค้าที่มีราคาสู ง

บิ๊กซีมาร์ เก็ต: ตั้งอยูในบริ เวณใกล้เคียงกลุ่มลูกค้า โดยบิ๊กซี มาร์ เก็ตนาเสนอราคาและสิ นค้าโปรโมชัน
                        ่                                                                           ่
เดียวกันกับที่ขายในร้านไฮปอร์ มาร์ เก็ตแต่ เนื่องจากพื้นที่ขายมีขนาดจากัด มีต้ งแต่750 ถึง 2,000 ตารางเมตร
                                                                               ั
                                                                    ่
ดังนั้นจานวนของรายการสิ นค้าที่นาเสนอจะถูก จากัดโดยเฉลี่ยมีสินค้าอยูที่ 15,000 SKUs โดยแบ่งสัดส่ วน
เป็ นสิ นค้าประเภทอาหารประมาณ 80% และ 20% เป็ นรายการสิ นค้าที่ไม่ใช่อาหาร

                                                ั ่
ร้ านค้ าในชุ มชน: มินิบิ๊กซี เป็ นร้านค้าที่ต้ งอยูภายในชุมชน นาเสนอประสบการณ์การจับจ่ายที่สะดวกสบาย
สาหรับลูกค้า โดยคัดสรรสิ นค้ามาจาหน่ายจานวน 3,200 SKUs แบ่งเป็ นสิ นค้าประเภทอาหารประมาณ 90%
รวมถึงอาหารสด และ10% เป็ นรายการสิ นค้าที่ไม่ใช่อาหาร

                                                                          ่
ร้ านสุ ขภาพและความงาม: เพรี ยว เป็ นร้านสุ ขภาพและความงาม ปั จจุบนตั้งอยูภายในไฮเปอร์ มาร์ เก็ตบิ๊กซี
                                                                  ั
และบิ๊กซี มาร์ เก็ต สิ นค้าที่จดจาหน่ายเป็ นผลิตภัณฑ์ที่เสริ ม หรื อเพิ่มเติมแก่ร้านดังกล่าว ปั จจุบนผลิตภัณฑ์ท่ี
                               ั                                                                    ั
      ่
ขายอยูในเพียวมีจานวน 1,700 SKUs ซึ งโดยส่ วนใหญ่ประกอบด้วยสิ นค้าประเภทยาและเครื่ องสาอาง

รู ปแบบอืนๆ: บิ๊กซี มุ่งหารู ปแบบการบริ การใหม่ๆเพื่อให้บริ การลูกค้าและการพัฒนารู ปแบบร้านค้าของเรา
         ่
เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลา




ธุรกิจให้ เช่ าสถานที่
ศูนย์การค้าของเราซึ่ งอยูคู่กบไฮเปอร์ มาร์ เก็ต หรื อบิ๊กซี มาร์ เก็ต เป็ นศูนย์รวมการจับจ่ายใช้สอยที่ครบวงจร
                         ่ ั
พร้อมสรรด้วยร้านค้าเช่าที่มีการคัดเลือกผูเ้ ช่าด้วยผูชานาญอย่างรอบคอบ เพื่อให้แน่ใจว่าลูกค้าของเราจะ
                                                     ้
ได้รับการบริ การทั้งหมดที่ตองการ ภายใต้หลังคาเดียว บริ การที่ศูนย์การค้าของเราได้สรรหาไว้ สามารถแบ่ง
                           ้
ออกเป็ นสี่ ประเภทเหล่านี้:

อาหารและเครื่องดื่ม: ร้านอาหารซึ่งประกอบด้วย ร้านอาหารแฟรนไชส์ และร้านอาหารในศูนย์อาหาร

บันเทิง: โรงภาพยนตร์ คาราโอเกะ และสวนสนุกสาหรับเด็ก

ร้ านค้ าพิเศษ: ร้านหนังสื อ ร้านเสื้ อผ้าแฟชัน ร้านค้าอิเล็กทรอนิกส์ ร้านโทรศัพท์มือถือ
                                              ่                                                               และ
ร้านขายยา

บริการ: ธนาคาร ร้านซักแห้ง และร้านทาผม                                                                            การ
                                                      ่ ั
แบ่งแยกประเภทพื้นที่ให้เช่า แบ่งเป็ นห้าประเภท ขึ้นอยูกบระยะเวลาการเช่าและประเภทของธุ รกิจของ
ร้านค้าเช่า

กลุ่มร้ านค้ าพาณิชย์: กลุ่มผูเ้ ช่าเหล่านี้ ช่วยยกระดับภาพลักษณ์ของศูนย์การค้าของเราให้เป็ นที่รู้จกมากขึ้น
                                                                                                    ั
เนื่องจากชื่อเสี ยงของร้านเหล่านี้เป็ นที่รู้จกโดยทัวไป เงื่อนไขการเช่าของร้านเหล่านี้มกจะมีระยะเวลาการ
                                              ั     ่                                  ั
เช่าปานกลาง โดยส่ วนใหญ่จะเป็ นร้านที่มีเครื อข่ายของเชนขนาดใหญ่ เช่น ร้านอาหาร ธนาคาร ฯลฯ

ผู้เช่ าพืนทีรายใหญ่ ที่เช่ าพืนที่ติดกับศูนย์ การค้ า: นอกเหนื อจากห้างไฮเปอร์ มาร์ เก็ตหรื อ บิ๊กซี มาร์ เก็ตจะ เป็ น
          ้ ่                  ้
ส่ วนหนึ่งของศูนย์การค้า แล้วยังมีกลุ่มผูเ้ ช่าพื้นที่รายใหญ่ ซึ่ งอยูติดกับศุนย์การค้า โดยทาสัญญาเช่าระยะยาว
                                                                      ่
กับเรา และมีส่วนช่วยให้การจับจ่ายใช้สอยของลูกค้า มีความสะดวกสบายมากขึ้น อาทิเช่น โฮมโปร (DIY),
โรงภาพยนตร์ , ร้านค้าไอที, พาวเวอร์บาย (อิเล็กทรอนิกส์) เป็ นต้น

อาหารและเครื่องดื่ม: ศูนย์อาหารนาเสนอความหลากหลายของอาหารในราคาที่ประหยัด โดยร้านอาหาร
เหล่านี้ มีระยะเวลาการเช่าหนึ่งปี

บิ๊กบาซ่ า: ศุนย์รวมร้านค้าขนาดเล็กจานวนมากที่ขายสิ นค้าต่างๆรวมถึงร้านค้าสิ นค้าแฟชัน, ร้าน
                                                                                     ่
เครื่ องประดับ, ร้านโทรศัพท์มือถือ ฯลฯ โดยมีระยะเวลาการเช่าป็ นเวลาหนึ่งปี

                                               ่
ร้ านค้ าคีออส: ร้านค้าเช่าขนาดเล็กซึ่ งตั้งอยูในบริ เวณทางเดิน โดยเป็ นลักษณะสัญญาเช่าเป็ นระยะสั้นๆ เช่น
1เดือน โดยการจ่ายชาระค่าเช่าล่วงหน้า
ธุรกิจทาวน์ เซ็นเตอร์

ทาวเซ็นเตอร์ หรื อบริ การให้เช่าพื้นที่ท้ งภายในและภายนอกอาคารของห้างบิ๊กซี แก่ผประกอบการเพื่อเข้ามา
                                          ั                                     ู้
ทาธุ รกิจในบิ๊กซี ทั้งนี้จะต้องเป็ นสิ นค้าและบริ การที่แตกต่างจากสิ นค้าที่จาหน่ายในบิ๊กซี เพื่อให้ลูกค้าบิ๊กซี
ได้พบกับความหลากหลายในการให้บริ การ และยังเป็ นการสร้างทางเลือกในการซื้ อสิ นค้าและบริ การที่ครบ
วงจรยิงขึ้น
      ่

ทั้งนี้ ผูประกอบการที่เข้ามาเช่าพื้นที่ในบิ๊กซี ส่วนใหญ่แบ่งออกเป็ น 4 กลุ่มหลัก ดังนี้
          ้

อาหารและเครื่องดื่ม ได้แก่ ร้านอาหาร ร้านอาหารแฟรนไชส์ ศูนย์อาหาร
บันเทิง ได้แก่ โรงภาพยนตร์ คาราโอเกะ และลานเล่นสาหรับเด็ก
ร้ านเฉพาะอย่าง ได้แก่ ร้านหนังสื อ ร้านเสื้ อผ้า ร้านจาหน่ายเครื่ องใช้ไฟฟ้ า ร้านจาหน่ายโทรศัพท์มือถือ
ร้านขายยา

บริการ ได้แก่ ธนาคาร ร้านซักแห้ง ร้านเสริ มสวย ร้านเปลี่ยนอะไหล่รถยนต์

แผนการพัฒนารู ปแบบร้ านและขนาดของบิ๊กซี

เราต้องการที่จะเป็ นส่ วนหนึ่งของการให้บริ การในทุกรู ปแบบและขนาดของร้านค้าปลีกที่ทนสมัย เรามีแผน
                                                                                   ั
ที่จะขยายและพัฒนารู ปแบบของร้านขนาดใหญ่ไฮเปอร์ มาร์ เก็ต จนถึงร้านค้าในชุมชนซึ่ งมีความใกล้ชิดกับ
กลุ่มลูกค้ามากกว่า

การให้ ความสาคัญแก่ ลูกค้ า
การมุ่งเน้นความต้องการของลูกค้าเป็ นเจตนารมณ์ของเรา ภายใต้สโลแกน "เราให้คุณมากกว่าคาว่าถูก” โดย
มีหลักสาคัญ 5อย่าง




ผู้นาด้ านราคา: เราเป็ นที่ยอมรับตั้งแต่เริ่ มดาเนินธุ รกิจในเรื่ องการเป็ นผูนาด้านราคา โดยเรามุ่งมันที่จะรักษา
                                                                              ้                      ่
                                                                                   ่
ความเป็ นผูนาในด้าน ราคา ผ่านโปรแกรมหลากหลาย เช่น การตรวจสอบราคา ซึ่ งรับประกันได้วา
           ้
ผลิตภัณฑ์ของเราจะมีราคาถูกกว่าคู่แข่งในตลาด หรื ออย่างน้อยเท่ากับคู่แข่ง

สิ นค้ ามีครบสรร: เรามีสินค้านาเสนอ100,000 SKUsให้ลูกค้าได้เลือกสรร ตั้งแต่สินค้าราคาถูกที่สุดจนถึง
ระดับพรี เมี่ยม เรามุ่งมันพัฒนาสิ นค้าตราบิ๊กซี อย่างต่อเนื่ อง เพื่อให้ตรงกับความต้องการที่เปลี่ยนแปลงของ
                         ่
ลูกค้าและเราได้เปิ ดตัวสิ นค้านาเข้าระดับพรี เมี่ยม ตราคาสิ โน โดยมีการจัดจาหน่ายในสาขาของบิ๊กซี เอ็กตร้า

คุณภาพสิ นค้ าและบริการ: นอกจากราคาที่ประหยัดสุ ดแล้ว เรายังมุ่งเน้นคุณภาพของสิ นค้าซึ่ งเป็ นสิ่ งสาคัญ
มาก เรามุ่งมันที่จะนาเสนอผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีให้กบลูกค้า ภายใต้ความร่ วมมือของทีมงานที่มี
             ่                                     ั
                                            ั
ประสบการณ์ นอกจากนี้เรายังสร้างความมันใจให้กบลูกค้า โดยนาเสนอโปรแกรมการรับคืนสิ นค้าอาหาร
                                     ่
สด หากคุณภาพของสิ นค้าไม่ตรงกับความคาดหวังของลูกค้า

บริการเสริม: บิ๊กซี มุ่งมันพัฒนาบริ การเสริ มอื่นๆ ให้แก่ลูกค้า เช่น ช้อปปิ้ งออนไลน์ที่อานวยความสะดวก
                          ่
    ั
ให้กบลูกค้าในการสั่งซื้ อผ่านระบบออนไลน์ และลูกค้าสามารถรับสิ นค้าด้วยตัวเอง หรื อขอให้จดส่ งสิ นค้า
                                                                                        ั
    ั
ให้กบลูกค้าโดยตรง

ส่ งเสริมความความสั มพันธ์ : ความสัมพันธ์อนดีระหว่างเรากับลูกค้า เป็ นสิ่ งที่เราให้ความสาคัญมาก เรามี
                                          ั
การพัฒนา บัตรบิ๊กการ์ ด บัตรสมาชิกที่ลูกค้าสามารถมีส่วนร่ วม เพลิดเพลิน สนุกสนานไปกับคูปองส่ วนลด
เงินสดและส่ วนลดสิ นค้าราคาสมาชิกในแต่ละสัปดาห์ ปั จจุบนเรามีสมาชิกมากกว่าหกล้านสมาชิกและยังคง
                                                       ั
เพิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่ งส่ งผลให้สัดส่ วนยอดขายจากสมาชิกเพิมขึ้นจาก 25% ในปี พ.ศ.2552 เป็ นมากกว่า
   ่                                                           ่
65% ในปั จจุบน ปริ มาณการซื้ อสิ นค้าของสมาชิกในแต่ละครั้งนั้นสู งกว่าเกือบสองเท่าตัว
             ั
เมื่อเทียบกับลูกค้าทัวไป
                     ่

การวิเคราะห์ ตลาด (Market Analysis)

ส่ วนแบ่ งตลาด (Market share)

ซุ ปเปอร์ มาร์ เก็ตยักษ์ใหญ่ ลงนามซื้ อกิจการคาร์ ฟูร์ในประเทศไทยมูลค่า 868 ล้านยูโร หรื อประมาณ 35,500
ล้านบาท สถานการณ์การแข่งขันในธุ รกิจค้าปลีกรุ นแรงขึ้น เพราะผูประกอบการในตลาดลดลง และทา
                                                              ้
ให้บิ๊กซี มีความแข็งแกร่ งมากขึ้น กรุ งเทพฯ รายงานข่าวจากคาสิ โน กรุ๊ ป ผูดาเนินธุ รกิจค้าปลีกจากประเทศ
                                                                          ้
              ้ ้               ั                                                                       ่
ฝรั่งเศส และผูถือหุ นใหญ่ในบริ ษท บิ๊กซี ซูเปอร์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) แจ้งว่า เมื่อวันที่ 15 พ.ย.ที่ผานมา
ทางคาสิ โน กรุ๊ ป ได้ลงนามในสัญญากับบริ ษท บิ๊กซี ซูเปอร์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) เพื่อขายกิจการคาร์ ฟูร์
                                         ั
ในประเทศไทยมูลค่า 868 ล้านยูโร หรื อประมาณ 35,500 ล้านบาท คิดเป็ น 120% ของยอดขายสุ ทธิและเป็ น
13.0x EBITDA ซึ่ งการทาธุ รกรรมครั้งนี้คาดว่าจะเสร็ จสมบูรณ์และทางบิ๊กซี จะเข้ามาบริ หารกิจการของคาร์
ฟูร์ได้ช่วงสัปดาห์แรกในเดือนม.ค.54

ทั้งนี้ คาสิ โน กรุ๊ ป ได้ซ้ื อกิจการคาร์ ฟูร์เฉพาะในประเทศไทย และภายหลังการเข้ามาบริ หารแล้วจะทาให้มี
สาขาไฮเปอร์ มาร์ เก็ตในเครื อจานวน 101 แห่ง แบ่งเป็ นสาขาไฮเปอร์ มาร์ เก็ตบิ๊กซี 69 สาขา และคาร์ฟูร์ 42
สาขา ทาให้มีจานวนสาขามากกว่าเทสโก้ โลตัส ที่มี 87 แห่ง และกลายเป็ นผูนาธุ รกิจค้าปลีกแบบไฮเปอร์
                                                                     ้
                                         ่
มาร์ เก็ต ส่ วนชื่ อธุ รกิจจะใช้ชื่อใดอยูระหว่างพิจารณา รวมทั้งบุคลากรที่มีประมาณ 7,000 คนจะโอนย้าย
อย่างไร

          เงินลงทุนซื้ อกิจการจะมาจากเงินทุนหมุนเวียนภายในของบิ๊กซี และการขอสิ นเชื่อจากธนาคาร คาด
ว่าจะส่ งผลต่อผลประกอบการบิ๊กซี ต้ งแต่ปีหน้า และเมื่อธุ รกิจค้าปลีกไฮเปอร์ มาร์ เก็ตคาดว่าจะมีรายได้
                                   ั
รวมถึง 100,000 ล้านบาทในปี นี้ โดยจะนาเสนอเรื่ องการเข้าซื้ อกิจการเพื่อขออนุมติจากผูถือหุ นบิ๊กซี ในการ
                                                                              ั      ้ ้
ประชุมวิสามัญผูถือหุ ้นในวันที่ 5 ม.ค.54 คาดว่าจะดาเนิ นการซื้ อกิจการแล้วเสร็ จภายในต้นปี ซึ่ งผลรับจาก
               ้
การควบรวมจนถึงวันที่คาดว่าจะแล้วเสร็ จภายในปี คิดเป็ นมูลค่าประมาณ 1.2%
ั
ผลดีในแง่การแข่งขันค้าปลีกรายใหญ่กบเทสโก้ โลตัส โดยไม่ขดกฎหมายแข่งขันทางการค้า เพราะส่ วน
                                                       ั
แบ่งการตลาด (มาร์ เก็ตแชร์ ) ของบิ๊กซี และคาร์ ฟูร์รวมกันเพิมขึ้นเป็ น 33% ไม่ถึง 50% เทียบกับเทสโก้มี
                                                            ่
41% ยังถือว่าเป็ นไปภายใต้กฎหมายแข่งขันทางการค้า พ.ศ.2542 ที่กาหนดให้ผที่มีอานาจเหนื อตลาดมีส่วน
                                                                      ู้
แบ่งการตลาดไม่ต่ากว่า 50% หรื อรวมกัน 2 และ 3 ราย มีมาร์ เก็ตแชร์ 75% ซึ่งกระทรวงพาณิ ชย์จะดูแลเรื่ อง
ความเป็ นธรรมทางการค้าใกล้ชิด หากนามาร์ เก็ตแชร์ ของโมเดิร์นเทรดรายใหญ่ คือ เทสโก้ บิ๊กซี ที่รวมกับ
คาร์ ฟูร์ แล้วรวมกับแม็คโครที่มีมาร์ เก็ตแชร์ 24% จะทาให้เกิน 75% กระทรวงพาณิ ชย์สามารถเข้าไปดูแล
เพื่อไม่ให้มีการใช้อานาจเหนื อตลาด

มูลค่ าตลาด (Market size)

ซูเปอร์ เซ็นเตอร์ ท่ีมียอดขายเกือบ 5 หมื่นล้านบาทต่อปี และมีเฮ้าส์แบรนด์ของตัวเองชื่อ “Leader Price” ที่
ขายถูกกว่าสิ นค้ายีหออื่น 15-20% ภายใต้ช่องทางจาหน่ายของตัวเองรวม 36 สาขา และการเปิ ดสาขาราชดาริ
                   ่ ้
ซึ่งกลายเป็ น Flagship ทาให้ภาพของบิ๊กซี กลายเป็ นซูเปอร์ เซ็นเตอร์ ที่ทนสมัยใกล้เคียงห้างสรรพสิ นค้าไป
                                                                        ั
ทันที

ราคาหุน ณ เวลาปัจจุบน
      ้             ั
ณ เวลาทาการซื้ อขายของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

         ชื่อย่อหุ น:
                   ้                     BIGC

         สกุลเงิน:                       THB

         ราคาล่าสุ ด:                    118.50

         ปริ มาณซื้ อขาย (หุ ้น):        859,300

         เปลี่ยนแปลง                        -1.50

         % เปลี่ยนแปลง                      -1.25%

         ราคาเสนอซื้ อ / ปริ มาณ         118.5 / 17,000
         (หุน):
            ้

         ราคาเสนอขาย / ปริ มาณ           119 / 10,400
(หุน):
             ้

          วันก่อนหน้า:                     120.00

          ราคาเปิ ด:                       119.50

          ช่วงราคาระหว่างวัน:              118.00 - 121.50

          ช่วงราคาใน 52 สัปดาห์:           74.00 - 136.00

ปรับปรุ งเมื่อ: 10 กุมภาพันธ์ 2555 17:09

Intraday Chart




คู่แข่งขัน (Competitors)

คู่แข่งสาคัญของบิ๊กซี คือ เทสโก้โลตัส และคาร์ ฟูร์ ขณะที่แม็คโครเป็ นคู่แข่งทางอ้อม มีการแข่งขันเพิ่มขึ้น
ในช่วงปี 2552 โดยมุ่งเน้นอย่างต่อเนื่องในเรื่ องการขยายธุ รกิจสู่ ต่างจังหวัดและการส่ งเสริ มการขายด้วยเรื่ อง
ของราคา สถานการณ์ในเชิงแข่งขันยังมีจุดเด่นอยูที่การมุ่งเน้นการขยายรู ปแบบการค้าปลีกมากยิงขึ้นโดย
                                             ่                                          ่
คู่แข่งสาคัญทุกราย เพื่อที่จะพุงเป้ าหมายไปยังทาเลที่ต้ งที่มีความพิเศษหรื อส่ วนของผูบริ โภค
                               ่                        ั                             ้
จากกราฟแสดงว่าปลายปี 2552 บิ๊กซี มีจานวนสาขาทั้งสิ้ น 67 สาขา โดยเป็ นสาขาเปิ ดใหม่ระหว่างปี 2552
1สาขา เทสโก้โลตัสมีสาขาทั้งหมด 114 สาขา(รวมร้านคุมค่า) โดยเป็ นสาขาใหม่ 5 สาขา
                                                 ้
6 W 1H

Who: เจาะกลุ่มลูกค้าแม่บานเพราะกลุ่มแม่บานเป็ นกลุ่มที่ตดสิ นใจเด็ดขาด
                        ้               ้               ั

                                                  ั
What: เน้นความสะดวกสบายในการบริ การที่ดีที่สุดให้กบลูกค้าเน้นสิ นค้าอุปโภคบริ โภคที่มีคุณภาพและ
ราคาประหยัด

When: ทุกช่วงที่มีโอกาสและในเทศกาลวันหยุด

Why: เน้นในเรื่ องความสะดวกสบายเร็ วทันใจและตอบสนองความต้องการในด้านการบริ โภคมากที่สุด

Where:ตามห้าง บิ๊กจัมโบ้ 1 สาขา บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า15บิ๊กซี 92 รวม 108 สาขาโดยแบ่งไปตมพื้นที่แต่ละ
จังหวัดแยกในกรุ งเทพและปริ มณฑล 48 สาขา และในต่างจังหวัดอีก 60 สาขา

Who: ผูมีอิทธิ พลในการซื้ อส่ วนใหญ่เพราะแม่บานเป็ นกลุ่มที่ตดสิ นใจอย่างเด็ดขาดและเป็ นผูมีอิทธิ พลใน
       ้                                     ้               ั                            ้
การซื่อสิ นค้าบริ โภคมากที่สุด

How: เป็ นการตัดสิ นใจที่ต่างกัน เพราะรสนิยมไม่เหมือนกันหรื อถ้ามีของแจกแถมหรื อลดโปรโมชันอาจจะ
                                                                                         ่
ตัดสิ นใจรวมกัน

STP (การแบ่ งส่ วนตลาด,การกาหนดเปาหมาย,การวางตาแหน่ งผลิตภัณฑ์ )
                                 ้

Segmentation (การแบ่ งส่ วนตลาด)

- ด้ านภูมิศาสตร์ (Geographic) ภาคเหนือ , ภาคกลาง , ภาคใต้ ภาคตะวันออก , ภาคตะวันตก เป็ นต้น

- ด้ านประชากรศาสตร์ (Demographic) ชาย , หญิง ต่ากว่า 6 ขวบ , 6-11 , 12-19 ,20-34 35-49 , 50-64 ปี 65
ปี ขึ้นไป 1-3 คน , 4-6 คน , 7-9 คน โสด , แต่งงานแล้ว

                                                                                 ่
- ด้ านจิตวิทยา(Psychographic) ชนชั้นสู ง ชนชั้นกลาง ชนชั้นต่า เป็ นระเบียบ , อยูอย่างง่ายๆ , สงบเสงี่ยม

- ด้ านพฤติกรรมศาสตร์ (Behavior Toward Product) ซื้ อเป็ นประจา , ซื้ อเพื่อเป็ นของขวัญ ซื้ อในกรณี
พิเศษ ประหยัด , สะดวก , หรู หรา ไม่เคยใช้ , ใช้ปานกลาง , ใช้เป็ นประจา ใช้จานวนน้อย , ใช้ปานกลาง ,
ใช้จานวนมาก ไม่ภกดี , ปานกลาง ,มากแลตลอดไป ไม่รู้จก , รู้จก ,หาข้อมูล ,สนใจ ,อยากได้ ตั้งใจซื้ อ
                ั                                 ั       ั
สนใจ , เชิงบวก , เชิงลบ ,เกลียด , ไม่แตกต่าง
Target market (การกาหนดตลาดเปาหมาย)
                             ้

กลุ่มเป้ าหมายหลักคือ กลุ่มคนที่ชอบความสะดวกสบายด้านสิ นค้าอุปโภคและบริ โภค เช่น
สิ นค้าที่เป็ น อาหารสด หรื อ อาหารสด,อาหารแห้ง,เสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย,เครื่ องใช้ไฟฟ้ า,อุปกรณ์และ
เครื่ องใช้ภายในบ้าน เป็ นต้น




Positioning map (การวางตาแหน่ งผลิตภัณฑ์ )

บริการดี




ราคาประหยัด
ราคาปานกลาง




บริการปานกลาง



                            วิเคราะห์ 4 P ‘ S
ผลิตภัณฑ์ ( Product )

         อาหารสด: จาหน่ายเนื้ อสัตว์ อาหารทะเล ผลไม้ ผักสด อาหารทั้งแบบพร้อมปรุ งและพร้อม
รับประทาน อาหารแช่แข็ง ผลิตภัณฑ์นม เบเกอรี่ และเครื่ องเทศต่างๆ

อาหารแห้ ง: จาหน่ายเครื่ องปรุ งอาหาร เครื่ องดื่ม น้ าอัดลม สุ รา ขนมขบเคี้ยว ผลิตภัณฑ์ของใช้ส่วนตัว
ผลิตภัณฑ์ทาความสะอาด อาหารสัตว์ และอุปกรณ์สัตว์เลี้ยง

เสื้อผ้าและเครื่องแต่ งกาย: จาหน่ายเสื้ อผ้าและเครื่ องตกแต่งสาหรับบุรุษ สตรี เด็ก และทารก รวมถึงรองเท้า
และกระเป๋ าด้วย

เครื่องใช้ ไฟฟา: จาหน่ายอุปกรณ์เครื่ องใช้ไฟฟ้ าภายในบ้านหลากชนิด เครื่ องใช้ไฟฟ้ าสาหรับงานครัว เครื่ อง
              ้
เสี ยง เทป ซีดี เครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สาหรับคอมพิวเตอร์

อุปกรณ์ และเครื่องใช้ ภายในบ้ าน: จาหน่ายเฟอร์ นิเจอร์ เครื่ องครัว เครื่ องใช้พลาสติก ของตกแต่งบ้าน เครื่ อง
นอน อุปกรณ์ซ่อมแซมและบารุ งรักษาบ้าน อุปกรณ์ประดับยนต์ อุปกรณ์กีฬา และของเล่นต่างๆ




    ราคา (Price)                                                                                      ราคา
ขายถูกกว่าสิ นค้ายีหออื่น 15-20 %
                   ่ ้

    ช่ องงทางจัดจาหน่ าย (Place)

- บิ๊กซี ซูเปอร์ เซ็นเตอร์

- บิ๊กซี มาร์ เก็ต

- บิ๊กซี จัมโบ้

-     บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า

    การส่ งเสริมการตลาด (Promotin)
- การโฆษณา(Advertising) เช่น โฆษณาผ่านทางทีวี,วิทยุ,ใบปลิว,หนังสื อพิมพ์

- การตลาดทางตรง (Direct Marketing) เช่น จดหมาย โทรศัพท์

- การส่ งเสริมการขาย (Sale Promotion) เช่น บิ๊กการ์ ด ลด แลก แจก แถม

- การส่ งเสริมการตลาด ณ จุดขาย P.O.P. (Point-Of-Purchase) เช่น การติดป้ ายโฆษณาตรงชั้นวาง
        สิ นค้า

- Online Marketing เช่น การทาผ่านโฆษณา Website การส่ ง SMS

สรุ ป

บริ ษท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) (ชื่อย่อ BIG C) เป็ นผูประกอบการค้าปลีกสิ นค้า
     ั                                                              ้
เพื่อผูบริ โภคชั้นนาแห่งหนึ่งของประเทศไทย ภายใต้ชื่อ บิ๊กซี ซูเปอร์ มาร์ เก็ต บริ ษทจาหน่ายสิ นค้าคุณภาพ
       ้                                                                           ั
ดีราคาถูกหลากหลายประเภทในร้านค้าปลีกสมัยใหม่ในการดาเนิ นธุ รกิจภายใต้สโลแกน “เราให้คุณ
มากกว่าคาว่าราคาถูก” บิ๊กซี มุ่งมันที่จะมอบคุณค่าสู งสุ ดแก่ลูกค้าผ่านราคาที่ถูก สิ นค้าและบริ การที่มีให้
                                  ่
เลือกสรรมากมาย บรรยากาศที่มีความสะอาดและเอื้ออานวยความสะดวกในการเลือกซื้ อสิ นค้า ตลอดจน
บริ การที่โดดเด่น มีพนักงานกว่า 16,000 คน หลักการสาคัญประการหนึ่งของบริ ษทคือการเป็ นองค์กรธุ รกิจ
                                                                         ั
ที่เป็ นพลเมืองดีของประเทศ ซึ่ งสร้างคุณประโยชน์แก่สังคม ในขณะเดียวกันก็มอบคุณประโยชน์ต่างๆ แก่
ลูกค้า พนักงาน และผูถือหุ น เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายนี้ บิ๊กซี จึงสนับสนุนกิจกรรมการกุศลและกิจกรรมเพื่อ
                    ้ ้
ชุมชนที่จดขึ้นในพื้นที่ท่ีดาเนิ นธุ รกิจและได้ดาเนินการผ่านมูลนิธิบิ๊กซี
         ั



บทวิเคราะห์

การควบรวมกิจการของบิ๊กซี และคาร์ ฟูร์ในครั้งนี้ จะทาให้สถานการณ์การแข่งขันในธุ รกิจค้าปลีกรุ นแรงขึ้น
เพราะผูประกอบการในตลาดลดลง และทาให้บิ๊กซี มีความแข็งแกร่ งมากขึ้น เพราะจะกลายเป็ นกลุ่มค้าปลีกที่
       ้
มีขนาดใหญ่ข้ ึนใกล้เคียงกับเบอร์ หนึ่งในตลาด
อ้างอิง

http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=3141

^http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1316654751&grpid=00&catid=&subcatid=

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่kasocute
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourismการท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourismChaloempond Chantong
 
ปตท จำกัด(มหาชน)
ปตท จำกัด(มหาชน)ปตท จำกัด(มหาชน)
ปตท จำกัด(มหาชน)Love Plukkie Zaa
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)พัน พัน
 
การจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุล
การจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management  by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุลการจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management  by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุล
การจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุลUtai Sukviwatsirikul
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจCherie Pink
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ThailandPost Presentation
ThailandPost PresentationThailandPost Presentation
ThailandPost Presentationsuperkaew
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ ไชยสิทธิ์)
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ  ไชยสิทธิ์)ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ  ไชยสิทธิ์)
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ ไชยสิทธิ์)Tum Aditap
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)Nattakorn Sunkdon
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)Love Plukkie Zaa
 

La actualidad más candente (20)

บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourismการท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
 
ปตท จำกัด(มหาชน)
ปตท จำกัด(มหาชน)ปตท จำกัด(มหาชน)
ปตท จำกัด(มหาชน)
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
การจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุล
การจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management  by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุลการจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management  by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุล
การจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุล
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
 
ThailandPost Presentation
ThailandPost PresentationThailandPost Presentation
ThailandPost Presentation
 
ประเทศมาเลเซีย
ประเทศมาเลเซียประเทศมาเลเซีย
ประเทศมาเลเซีย
 
Case Study : Serksu Thailand
Case Study : Serksu ThailandCase Study : Serksu Thailand
Case Study : Serksu Thailand
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrixการวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
 
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ ไชยสิทธิ์)
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ  ไชยสิทธิ์)ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ  ไชยสิทธิ์)
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ ไชยสิทธิ์)
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
 
เรื่องวัฒนธรรมกับภาษา ม. 5
เรื่องวัฒนธรรมกับภาษา  ม. 5เรื่องวัฒนธรรมกับภาษา  ม. 5
เรื่องวัฒนธรรมกับภาษา ม. 5
 

Destacado

บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด มหาชน
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด มหาชนบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด มหาชน
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด มหาชนSutasinee Phu-on
 
สงครามแย่งชิงลูกค้าคาร์ฟูร์ ระหว่าง บิ๊กซี Vs เทสโก้
สงครามแย่งชิงลูกค้าคาร์ฟูร์ ระหว่าง บิ๊กซี Vs เทสโก้สงครามแย่งชิงลูกค้าคาร์ฟูร์ ระหว่าง บิ๊กซี Vs เทสโก้
สงครามแย่งชิงลูกค้าคาร์ฟูร์ ระหว่าง บิ๊กซี Vs เทสโก้JOE SMILE Smile
 
Big C business strategies
Big C business strategiesBig C business strategies
Big C business strategiesMy Pham
 
รายงาน บริษัท เเกรมมี่ วิชา O m
รายงาน บริษัท เเกรมมี่ วิชา O m รายงาน บริษัท เเกรมมี่ วิชา O m
รายงาน บริษัท เเกรมมี่ วิชา O m Palm SinCere
 
ปรับปรุงร้านค้าปลีกเพื่อการพัฒนา
ปรับปรุงร้านค้าปลีกเพื่อการพัฒนาปรับปรุงร้านค้าปลีกเพื่อการพัฒนา
ปรับปรุงร้านค้าปลีกเพื่อการพัฒนาUtai Sukviwatsirikul
 
เกม 4 ตัวเลือก
เกม 4 ตัวเลือกเกม 4 ตัวเลือก
เกม 4 ตัวเลือกlalitaaung138
 
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Editโครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล EditSiratcha Wongkom
 
บทที่ 11 การส่งเสริมการขาย (2)
บทที่ 11 การส่งเสริมการขาย (2)บทที่ 11 การส่งเสริมการขาย (2)
บทที่ 11 การส่งเสริมการขาย (2)Ladda Tansri
 
การจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียนการจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียนSuradet Sriangkoon
 
หลักการตลาด 2
หลักการตลาด 2หลักการตลาด 2
หลักการตลาด 2TANPITCHA POMSATIEN
 
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing PlanTOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plansiriporn pongvinyoo
 
การบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียนการบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียนSuradet Sriangkoon
 
วิเคราะห์ Swot บริษัท apple
วิเคราะห์ Swot บริษัท appleวิเคราะห์ Swot บริษัท apple
วิเคราะห์ Swot บริษัท appleNusantara Yala
 
2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยวchickyshare
 
นำเสนอ บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัด
นำเสนอ บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัดนำเสนอ บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัด
นำเสนอ บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัดDrDanai Thienphut
 
Strategic Marketing Management : MK Restaurant
Strategic Marketing Management : MK RestaurantStrategic Marketing Management : MK Restaurant
Strategic Marketing Management : MK RestaurantSorawit Yuenyongvithayakul
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟNattakorn Sunkdon
 

Destacado (20)

บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด มหาชน
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด มหาชนบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด มหาชน
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด มหาชน
 
สงครามแย่งชิงลูกค้าคาร์ฟูร์ ระหว่าง บิ๊กซี Vs เทสโก้
สงครามแย่งชิงลูกค้าคาร์ฟูร์ ระหว่าง บิ๊กซี Vs เทสโก้สงครามแย่งชิงลูกค้าคาร์ฟูร์ ระหว่าง บิ๊กซี Vs เทสโก้
สงครามแย่งชิงลูกค้าคาร์ฟูร์ ระหว่าง บิ๊กซี Vs เทสโก้
 
Big C business strategies
Big C business strategiesBig C business strategies
Big C business strategies
 
รายงาน บริษัท เเกรมมี่ วิชา O m
รายงาน บริษัท เเกรมมี่ วิชา O m รายงาน บริษัท เเกรมมี่ วิชา O m
รายงาน บริษัท เเกรมมี่ วิชา O m
 
ปรับปรุงร้านค้าปลีกเพื่อการพัฒนา
ปรับปรุงร้านค้าปลีกเพื่อการพัฒนาปรับปรุงร้านค้าปลีกเพื่อการพัฒนา
ปรับปรุงร้านค้าปลีกเพื่อการพัฒนา
 
เกม 4 ตัวเลือก
เกม 4 ตัวเลือกเกม 4 ตัวเลือก
เกม 4 ตัวเลือก
 
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Editโครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
 
บทที่ 11 การส่งเสริมการขาย (2)
บทที่ 11 การส่งเสริมการขาย (2)บทที่ 11 การส่งเสริมการขาย (2)
บทที่ 11 การส่งเสริมการขาย (2)
 
การจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียนการจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียน
 
Starbucks franchise
Starbucks franchiseStarbucks franchise
Starbucks franchise
 
หลักการตลาด 2
หลักการตลาด 2หลักการตลาด 2
หลักการตลาด 2
 
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing PlanTOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
 
การบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียนการบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียน
 
วิเคราะห์ Swot บริษัท apple
วิเคราะห์ Swot บริษัท appleวิเคราะห์ Swot บริษัท apple
วิเคราะห์ Swot บริษัท apple
 
2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว
 
Se Ed Book Slide
Se Ed Book SlideSe Ed Book Slide
Se Ed Book Slide
 
SME marketing 4.0 oweera
SME marketing 4.0 oweeraSME marketing 4.0 oweera
SME marketing 4.0 oweera
 
นำเสนอ บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัด
นำเสนอ บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัดนำเสนอ บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัด
นำเสนอ บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัด
 
Strategic Marketing Management : MK Restaurant
Strategic Marketing Management : MK RestaurantStrategic Marketing Management : MK Restaurant
Strategic Marketing Management : MK Restaurant
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
 

Similar a บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์

สุขภาพและความงาม
สุขภาพและความงามสุขภาพและความงาม
สุขภาพและความงามหมา หลิว
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Albert Sigum
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาDMS Library
 
นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตjd18122505
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาjuriporn chuchanakij
 
Technology seeker, innovation conscious (1)
Technology seeker, innovation conscious (1)Technology seeker, innovation conscious (1)
Technology seeker, innovation conscious (1)แม่หมู dmsu
 
Participatory action research
Participatory action researchParticipatory action research
Participatory action researchUltraman Taro
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทยsiriwan
 
อาหารสุขภาพ 4
อาหารสุขภาพ 4อาหารสุขภาพ 4
อาหารสุขภาพ 4Utai Sukviwatsirikul
 
Mk212powerpoint
Mk212powerpointMk212powerpoint
Mk212powerpointthanaporn
 
การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1Sarawut Messi Single
 

Similar a บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ (20)

Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
รายงาน กลุม 1
รายงาน กลุม 1รายงาน กลุม 1
รายงาน กลุม 1
 
Group2
Group2Group2
Group2
 
Group2
Group2Group2
Group2
 
Group2
Group2Group2
Group2
 
Social network direct media
Social network direct mediaSocial network direct media
Social network direct media
 
สุขภาพและความงาม
สุขภาพและความงามสุขภาพและความงาม
สุขภาพและความงาม
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
 
นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขต
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
Technology seeker, innovation conscious (1)
Technology seeker, innovation conscious (1)Technology seeker, innovation conscious (1)
Technology seeker, innovation conscious (1)
 
Participatory action research
Participatory action researchParticipatory action research
Participatory action research
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทย
 
อาหารสุขภาพ 4
อาหารสุขภาพ 4อาหารสุขภาพ 4
อาหารสุขภาพ 4
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
Mk212powerpoint
Mk212powerpointMk212powerpoint
Mk212powerpoint
 
การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1
 

บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์

  • 1. รายงาน เรื่อง Need more convenience time conscious right now culture. เสนอ อาจารย์ วจนะ ภูผานี โดย นางสาวหทัยรัตน์ อาปัดชิง 54010911002 นางสาวสุ ธาสินี ภูอ่อน 54010911090 นางสาวกนกพร อาจวิชัย 54010911099 นางสาวศิริพร โชคบัณฑิต 54010911141 นางสาวกนกวรรณ ครองอารมณ์ 54010911159 MK 542 รายงานนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาพฤติกกรมผู้บริโภค (0902111) ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2554 คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • 2. คานา รายงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาพฤติกรรมผูบริ โภค จัดทาขึ้นเพื่อให้ผท่ีสนใจงานวิจยเกี่ยวกับ ้ ู้ ั พฤติกรรมผูบริ โภคเกี่ยวกับ Need more convenience time conscious right now culture ได้มาศึกษาค้นคว้า ้ หาความรู้ ทางคณะผูจดทาจึงได้สรุ ปงานวิจยเรื่ องพฤติกรรมการผูบริ โภคอาหารของนักศึกษามหาวิทยาลัย ้ั ั ้ ราชภัฎนครปฐม และหวังเป็ นอย่างยิงว่าผูที่มาศึกษาจะได้รับประโยชน์ ่ ้ คณะผูจดทา ้ั
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้ า ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก………………………………………………………………………….1 ประวัติบริ ษท……………….……………………………………………………………………………6 ั การวิเคราะห์ตลาด (Market Analysis)……………………………………………………………..….14 - ส่ วนแบ่งตลาด (Market share)….........…………………………………………………….14 - มูลค่าตลาด (Market size)………………………………………………………………….15 - คู่แข่งขัน (Competitors)……………………………………………………………..……16 - 6 W 1H……………………………………………………………………………………16 STP (การแบ่งส่ วนตลาด,การกาหนดเป้ าหมาย,การวางตาแหน่งผลิตภัณฑ์)………………………….17 - การแบ่งส่ วนตลาด……………………………………………………………………….17 - การกาหนดเป้ าหมาย……………………………………………………………………..17 - การวางตาแหน่งผลิตภัณฑ์……………………………………………………………….18 วิเคราะห์ 4 P ‘ S……………………………………………………………………………………….18 สรุ ป……………………………………………………………………………………………………20 บทวิเคราะห์ …………………………………………………………………………………………..20
  • 4. Need more convenience time conscious right now culture. ้ ิ ั มนุษย์ทุกคนต่างก็ตองการความสะดวกสบายในการดารงชีวต ที่สามารถเอื้ออานวยความสะดวกให้กบ ตนเองทั้งด้านเทคโนโลยีและสิ นค้าอุปโภคบริ โภค ทางกลุ่มของเราจึงได้จดทารายงานเรื่ องความ ั สะดวกสบายเกี่ยวกับสิ นค้าอุปโภคบริ โภค ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก วัฒนธรรม(culture)คือผลรวมเกิดจากการเรี ยนรู ้(Learned sum)ความเชื่อ(Beliefs)ค่านิยม(Values)ธรรมเนียม ปฏิบติ(Customs)ศิลปะ(Arts)คุณธรรม(Moral)กฎหมาย(Laws)ความสามารถ(Capabilities)อุปนิสัย ั (Habits)ซึ่ งกาหนดพฤติกรรมของสังคมในสังคมหนึ่งโดยคนในสังคมนั้นยอมรับและเผยแพร่ ต่อกันไปกลุ่ม อ้างอิง (Reference Group) หมายถึงบุคคลหนึ่งหรื อกลุ่มคนที่ผอื่นใช้เปรี ยบเทียบหรื อใช้เป็ นมาตรฐานใน ู้ การเกิดค่านิยม ทัศนคติ ชนิ ดทัวไปหรื อชนิดที่เฉพาะเจาะจงซึ่ งใช้เป็ นสิ่ งชี้นานาความประพฤติหรื อกลุ่มอ่าง ่ อิงหมายถึงบุคคลหรื อกลุ่มคนที่มีอิทธิ พลสาคัญๆต่อพฤติกรรมของบุคล วัฒนธรรมย่อย(Subculture) ใช้เรี ยกลักษณะของกลุ่มสังคมที่มีการยึดถือ บรรทัดฐานและการกาหนดคุณค่า ของสิ่ งรู ปธรรม และสิ่ งนามธรรมที่แตกต่างกันการพูดคุยในวัฒนธรรมย่อยเดียวกันจะพูดคุยเรื่ องเดียวกัน หรื อเรี ยกว่าภาษาเดียวกันโดยลักษณะหลักที่เห็นได้ชดของกลุ่มวัฒนธรรมคือความเชื่อและแนวคิดจะ ั แตกต่างกันตามกลุ่มวัฒนธรรม ผูบริ โภคชอบการจับจ่ายสิ นค้าที่สนุกสนานในราคาประหยัดท่ามกลางบรรยากาศการซื้ อสิ นค้าที่ ้ สะดวกสบาย ผูบริ โภคยังชอบบริ การที่หลากหลายและแตกต่าง และผูบริ โภคยังชอบเข้ามาใช้บริ การได้ ้ ้ สัมผัสประสบการณ์การซื้ อสิ นค้าแบบครบวงจร ณ จุดเดียว ลักษณะประชากรศาสตร์ หมายถึง ลักษณะทางสถิติที่สาคัญละสามารถวัดได้ของประชาชน เป็ นตัวแปรที่ สาคัญที่สุดในการแบ่งตลาด และหาได้ง่าย ตัวแปรประชากรศาสตร์ ที่สาคัญและนิยมนามาใช้การแบ่งส่ วน ตลาดมีดงนี้ อายุ เพศ สถานะภาพสมรส รายได้ อาชีพ และการศึกษา ข้อมูลเกี่ยวกับตัวแปรนี้หาได้ง่าย ั ในราคาไม่แพง จึงนิยมใช้ในการพิจารณาตาแหน่งของตลาดเป้ าหมาย Big C มุ่ง กลุ่มประชากรที่มีความอ่อนไหวเรื่ องราคา ชอบความสะดวกสบาย สิ นค้ามีความหลากหลาย มี ่ สิ นค้าอุปโภคบริ โภคให้เลือกมากมาย ร้านค้าตั้งอยูภายในชุมชน การจับจ่ายที่สะดวกสบาย ใกล้บาน ้
  • 5. สถานภาพทางสั งคม(Social status) เป็ นตาแหน่งของแต่ละบุคคลเมื่อเปรี ยบเทียบกับผูอื่นโดยใช้ตวแปรนั้น ้ ั พิจารณาว่ามีความสาคัญในการจัดแบ่งกลุ่มภายในสังคมโดยในแต่ละกลุ่มนั้นประกอบด้วยบุคคลที่มีค่านิยม (Values)ความสนใจ(Interests)และพฤติกรรมที่คล้ายกัน เป็ นตาแหน่งของแต่ละบุคคลเมื่อเปรี ยบเทียบกับผูอื่นโดยใช้ตวแปรนั้น พิจารณาว่ามีความสาคัญในการจัด ้ ั แบ่งกลุ่มภายในสังคมโดยในแต่ละกลุ่มนั้นประกอบด้วยบุคคลที่มีค่านิยม(Values)ความสนใจ (Interests)และพฤติกรรมที่คล้ายกัน สภาพแวดล้อมภายในคือ การบริ หารงานที่ดี การบริ การดี ราคาสิ นค้าประหยัด ราคาถูก มีสินค้าที่ หลากหลาย อีกทั้งมีบรรยากาศที่โดดเด่นเป็ นที่น่าพอใจของผูบริ โภค ้ สภาพแวดล้อมภายนอก คือ คู่แข่งขันของบิ๊กชีที่มีบริ การคล้ายกัน เช่น โลตัส แม็คโคร Pot ซึ่ งเป็ นคู่แข่ง ทางการค้ากับบิ๊กชีอย่างโดดเด่น (Emotion) คือ ความรู้สึก (Feelings) ที่รุนแรงควบคุมไม่ได้ และส่ งผล กระทบต่อพฤติกรรมของคน กลุ่มอ้ างอิง (Reference Group) หมายถึงบุคคลหนึ่งหรื อกลุ่มคนที่ผอื่นใช้เปรี ยบเทียบหรื อใช้เป็ นมาตรฐาน ู้ ในการเกิดค่านิยม ทัศนคติ ชนิดทัวไปหรื อชนิ ดที่เฉพาะเจาะจงซึ่ งใช้เป็ นสิ่ งชี้นานาความประพฤติหรื อกลุ่ม ่ อ่างอิงหมายถึงบุคคลหรื อกลุ่มคนที่มีอิทธิ พลสาคัญๆต่อพฤติกรรมของบุคล 1กลุ่ มอ้ างอิงทางตรง (direct or membership groups) คือ กลุ่มบุคคลที่มีอิทธิ พลต่อผูบริ โภคทางตรง และมี ้ การติดต่อกันแบบเผชิ ญหน้า แบ่งเป็ น - กลุ่มปฐมภูมิ (primary groups) เป็ นกลุ่มบุคคลที่มีการติดต่อกันอย่างสม่าเสมอ และมีรูปแบบการติดต่อ แบบไม่เป็ นทางการ เช่น ครอบครัว เพื่อน เป็ นต้น - กลุ่มทุติยภูมิ (secondary groups) มีการติดต่อกันแบบนาน ๆ ครั้ง และมีรูปแบบการติดต่อแบบเป็ นทางการ เช่น กลุ่มทางศาสนา กลุ่มวิชาชีพ หรื อกลุ่มทางการค้า เป็ นต้น กลุ่มอ้ างอิงทางอ้ อม (indirect groups) คือ กลุ่มบุคคลที่มีอิทธิ พลทางอ้อม ไม่ได้มีการรู ้จกเป็ นการส่ วนตัว ั แบ่งเป็ น - กลุ่มใฝ่ ฝัน (aspirational groups) บุคคลที่บุคคลอื่นต้องการจะเป็ นเหมือน เช่น นักแสดง นักร้อง นายแบบ นางแบบ พิธีกร นักกีฬาที่มีชื่อเสี ยง เป็ นต้น
  • 6. - กลุ่มไม่พึงปรารถนา (dissociative groups) บุคคลที่ค่านิ ยมหรื อพฤติกรรมที่บุคคลอื่นปฏิเสธ การรับรู้ การเรียนรู้ คือกระบวนการที่ทาให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด คนสามารถเรี ยนได้จากการ ได้ยนการสัมผัส การอ่าน การใช้เทคโนโลยี การรับรู ้มีหลายทาง ซึ่งประกอบไปด้วย ทางด้านสื่ อ ิ อินเทอร์ เน็ต และการบอกเล่าของคนต่อคนที่เคยใช้ บิ๊กซี มีการพัฒนา บัตรบิ๊กการ์ ด บัตรสมาชิกที่ลูกค้า สามารถมีส่วนร่ วม เพลิดเพลิน สนุกสนานไปกับคูปองส่ วนลดเงินสดและส่ วนลดสิ นค้าราคาสมาชิกในแต่ ละสัปดาห์ ปั จจุบนเรามีสมาชิกมากกว่าหกล้านสมาชิกและยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ อง ซึ่ งส่ งผลให้สัดส่ วน ั ยอดขายจากสมาชิกเพิ่มขึ้นจาก 25% ในปี พ.ศ.2552 เป็ นมากกว่า65% ในปั จจุบน ปริ มาณการซื้ อสิ นค้าของ ั สมาชิกในแต่ละครั้งนั้นสู งกว่าเกือบสองเท่าตัว เมื่อเทียบกับลูกค้าทัวไป ่ ความจาเป็ น หมายถึง ความต้องการในปั จจัยแห่งการดารงชีวตที่มนุษย์ขาดไม่ได้หากพิจารณาจาก ิ แหล่งกาเนิดแบ่งได้ 2 กลุ่ม คือ 1. เกิดขึ้นได้ตามธรรมชาติ เช่น ความจาเป็ นเรื่ องอาหาร น้ า อากาศ 2. ความจาเป็ นที่เกิดจากความรู ้ โดยกระบวนการกลุ่มเกลาทางสังคม ั ในร้านค้าปลีกของเราจะมีการนาเสนอความหลายหลายของสิ นค้าให้กบลูกค้า ตั้งแต่อาหารสด เสื้ อผ้า อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ผลิตภัณฑ์สุขภาพและความงาม โดยปั จจุบนมีสินค้าให้เลือกซื้ อมากกว่า 100,000 ั SKUs เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า โดยสามารถแบ่งออกเป็ นห้าประเภท ดังนี้อาหารสด: เนื้อสัตว์ อาหารทะเล ผลไม้สดและผัก (ทั้งพร้อมปรุ งและพร้อมรับประทาน) อาหารแช่แข็ง อาหารอบ สมุนไพร และ เครื่ องเทศต่างๆอาหารแห้ง: เครื่ องปรุ งรสและประกอบอาหาร เครื่ องดื่มต่างๆ อาทิ น้ าอัดลม และเครื่ องดื่มที่ มี แอลกอฮอล์ ขนมขบเคี้ยว ของใช้ส่วนตัว ผลิตภัณฑ์ทาความสะอาด อาหารและของใช้สาหรับสัตว์เลี้ยง เสื้ อผ้าและเครื่ องประดับ: สุ ภาพบุรุษ สุ ภาพสตรี เด็ก และทารก รวมถึงรองเท้าและเครื่ องสาอาง เครื่ องใช้ไฟฟ้ า: อุปกรณ์เครื่ องใช้ไฟฟ้ านานาชนิด เช่น เครื่ องปรับอากาศ ตูเ้ ย็น ฯลฯ อุปกรณ์เครื่ องใช้ใน ครัวเรื อน อุปกรณ์เพื่อความบันเทิงภายในบ้าน เทป ซีดี อุปกรณ์ประดับยนต์ วัสดุอุปกรณ์และเครื่ องมือ ซ่อมแซมบารุ งรักษาบ้าน ความจา หมายถึง กระบวนการเก็บรักษาข้อมูลต่างๆที่บุคคลได้รับ เพื่อที่จะสามารถนากลับมาใช้ใน ภายหลัง แนวคิดการประมวลสารสนเทศ ได้เสนอว่าสมองของมนุษย์มีการทางานเหมือนดังเช่นเครื่ อง ่ ่ คอมพิวเตอร์ กล่าวคือ ข้อมูลต่างๆที่ผานเข้ามาจะถูกประมวลผล และกลายเป็ นสารสนเทศที่ถูกนามาใช้ใน
  • 7. ภายหลัง “ตราบิ๊กซี” กลายเป็ นทางเลือกที่ดีในยุคเศรษฐกิจฝื ดเคืองเพราะเราทาให้ลูกค้ามีทางเลือกในการ เลือกซื้ อผลิตภัณฑ์ที่ราคาถูกกว่าตราสิ นค้าอื่นในประเทศเกือบ 30% ในปี 2552 บิ๊กซี ได้เปิ ดสายการผลิต สิ นค้าที่ใช้ตราบิ๊กซี กว่า 1,305 รายการ มีท้ งอาหารสด สิ นค้าบริ โภคและสิ นค้าอุปโภค สาหรับปี 2553 บิ๊กซี ั จะขยายการผลิตสิ นค้าที่ใช้ตราสิ นค้าของบริ ษทให้สนองตอบความต้องการของลูกค้าของเราต่อไป ั แรงจูงใจ ( Motivation) คือ สภาวะที่ถูกกระตุน (Activated State) ภายในแต่ละคน ซึ่ งนาไปสู่ พฤติกรรม ้ ่ ที่มีจุดมุงหมาย หรื อเป็ นเหตุผลของพฤติกรรมแต่ละครั้ง โปรโมชันส่ งผ่านสื่ อต่างๆคือ ่ 1. การโฆษณา (Advertising) เช่น โฆษณาผ่าน ทีวี วิทยุ ใบปลิว หนังสื อพิมพ์ บิลบอร์ ด 2. การประชาสัมพันธ์ หรื อมักเรี ยกกันว่า PR (Public Relationship) 3. การตลาดทางตรง (Direct Marketing) เช่น จดหมาย โทรศัพท์ 4. การส่ งเสริ มการขาย (Sale Promotion) เช่น การลด แลก แจก แถม 5. การส่ งเสริ มการตลาด ณ จุดขาย หรื อเรี ยกว่า P.O.P. (Point-Of-Purchase) เช่น การติดป้ ายโฆษณาตรงชั้น วางสิ นค้า 6. Online Marketing เช่น การทาโฆษณาผ่าน Website, การส่ ง SMS บุคลิกภาพ (Personality) คือ แนวโน้ม (Tendencies) ของการตอบสนองที่เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะซึ่งทา หน้าที่กาหนด (Deteming) และสะท้อน (Reflect) การตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมของแต่ละคน ผูบริ โภคโดยทัวไปมักใช้ผลิตภัณฑ์และบริ การที่สะท้อนหรื อส่ งเสริ มบุคลิกภาพของตนเองและหลีกเลี่ยง ้ ่ ผลิตภัณฑ์ที่ขดแย้งกับบุคลิกนั้นๆ พฤติกรรมดังกล่าวทาให้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์และวางตาแหน่งที่ ั สอดคล้องกับบุคลิกของกลุ่มเป้ าหมาย อารมณ์ (Emotion) คือ ความรู้สึก (Feelings) ที่รุนแรงควบคุมไม่ได้ และส่ งผลกระทบต่อพฤติกรรม ของคน
  • 8. ทัศนคติ(Attitudes)เป็ นตัวแปรภายในที่สาคัญมากชนิดหนึ่ งซึ่ งส่ งผลกระทบต่อการตัดสิ นใจซื้ อและเลือกวิถี ชีวต(Lifestyles)ของผูบริ โภค เช่น ทัศนคติที่มีต่อผลิตภัณฑ์อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สิ นค้าฟุ่ มเฟื อย สิ นค้า ิ ้ ต่างประเทศ และความงาม เป็ นต้น ความสาเร็ จของหน่วยงานในธุ รกิจและหน่วยงานทางธุ รกิจและ หน่วยงานทางสังคมในการเปลี่ยนแปลงทั้งที่มีประโยชน์และมีโทษต่อผูบริ โภคส่ วนใหญ่มกจะเกิดการ ้ ั เปลี่ยนแปลงทัศนคติของผูบริ โภคหรื อกลุ่มคนต่างๆที่มีต่อสิ นค้า บริ การ แนวคิดละกิจกรรมต่างๆ ้ ทัศนคติของผูบริ โภคที่มีต่อภาพลักษณ์ของซุ ปเปอร์ สโตร์ โดยภาพรวมอยูในระดับมากโดยความจงรักภักดี ้ ่ ของผูบริ โภคที่มีต่อซุ ปเปอร์ สโตร์ ดานความพึงพอใจของลูกค้ามากที่สุด รองลงมาด้านความเชื่อถือและ ้ ้ ่ ความไว้วางใจ ความเชื่ อมโยงผูกพันกับอารมณ์ และด้านลดทางเลือกและนิสัยอยูในระดับปานกลาง จินตภาพตนเองหรือภาพลักษณ์ตนเอง คือความคิดและความรู้สึกโดยรวม(Overal Feeling) ของแต่ละ บุคคลเกี่ยวกับตนเองในฐานะที่เป็ นวัตถุชนิดหนึ่ง(Object)หรื อเป็ นทัศนคติ(Attitude)ของแต่ละบุคคลที่มีต่อ ตนเอง หรื อความเชื่อ(Beliefs)และความรู้สึก(Feelings)เกี่ยวกับตนเอง ทัศนคติของผูบริ โภคที่มีต่อ ้ ภาพลักษณ์ของซุปเปอร์สโตร์ดานการจัดการสิ นค้าที่ให้บริ การมากที่สุด รองลงมาด้าน คุณลักษณะของ ้ องค์กร ด้านการดาเนินธุ รกิจ ด้านอาคารและสถานที่ ด้านการให้บริ การจากพนักงาน ด้านประวัติของบริ ษท ั ั ่ ส่ วนด้านร้านที่มาเช่าพื้นที่ และด้านการสร้างประโยชน์ให้กบสังคมอยูในระดับปานกลาง วิถีชีวต (Lifestyle)คือรู ปแบบการใช้ชีวตของบุคคลที่แสดงออกในรู ปของกิจกรรม(Activities)ความสนใจ ิ ิ (Interest)และความคิดเห็น(OPinions) ความสัมพันธ์อนดีระหว่างเรากับลูกค้า เป็ นสิ่ งที่เราให้ความสาคัญ ั มาก เรามีการพัฒนา บัตรบิ๊กการ์ ด บัตรสมาชิกที่ลูกค้าสามารถมีส่วนร่ วม เพลิดเพลิน สนุกสนานไปกับ คูปองส่ วนลดเงินสดและส่ วนลดสิ นค้าราคาสมาชิกในแต่ละสัปดาห์ ปั จจุบนเรามีสมาชิกมากกว่าหกล้าน ั สมาชิกและยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่ งส่ งผลให้สัดส่ วนยอดขายจากสมาชิกเพิ่มขึ้นจาก 25% ในปี พ.ศ. 2552 เป็ นมากกว่า65% ในปั จจุบน ปริ มาณการซื้ อสิ นค้าของสมาชิกในแต่ละครั้งนั้นสู งกว่าเกือบสองเท่าตัว ั เมื่อเทียบกับลูกค้าทัวไป ่
  • 9. ประวัติ พ.ศ. 2537 เปิ ดสาขาแรกบนถนนแจ้งวัฒนะ กรุ งเทพมหานคร พ.ศ. 2542 บิ๊กซี ซูเปอร์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) เข้าร่ วมเป็ นพันธมิตรทางธุ รกิจกับ กลุ่มบริ ษท ั คาสิ โน กรุ๊ ป (Casino Group) จากประเทศฝรั่งเศส โดย คาสิ โน กรุ๊ ป เข้าซื้ อหุ นเพิ่มทุน ้ จานวน 530 ล้านหุน และกลายเป็ นผูถือหุ นใหญ่หลังจากเพิ่มทุนดังกล่าว ้ ้ ้ หลังจากการเข้ามามีส่วนร่ วมในการบริ หารงานในบิ๊กซี คาสิ โนกรุ๊ ปตัดสิ นใจขายธุ รกิจ ผลิตเสื้ อผ้าทั้งหมด เพื่อที่จะมุ่งเน้นการดาเนินธุ รกิจค้าปลีกและเสริ มสร้างประสิ ทธิ ภาพ การดาเนินงานให้มีประสิ ทธิภาพ พ.ศ. 2545 บิ๊กซี ได้เปิ ดตัว มูลนิธิบ๊ิกซี โดยมีวตถุประสงค์เพื่อให้โอกาสทางการศึกษาแก่เด็กด้อย ั โอกาส พ.ศ. 2548 ทดลองเปิ ดร้านบิ๊กซี ในรู ปแบบกะทัดรัด ซึ่ งมีพ้ืนที่คาปลีกเฉลี่ย 6,000 ตารางเมตรเมื่อ ้ เทียบกับ 10,000 ตารางเมตรของไฮเปอร์ มาร์ เก็ตปกติ พ.ศ. 2550 บิ๊กซี เปิ ดตัวสิ นค้า ตราบิ๊กซี พ.ศ. 2551 บิ๊กซี เปิ ดตัว แฮปปี้ บาท พ.ศ. 2552 บิ๊กซี เปิ ดตัว บัตรสมาชิกรู ปแบบใหม่ “บิ๊กการ์ ด” พ.ศ. 2553 บิ๊กการ์ ด มีสมาชิกบัตรกว่า 5 ล้านคน เปิ ดร้านขนาดเล็กที่เรี ยกว่า บิ๊กซี มาร์ เก็ต บิ๊กซี เปิ ดตัวสิ นค้าตราบิ๊กซี ที่เป็ นกลุ่มพรี เมี่ยมโดยเน้นที่คุณภาพสิ นค้า
  • 10. พ.ศ. 2554 บิ๊กซี ซ้ื อกิจการคาร์ ฟูร์ในประเทศไทย(จานวน42สาขา) และได้ตอกย้าการเป็ นผูนาร่ วมใน ้ การดาเนิ นธุ รกิจไฮเปอร์ มาร์ เก็ตในประเทศไทย คาร์ฟูร์ จานวน15สาขาได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็ นบิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า ห้างไฮเปอร์ มาร์ เก็ตรู ปแบบใหม่ ระดับพรี เมี่ยม โดยกาหนดเป้ าหมายลูกค้าที่มีรายได้ระดับกลางถึงสู ง เปิ ดตัวบิ๊กซี จมโบ้ ซึ่ งเป็ นร้านค้ารู ปแบบใหม่ที่มีขนาดใหญ่ กาหนดกลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย ั เป็ นครอบครัวขนาดใหญ่ ร้านค้าปลีกขนาดเล็ก โรงแรมและ ร้านอาหาร บิ๊กซี ซูเปอร์ เซ็นเตอร์ ดาเนินธุ รกิจในรู ปของ "ไฮเปอร์ มาร์ เก็ต" หรื อ "ซูเปอร์ เซ็นเตอร์ " ธุ รกิจค้าปลีก สมัยใหม่ ภายใต้การบริ หารงานโดย บริ ษท บิ๊กซี ซูเปอร์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) และบริ ษทย่อย ั ั ปั จจุบนบิ๊กซี แบ่งเป็ น บิ๊กซี จัมโบ้ จานวน 1 สาขา บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า จานวน 15 สาขา บิ๊กซี จานวน 92 รวมเป็ น ั สาขาเปิ ดให้บริ การทั้งสิ้ น 108 สาขา แยกเป็ นสาขาในเขตกรุ งเทพฯ และปริ มณฑล 48 สาขา สาขาใน ต่างจังหวัด 60 สาขา มีพ้ืนที่ที่ให้บริ การคือไทย, เวียดนามและลาว ชื่อของ "บิ๊กซี " สะท้อนถึงปั จจัยที่เป็ นหลักในการดาเนิ นธุ รกิจของบิ๊กซี รวมทั้งยังเป็ นกุญแจสาคัญสู่ ความสาเร็ จของบิ๊กซี อีกด้วย "บิ๊ก" (Big) หมายถึง พื้นที่ท่ีมีขนาดใหญ่ พร้อมด้วยบริ การและสิ่ งอานวยความสะดวกต่างๆ สาหรับลูกค้า และยังครอบคลุมไปถึงความหลากหลายของสิ นค้าที่บิ๊กซี คดสรรมาจาหน่าย โดยบิ๊กซี มีสินค้ามากกว่า ั 100,000 รายการ เพื่อตอบสนองทุกความต้องการของลูกค้า "ซี" (C) หมายถึง ลูกค้าผูให้การสนับสนุนบิ๊กซี ดวยดีเสมอมา ้ ้ ด้วยบุคลากรมากกว่า 16,000 คน บิ๊กซี พร้อมมอบประสบการณ์ในการจับจ่ายสิ นค้าที่สนุ กสนานในราคา ประหยัดท่ามกลางบรรยากาศการซื้ อสิ นค้าที่สะดวกสบาย ภายใต้ปรัชญาที่มุ่งเน้นการให้บริ การที่ดีที่สุดแก่ ลูกค้า นอกจากนี้ บิ๊กซี ยงมีบริ การที่หลากหลายและแตกต่างเพื่อให้ลูกค้าที่เข้ามาใช้บริ การได้สัมผัส ั ประสบการณ์การซื้ อสิ นค้าแบบครบวงจร ณ จุดเดียว (One-Stop-Shopping) อีกด้วย พันธะสั ญญา
  • 11. วิสัยทัศน์ ของบิ๊กซี มุ่งสู่ การเป็ นผูนาค้าปลีกที่มีรูปแบบและขนาดที่หลากหลายอันดับหนึ่งของคนไทย โดยให้ความสาคัญสู งสุ ด ้ กับลูกค้าของเรา ภารกิจของเรา ลูกค้าทุกคนเป็ นสมาชิกของครอบครัวชาวบิ๊กซี ค่ านิยมของบิ๊กซี 1.เราจะเป็ นผูนาในการให้บริ การแก่ลูกค้าและนาเสนอราคาที่ประหยัด เนื่ องจากลูกค้าทุกท่านมีความสาคัญ ้ สู งสุ ดสาหรับเรา 2.เราจะถ่ายทอดความรู ้และฝึ กอบรมให้แก่พนักงานทุกคนของเราสร้างประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดในการบริ การให้ ลูกค้า 3.เราจะทางานเป็ นทีม โดยเป็ นที่กล่าวถึงหรื ออ้างอิงว่า เป็ นที่ที่ให้ความพึงพอใจสู งสุ ดในการบริ การแก่ ลูกค้า 4.เรามุ่งมันที่จะสร้างประโยชน์ เพื่อช่วยเหลือและปกป้ องสิ่ งแวดล้อมในชุมชนที่เราให้บริ การอยู่ ่ ภาพรวมธุรกิจ บิ๊กซี เริ่ มดาเนินธุ รกิจค้าปลีกตั้งแต่ปีพ.ศ.2536 ปั จจุบนเป็ นหนึ่งในผูนาที่ดาเนินธุ รกิจค้าปลีกในประเทศไทย ั ้ โดยนาเสนอความหลากหลายของสิ นค้าในร้านค้าปลีกที่ทนสมัย ในราคาที่ประหยัด และเป็ นที่รู้จกในฐานะ ั ั ผูนาด้านราคาในธุ รกิจค้าปลีก ้ ลูกค้าของเรามาจากคนหลายกลุ่มในสังคม โดยขนาดและรู ปแบบของร้านธุ รกิจที่มีหลากหลาย ทาให้เรา สามารถเข้าถึงลูกค้าได้ทวประเทศอย่างทัวถึง นอกจากศูนย์การค้าของเราเป็ นแบบครบวงจร เราสามารถ ่ั ่ นาเสนอบริ การต่างๆผ่านร้านค้าเช่าที่เราคัดสรรมาแล้วอย่างดี "เราให้คุณมากกว่าคาว่าถูก" เป็ นสโลแกนที่เราเชื่ อว่าสามารถสร้างความพึงพอใจสู งสุ ดให้แก่ลูกค้า โดยผ่าน นโยบายราคาที่ถูก การคัดสรรสิ นค้าและบริ การที่ หลากหลาย สะอาด อีกทั้งบรรยากาศและบริ การที่โดดเด่น
  • 12. ในปี พ.ศ. 2554 เป็ นปี ที่มีความสาคัญ เพราะบิ๊กซี กาวสู่ การเป็ นผูนาในตลาดไฮเปอร์ มาร์ เก็ต เมื่อได้ลงนาม ้ ้ ในสัญญาซื้ อกิจการคาร์ ฟูร์ในประเทศไทย การดาเนินการครั้งนี้ ได้เพิมศักยภาพ ความแข็งแกร่ งของธุ รกิจ ่ ความสามารถในการนาเสนอราคาที่ประหยัดให้กบลูกค้า รวมถึงการขยายขอบเขตครอบคลุมกลุ่มลูกค้า ั ทั้งหมด ่ ไม่วาคุณจะร่ วมงานกับเราหรื อเป็ นลูกค้าของเรา คุณเป็ นส่ วนหนึ่งของครอบครัวบิ๊กซี ปั จจุบนเรามีพนักงาน ั กว่า 24,000 คน ในทุกภูมิภาคของประเทศไทย อีกทั้ง“บิ๊กการ์ ด”บัตรสมาชิกในรู ปแบบใหม่ที่เติบโตขึ้น อย่างรวดเร็ วนับตั้งแต่เริ่ มใช้ ในปี พ.ศ. 2552 โดยมีสมาชิกกว่า 6 ล้านคนในกลางปี พ.ศ. 2554 หนึ่งในความมุ่งหมายหลักของบริ ษทฯ คือการเป็ นองค์กรธุ รกิจที่สร้างคุณประโยชน์แก่ชุมชน ลูกค้า ั พนักงาน และผูถือหุ น เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายดังกล่าว บริ ษทฯมีการสนับสนุนกิจกรรม ของชุมชน ตลอดจน ้ ้ ั กิจกรรมสาธารณกุศลต่างๆผ่านมูลนิธิบิ๊กซี โดยเฉพาะในพื้นที่ที่บิ๊กซี เข้าไปประกอบธุ รกิจอย่างต่อเนื่อง ภาพรวมอุตสาหกรรม การผสมผสานระหว่ างธุรกิจค้ าปลีกและธุรกิจอสั งหาริมทรัพย์ เรามุ่งมันที่จะเปิ ดศูนย์การค้าใหม่ๆ โดยมีไฮเปอร์ มาร์ เก็ตและมาร์ เก็ตเป็ นตัวดึงดูดลูกค้า ประกอบกับการ ่ ่ บริ การและความบันเทิงที่ทางร้านค้าเช่าซึ่ งอยูในศูนย์การค้านาเสนอลูกค้า ทั้งสองส่ วนนี้เป็ นหลักสาคัญใน การดึงดูดลูกค้าให้มาจับจ่ายใช้สอยในศุนย์การค้าที่ครบวงจรของเรา รายได้จากการให้เช่าพื้นที่ใน ศูนย์การค้าถือเป็ นแหล่งรายรับสาคัญของบิ๊กซี บิ๊กซี นาแผนงานการปรับปรุ งพื้นที่เช่าให้มีขนาดที่เหมาะสม มากขึ้นและในขณะเดียวกันจะเพิมประสิ ทธิ ภาพในการดาเนินธุ รกิจค้าปลีก และการจัดสรรพื้นที่เช่าให้ดี ่ ยิงขึ้น ทาให้ร้านค้าเป็ นที่น่าดึงดูดและเพิ่มรายได้ค่าเช่าจากการให้เช่าพื้นที่ศูนย์การค้า โดยไม่มีผลกระทบต่อ ่ ยอดขายธุ รกิจค้าปลีกของร้านค้าบิ๊กซี รู ปแบบและขนาดของร้านค้า มีหลากหลายจากห้างไฮเปอร์ มาร์ เก็ตขนาดใหญ่ ไปสู่ ร้านค้าในชุมชน โดย มุ่งเน้นการนาเสนอ ราคาที่ดีที่สุดให้แก่ลูกค้า รู ปแบบและขนาดร้านค้ามีดงนี้ ั ไฮเปอร์ มาร์ เก็ต: สาหรับร้านค้าที่ใหญ่ที่สุดของเราสามารถนาเสนอสิ นค้าอุปโภคบริ โภคให้เลือกมากมาย โดยมีจานวนสิ นค้าเฉลี่ย 80,000 ถึง 100,000 SKUs ขนาดไฮเปอร์ มาร์ เก็ตของเราอาจมีขนาดที่แตกต่างจาก 4,000 ถึง 12,000 ตรม สัดส่ วนของยอดขายผลิตภัณฑ์ของร้านค้าเหล่านี้ มีสัดส่ วนยอดขายสิ นค้าประเภท อาหารประมาณ 60% และ 40% เป็ นสัดส่ วนยอดขายสิ นค้าที่ไม่ใช่อาหาร
  • 13. ปั จจุบนเราบริ หารร้านไฮเปอร์ มาร์ เก็ตภายใต้ชื่อ 2 ชื่อคือบิ๊กซี และบิ๊กซี เอ๊กซ์ตร้า ทั้งสอง แบรนด์มุ่งเน้นการ ั เป็ นผูนาทางด้านราคา โดยที่บ๊ิกซี มีการกาหนดเป้ าหมายหลัก โดยมุ่งบริ การต่อกลุ่มลูกค้าที่มีความอ่อนไหว ้ เรื่ องราคา ขณะที่บ๊ิกซี เอ็กซ์ตร้ามุ่งเน้นเพิ่มแผนกสิ นค้านาเข้าและความหลากหลายของอาหารสดและกลุ่ม สิ นค้าที่มีราคาสู ง บิ๊กซีมาร์ เก็ต: ตั้งอยูในบริ เวณใกล้เคียงกลุ่มลูกค้า โดยบิ๊กซี มาร์ เก็ตนาเสนอราคาและสิ นค้าโปรโมชัน ่ ่ เดียวกันกับที่ขายในร้านไฮปอร์ มาร์ เก็ตแต่ เนื่องจากพื้นที่ขายมีขนาดจากัด มีต้ งแต่750 ถึง 2,000 ตารางเมตร ั ่ ดังนั้นจานวนของรายการสิ นค้าที่นาเสนอจะถูก จากัดโดยเฉลี่ยมีสินค้าอยูที่ 15,000 SKUs โดยแบ่งสัดส่ วน เป็ นสิ นค้าประเภทอาหารประมาณ 80% และ 20% เป็ นรายการสิ นค้าที่ไม่ใช่อาหาร ั ่ ร้ านค้ าในชุ มชน: มินิบิ๊กซี เป็ นร้านค้าที่ต้ งอยูภายในชุมชน นาเสนอประสบการณ์การจับจ่ายที่สะดวกสบาย สาหรับลูกค้า โดยคัดสรรสิ นค้ามาจาหน่ายจานวน 3,200 SKUs แบ่งเป็ นสิ นค้าประเภทอาหารประมาณ 90% รวมถึงอาหารสด และ10% เป็ นรายการสิ นค้าที่ไม่ใช่อาหาร ่ ร้ านสุ ขภาพและความงาม: เพรี ยว เป็ นร้านสุ ขภาพและความงาม ปั จจุบนตั้งอยูภายในไฮเปอร์ มาร์ เก็ตบิ๊กซี ั และบิ๊กซี มาร์ เก็ต สิ นค้าที่จดจาหน่ายเป็ นผลิตภัณฑ์ที่เสริ ม หรื อเพิ่มเติมแก่ร้านดังกล่าว ปั จจุบนผลิตภัณฑ์ท่ี ั ั ่ ขายอยูในเพียวมีจานวน 1,700 SKUs ซึ งโดยส่ วนใหญ่ประกอบด้วยสิ นค้าประเภทยาและเครื่ องสาอาง รู ปแบบอืนๆ: บิ๊กซี มุ่งหารู ปแบบการบริ การใหม่ๆเพื่อให้บริ การลูกค้าและการพัฒนารู ปแบบร้านค้าของเรา ่ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลา ธุรกิจให้ เช่ าสถานที่
  • 14. ศูนย์การค้าของเราซึ่ งอยูคู่กบไฮเปอร์ มาร์ เก็ต หรื อบิ๊กซี มาร์ เก็ต เป็ นศูนย์รวมการจับจ่ายใช้สอยที่ครบวงจร ่ ั พร้อมสรรด้วยร้านค้าเช่าที่มีการคัดเลือกผูเ้ ช่าด้วยผูชานาญอย่างรอบคอบ เพื่อให้แน่ใจว่าลูกค้าของเราจะ ้ ได้รับการบริ การทั้งหมดที่ตองการ ภายใต้หลังคาเดียว บริ การที่ศูนย์การค้าของเราได้สรรหาไว้ สามารถแบ่ง ้ ออกเป็ นสี่ ประเภทเหล่านี้: อาหารและเครื่องดื่ม: ร้านอาหารซึ่งประกอบด้วย ร้านอาหารแฟรนไชส์ และร้านอาหารในศูนย์อาหาร บันเทิง: โรงภาพยนตร์ คาราโอเกะ และสวนสนุกสาหรับเด็ก ร้ านค้ าพิเศษ: ร้านหนังสื อ ร้านเสื้ อผ้าแฟชัน ร้านค้าอิเล็กทรอนิกส์ ร้านโทรศัพท์มือถือ ่ และ ร้านขายยา บริการ: ธนาคาร ร้านซักแห้ง และร้านทาผม การ ่ ั แบ่งแยกประเภทพื้นที่ให้เช่า แบ่งเป็ นห้าประเภท ขึ้นอยูกบระยะเวลาการเช่าและประเภทของธุ รกิจของ ร้านค้าเช่า กลุ่มร้ านค้ าพาณิชย์: กลุ่มผูเ้ ช่าเหล่านี้ ช่วยยกระดับภาพลักษณ์ของศูนย์การค้าของเราให้เป็ นที่รู้จกมากขึ้น ั เนื่องจากชื่อเสี ยงของร้านเหล่านี้เป็ นที่รู้จกโดยทัวไป เงื่อนไขการเช่าของร้านเหล่านี้มกจะมีระยะเวลาการ ั ่ ั เช่าปานกลาง โดยส่ วนใหญ่จะเป็ นร้านที่มีเครื อข่ายของเชนขนาดใหญ่ เช่น ร้านอาหาร ธนาคาร ฯลฯ ผู้เช่ าพืนทีรายใหญ่ ที่เช่ าพืนที่ติดกับศูนย์ การค้ า: นอกเหนื อจากห้างไฮเปอร์ มาร์ เก็ตหรื อ บิ๊กซี มาร์ เก็ตจะ เป็ น ้ ่ ้ ส่ วนหนึ่งของศูนย์การค้า แล้วยังมีกลุ่มผูเ้ ช่าพื้นที่รายใหญ่ ซึ่ งอยูติดกับศุนย์การค้า โดยทาสัญญาเช่าระยะยาว ่ กับเรา และมีส่วนช่วยให้การจับจ่ายใช้สอยของลูกค้า มีความสะดวกสบายมากขึ้น อาทิเช่น โฮมโปร (DIY), โรงภาพยนตร์ , ร้านค้าไอที, พาวเวอร์บาย (อิเล็กทรอนิกส์) เป็ นต้น อาหารและเครื่องดื่ม: ศูนย์อาหารนาเสนอความหลากหลายของอาหารในราคาที่ประหยัด โดยร้านอาหาร เหล่านี้ มีระยะเวลาการเช่าหนึ่งปี บิ๊กบาซ่ า: ศุนย์รวมร้านค้าขนาดเล็กจานวนมากที่ขายสิ นค้าต่างๆรวมถึงร้านค้าสิ นค้าแฟชัน, ร้าน ่ เครื่ องประดับ, ร้านโทรศัพท์มือถือ ฯลฯ โดยมีระยะเวลาการเช่าป็ นเวลาหนึ่งปี ่ ร้ านค้ าคีออส: ร้านค้าเช่าขนาดเล็กซึ่ งตั้งอยูในบริ เวณทางเดิน โดยเป็ นลักษณะสัญญาเช่าเป็ นระยะสั้นๆ เช่น 1เดือน โดยการจ่ายชาระค่าเช่าล่วงหน้า
  • 15. ธุรกิจทาวน์ เซ็นเตอร์ ทาวเซ็นเตอร์ หรื อบริ การให้เช่าพื้นที่ท้ งภายในและภายนอกอาคารของห้างบิ๊กซี แก่ผประกอบการเพื่อเข้ามา ั ู้ ทาธุ รกิจในบิ๊กซี ทั้งนี้จะต้องเป็ นสิ นค้าและบริ การที่แตกต่างจากสิ นค้าที่จาหน่ายในบิ๊กซี เพื่อให้ลูกค้าบิ๊กซี ได้พบกับความหลากหลายในการให้บริ การ และยังเป็ นการสร้างทางเลือกในการซื้ อสิ นค้าและบริ การที่ครบ วงจรยิงขึ้น ่ ทั้งนี้ ผูประกอบการที่เข้ามาเช่าพื้นที่ในบิ๊กซี ส่วนใหญ่แบ่งออกเป็ น 4 กลุ่มหลัก ดังนี้ ้ อาหารและเครื่องดื่ม ได้แก่ ร้านอาหาร ร้านอาหารแฟรนไชส์ ศูนย์อาหาร บันเทิง ได้แก่ โรงภาพยนตร์ คาราโอเกะ และลานเล่นสาหรับเด็ก ร้ านเฉพาะอย่าง ได้แก่ ร้านหนังสื อ ร้านเสื้ อผ้า ร้านจาหน่ายเครื่ องใช้ไฟฟ้ า ร้านจาหน่ายโทรศัพท์มือถือ ร้านขายยา บริการ ได้แก่ ธนาคาร ร้านซักแห้ง ร้านเสริ มสวย ร้านเปลี่ยนอะไหล่รถยนต์ แผนการพัฒนารู ปแบบร้ านและขนาดของบิ๊กซี เราต้องการที่จะเป็ นส่ วนหนึ่งของการให้บริ การในทุกรู ปแบบและขนาดของร้านค้าปลีกที่ทนสมัย เรามีแผน ั ที่จะขยายและพัฒนารู ปแบบของร้านขนาดใหญ่ไฮเปอร์ มาร์ เก็ต จนถึงร้านค้าในชุมชนซึ่ งมีความใกล้ชิดกับ กลุ่มลูกค้ามากกว่า การให้ ความสาคัญแก่ ลูกค้ า
  • 16. การมุ่งเน้นความต้องการของลูกค้าเป็ นเจตนารมณ์ของเรา ภายใต้สโลแกน "เราให้คุณมากกว่าคาว่าถูก” โดย มีหลักสาคัญ 5อย่าง ผู้นาด้ านราคา: เราเป็ นที่ยอมรับตั้งแต่เริ่ มดาเนินธุ รกิจในเรื่ องการเป็ นผูนาด้านราคา โดยเรามุ่งมันที่จะรักษา ้ ่ ่ ความเป็ นผูนาในด้าน ราคา ผ่านโปรแกรมหลากหลาย เช่น การตรวจสอบราคา ซึ่ งรับประกันได้วา ้ ผลิตภัณฑ์ของเราจะมีราคาถูกกว่าคู่แข่งในตลาด หรื ออย่างน้อยเท่ากับคู่แข่ง สิ นค้ ามีครบสรร: เรามีสินค้านาเสนอ100,000 SKUsให้ลูกค้าได้เลือกสรร ตั้งแต่สินค้าราคาถูกที่สุดจนถึง ระดับพรี เมี่ยม เรามุ่งมันพัฒนาสิ นค้าตราบิ๊กซี อย่างต่อเนื่ อง เพื่อให้ตรงกับความต้องการที่เปลี่ยนแปลงของ ่ ลูกค้าและเราได้เปิ ดตัวสิ นค้านาเข้าระดับพรี เมี่ยม ตราคาสิ โน โดยมีการจัดจาหน่ายในสาขาของบิ๊กซี เอ็กตร้า คุณภาพสิ นค้ าและบริการ: นอกจากราคาที่ประหยัดสุ ดแล้ว เรายังมุ่งเน้นคุณภาพของสิ นค้าซึ่ งเป็ นสิ่ งสาคัญ มาก เรามุ่งมันที่จะนาเสนอผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีให้กบลูกค้า ภายใต้ความร่ วมมือของทีมงานที่มี ่ ั ั ประสบการณ์ นอกจากนี้เรายังสร้างความมันใจให้กบลูกค้า โดยนาเสนอโปรแกรมการรับคืนสิ นค้าอาหาร ่ สด หากคุณภาพของสิ นค้าไม่ตรงกับความคาดหวังของลูกค้า บริการเสริม: บิ๊กซี มุ่งมันพัฒนาบริ การเสริ มอื่นๆ ให้แก่ลูกค้า เช่น ช้อปปิ้ งออนไลน์ที่อานวยความสะดวก ่ ั ให้กบลูกค้าในการสั่งซื้ อผ่านระบบออนไลน์ และลูกค้าสามารถรับสิ นค้าด้วยตัวเอง หรื อขอให้จดส่ งสิ นค้า ั ั ให้กบลูกค้าโดยตรง ส่ งเสริมความความสั มพันธ์ : ความสัมพันธ์อนดีระหว่างเรากับลูกค้า เป็ นสิ่ งที่เราให้ความสาคัญมาก เรามี ั การพัฒนา บัตรบิ๊กการ์ ด บัตรสมาชิกที่ลูกค้าสามารถมีส่วนร่ วม เพลิดเพลิน สนุกสนานไปกับคูปองส่ วนลด
  • 17. เงินสดและส่ วนลดสิ นค้าราคาสมาชิกในแต่ละสัปดาห์ ปั จจุบนเรามีสมาชิกมากกว่าหกล้านสมาชิกและยังคง ั เพิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่ งส่ งผลให้สัดส่ วนยอดขายจากสมาชิกเพิมขึ้นจาก 25% ในปี พ.ศ.2552 เป็ นมากกว่า ่ ่ 65% ในปั จจุบน ปริ มาณการซื้ อสิ นค้าของสมาชิกในแต่ละครั้งนั้นสู งกว่าเกือบสองเท่าตัว ั เมื่อเทียบกับลูกค้าทัวไป ่ การวิเคราะห์ ตลาด (Market Analysis) ส่ วนแบ่ งตลาด (Market share) ซุ ปเปอร์ มาร์ เก็ตยักษ์ใหญ่ ลงนามซื้ อกิจการคาร์ ฟูร์ในประเทศไทยมูลค่า 868 ล้านยูโร หรื อประมาณ 35,500 ล้านบาท สถานการณ์การแข่งขันในธุ รกิจค้าปลีกรุ นแรงขึ้น เพราะผูประกอบการในตลาดลดลง และทา ้ ให้บิ๊กซี มีความแข็งแกร่ งมากขึ้น กรุ งเทพฯ รายงานข่าวจากคาสิ โน กรุ๊ ป ผูดาเนินธุ รกิจค้าปลีกจากประเทศ ้ ้ ้ ั ่ ฝรั่งเศส และผูถือหุ นใหญ่ในบริ ษท บิ๊กซี ซูเปอร์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) แจ้งว่า เมื่อวันที่ 15 พ.ย.ที่ผานมา ทางคาสิ โน กรุ๊ ป ได้ลงนามในสัญญากับบริ ษท บิ๊กซี ซูเปอร์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) เพื่อขายกิจการคาร์ ฟูร์ ั ในประเทศไทยมูลค่า 868 ล้านยูโร หรื อประมาณ 35,500 ล้านบาท คิดเป็ น 120% ของยอดขายสุ ทธิและเป็ น 13.0x EBITDA ซึ่ งการทาธุ รกรรมครั้งนี้คาดว่าจะเสร็ จสมบูรณ์และทางบิ๊กซี จะเข้ามาบริ หารกิจการของคาร์ ฟูร์ได้ช่วงสัปดาห์แรกในเดือนม.ค.54 ทั้งนี้ คาสิ โน กรุ๊ ป ได้ซ้ื อกิจการคาร์ ฟูร์เฉพาะในประเทศไทย และภายหลังการเข้ามาบริ หารแล้วจะทาให้มี สาขาไฮเปอร์ มาร์ เก็ตในเครื อจานวน 101 แห่ง แบ่งเป็ นสาขาไฮเปอร์ มาร์ เก็ตบิ๊กซี 69 สาขา และคาร์ฟูร์ 42 สาขา ทาให้มีจานวนสาขามากกว่าเทสโก้ โลตัส ที่มี 87 แห่ง และกลายเป็ นผูนาธุ รกิจค้าปลีกแบบไฮเปอร์ ้ ่ มาร์ เก็ต ส่ วนชื่ อธุ รกิจจะใช้ชื่อใดอยูระหว่างพิจารณา รวมทั้งบุคลากรที่มีประมาณ 7,000 คนจะโอนย้าย อย่างไร เงินลงทุนซื้ อกิจการจะมาจากเงินทุนหมุนเวียนภายในของบิ๊กซี และการขอสิ นเชื่อจากธนาคาร คาด ว่าจะส่ งผลต่อผลประกอบการบิ๊กซี ต้ งแต่ปีหน้า และเมื่อธุ รกิจค้าปลีกไฮเปอร์ มาร์ เก็ตคาดว่าจะมีรายได้ ั รวมถึง 100,000 ล้านบาทในปี นี้ โดยจะนาเสนอเรื่ องการเข้าซื้ อกิจการเพื่อขออนุมติจากผูถือหุ นบิ๊กซี ในการ ั ้ ้ ประชุมวิสามัญผูถือหุ ้นในวันที่ 5 ม.ค.54 คาดว่าจะดาเนิ นการซื้ อกิจการแล้วเสร็ จภายในต้นปี ซึ่ งผลรับจาก ้ การควบรวมจนถึงวันที่คาดว่าจะแล้วเสร็ จภายในปี คิดเป็ นมูลค่าประมาณ 1.2%
  • 18. ั ผลดีในแง่การแข่งขันค้าปลีกรายใหญ่กบเทสโก้ โลตัส โดยไม่ขดกฎหมายแข่งขันทางการค้า เพราะส่ วน ั แบ่งการตลาด (มาร์ เก็ตแชร์ ) ของบิ๊กซี และคาร์ ฟูร์รวมกันเพิมขึ้นเป็ น 33% ไม่ถึง 50% เทียบกับเทสโก้มี ่ 41% ยังถือว่าเป็ นไปภายใต้กฎหมายแข่งขันทางการค้า พ.ศ.2542 ที่กาหนดให้ผที่มีอานาจเหนื อตลาดมีส่วน ู้ แบ่งการตลาดไม่ต่ากว่า 50% หรื อรวมกัน 2 และ 3 ราย มีมาร์ เก็ตแชร์ 75% ซึ่งกระทรวงพาณิ ชย์จะดูแลเรื่ อง ความเป็ นธรรมทางการค้าใกล้ชิด หากนามาร์ เก็ตแชร์ ของโมเดิร์นเทรดรายใหญ่ คือ เทสโก้ บิ๊กซี ที่รวมกับ คาร์ ฟูร์ แล้วรวมกับแม็คโครที่มีมาร์ เก็ตแชร์ 24% จะทาให้เกิน 75% กระทรวงพาณิ ชย์สามารถเข้าไปดูแล เพื่อไม่ให้มีการใช้อานาจเหนื อตลาด มูลค่ าตลาด (Market size) ซูเปอร์ เซ็นเตอร์ ท่ีมียอดขายเกือบ 5 หมื่นล้านบาทต่อปี และมีเฮ้าส์แบรนด์ของตัวเองชื่อ “Leader Price” ที่ ขายถูกกว่าสิ นค้ายีหออื่น 15-20% ภายใต้ช่องทางจาหน่ายของตัวเองรวม 36 สาขา และการเปิ ดสาขาราชดาริ ่ ้ ซึ่งกลายเป็ น Flagship ทาให้ภาพของบิ๊กซี กลายเป็ นซูเปอร์ เซ็นเตอร์ ที่ทนสมัยใกล้เคียงห้างสรรพสิ นค้าไป ั ทันที ราคาหุน ณ เวลาปัจจุบน ้ ั ณ เวลาทาการซื้ อขายของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชื่อย่อหุ น: ้ BIGC สกุลเงิน: THB ราคาล่าสุ ด: 118.50 ปริ มาณซื้ อขาย (หุ ้น): 859,300 เปลี่ยนแปลง -1.50 % เปลี่ยนแปลง -1.25% ราคาเสนอซื้ อ / ปริ มาณ 118.5 / 17,000 (หุน): ้ ราคาเสนอขาย / ปริ มาณ 119 / 10,400
  • 19. (หุน): ้ วันก่อนหน้า: 120.00 ราคาเปิ ด: 119.50 ช่วงราคาระหว่างวัน: 118.00 - 121.50 ช่วงราคาใน 52 สัปดาห์: 74.00 - 136.00 ปรับปรุ งเมื่อ: 10 กุมภาพันธ์ 2555 17:09 Intraday Chart คู่แข่งขัน (Competitors) คู่แข่งสาคัญของบิ๊กซี คือ เทสโก้โลตัส และคาร์ ฟูร์ ขณะที่แม็คโครเป็ นคู่แข่งทางอ้อม มีการแข่งขันเพิ่มขึ้น ในช่วงปี 2552 โดยมุ่งเน้นอย่างต่อเนื่องในเรื่ องการขยายธุ รกิจสู่ ต่างจังหวัดและการส่ งเสริ มการขายด้วยเรื่ อง ของราคา สถานการณ์ในเชิงแข่งขันยังมีจุดเด่นอยูที่การมุ่งเน้นการขยายรู ปแบบการค้าปลีกมากยิงขึ้นโดย ่ ่ คู่แข่งสาคัญทุกราย เพื่อที่จะพุงเป้ าหมายไปยังทาเลที่ต้ งที่มีความพิเศษหรื อส่ วนของผูบริ โภค ่ ั ้ จากกราฟแสดงว่าปลายปี 2552 บิ๊กซี มีจานวนสาขาทั้งสิ้ น 67 สาขา โดยเป็ นสาขาเปิ ดใหม่ระหว่างปี 2552 1สาขา เทสโก้โลตัสมีสาขาทั้งหมด 114 สาขา(รวมร้านคุมค่า) โดยเป็ นสาขาใหม่ 5 สาขา ้
  • 20. 6 W 1H Who: เจาะกลุ่มลูกค้าแม่บานเพราะกลุ่มแม่บานเป็ นกลุ่มที่ตดสิ นใจเด็ดขาด ้ ้ ั ั What: เน้นความสะดวกสบายในการบริ การที่ดีที่สุดให้กบลูกค้าเน้นสิ นค้าอุปโภคบริ โภคที่มีคุณภาพและ ราคาประหยัด When: ทุกช่วงที่มีโอกาสและในเทศกาลวันหยุด Why: เน้นในเรื่ องความสะดวกสบายเร็ วทันใจและตอบสนองความต้องการในด้านการบริ โภคมากที่สุด Where:ตามห้าง บิ๊กจัมโบ้ 1 สาขา บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า15บิ๊กซี 92 รวม 108 สาขาโดยแบ่งไปตมพื้นที่แต่ละ จังหวัดแยกในกรุ งเทพและปริ มณฑล 48 สาขา และในต่างจังหวัดอีก 60 สาขา Who: ผูมีอิทธิ พลในการซื้ อส่ วนใหญ่เพราะแม่บานเป็ นกลุ่มที่ตดสิ นใจอย่างเด็ดขาดและเป็ นผูมีอิทธิ พลใน ้ ้ ั ้ การซื่อสิ นค้าบริ โภคมากที่สุด How: เป็ นการตัดสิ นใจที่ต่างกัน เพราะรสนิยมไม่เหมือนกันหรื อถ้ามีของแจกแถมหรื อลดโปรโมชันอาจจะ ่ ตัดสิ นใจรวมกัน STP (การแบ่ งส่ วนตลาด,การกาหนดเปาหมาย,การวางตาแหน่ งผลิตภัณฑ์ ) ้ Segmentation (การแบ่ งส่ วนตลาด) - ด้ านภูมิศาสตร์ (Geographic) ภาคเหนือ , ภาคกลาง , ภาคใต้ ภาคตะวันออก , ภาคตะวันตก เป็ นต้น - ด้ านประชากรศาสตร์ (Demographic) ชาย , หญิง ต่ากว่า 6 ขวบ , 6-11 , 12-19 ,20-34 35-49 , 50-64 ปี 65 ปี ขึ้นไป 1-3 คน , 4-6 คน , 7-9 คน โสด , แต่งงานแล้ว ่ - ด้ านจิตวิทยา(Psychographic) ชนชั้นสู ง ชนชั้นกลาง ชนชั้นต่า เป็ นระเบียบ , อยูอย่างง่ายๆ , สงบเสงี่ยม - ด้ านพฤติกรรมศาสตร์ (Behavior Toward Product) ซื้ อเป็ นประจา , ซื้ อเพื่อเป็ นของขวัญ ซื้ อในกรณี พิเศษ ประหยัด , สะดวก , หรู หรา ไม่เคยใช้ , ใช้ปานกลาง , ใช้เป็ นประจา ใช้จานวนน้อย , ใช้ปานกลาง , ใช้จานวนมาก ไม่ภกดี , ปานกลาง ,มากแลตลอดไป ไม่รู้จก , รู้จก ,หาข้อมูล ,สนใจ ,อยากได้ ตั้งใจซื้ อ ั ั ั สนใจ , เชิงบวก , เชิงลบ ,เกลียด , ไม่แตกต่าง
  • 21. Target market (การกาหนดตลาดเปาหมาย) ้ กลุ่มเป้ าหมายหลักคือ กลุ่มคนที่ชอบความสะดวกสบายด้านสิ นค้าอุปโภคและบริ โภค เช่น สิ นค้าที่เป็ น อาหารสด หรื อ อาหารสด,อาหารแห้ง,เสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย,เครื่ องใช้ไฟฟ้ า,อุปกรณ์และ เครื่ องใช้ภายในบ้าน เป็ นต้น Positioning map (การวางตาแหน่ งผลิตภัณฑ์ ) บริการดี ราคาประหยัด ราคาปานกลาง บริการปานกลาง วิเคราะห์ 4 P ‘ S
  • 22. ผลิตภัณฑ์ ( Product ) อาหารสด: จาหน่ายเนื้ อสัตว์ อาหารทะเล ผลไม้ ผักสด อาหารทั้งแบบพร้อมปรุ งและพร้อม รับประทาน อาหารแช่แข็ง ผลิตภัณฑ์นม เบเกอรี่ และเครื่ องเทศต่างๆ อาหารแห้ ง: จาหน่ายเครื่ องปรุ งอาหาร เครื่ องดื่ม น้ าอัดลม สุ รา ขนมขบเคี้ยว ผลิตภัณฑ์ของใช้ส่วนตัว ผลิตภัณฑ์ทาความสะอาด อาหารสัตว์ และอุปกรณ์สัตว์เลี้ยง เสื้อผ้าและเครื่องแต่ งกาย: จาหน่ายเสื้ อผ้าและเครื่ องตกแต่งสาหรับบุรุษ สตรี เด็ก และทารก รวมถึงรองเท้า และกระเป๋ าด้วย เครื่องใช้ ไฟฟา: จาหน่ายอุปกรณ์เครื่ องใช้ไฟฟ้ าภายในบ้านหลากชนิด เครื่ องใช้ไฟฟ้ าสาหรับงานครัว เครื่ อง ้ เสี ยง เทป ซีดี เครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สาหรับคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ และเครื่องใช้ ภายในบ้ าน: จาหน่ายเฟอร์ นิเจอร์ เครื่ องครัว เครื่ องใช้พลาสติก ของตกแต่งบ้าน เครื่ อง นอน อุปกรณ์ซ่อมแซมและบารุ งรักษาบ้าน อุปกรณ์ประดับยนต์ อุปกรณ์กีฬา และของเล่นต่างๆ ราคา (Price) ราคา ขายถูกกว่าสิ นค้ายีหออื่น 15-20 % ่ ้ ช่ องงทางจัดจาหน่ าย (Place) - บิ๊กซี ซูเปอร์ เซ็นเตอร์ - บิ๊กซี มาร์ เก็ต - บิ๊กซี จัมโบ้ - บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า การส่ งเสริมการตลาด (Promotin)
  • 23. - การโฆษณา(Advertising) เช่น โฆษณาผ่านทางทีวี,วิทยุ,ใบปลิว,หนังสื อพิมพ์ - การตลาดทางตรง (Direct Marketing) เช่น จดหมาย โทรศัพท์ - การส่ งเสริมการขาย (Sale Promotion) เช่น บิ๊กการ์ ด ลด แลก แจก แถม - การส่ งเสริมการตลาด ณ จุดขาย P.O.P. (Point-Of-Purchase) เช่น การติดป้ ายโฆษณาตรงชั้นวาง สิ นค้า - Online Marketing เช่น การทาผ่านโฆษณา Website การส่ ง SMS สรุ ป บริ ษท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) (ชื่อย่อ BIG C) เป็ นผูประกอบการค้าปลีกสิ นค้า ั ้ เพื่อผูบริ โภคชั้นนาแห่งหนึ่งของประเทศไทย ภายใต้ชื่อ บิ๊กซี ซูเปอร์ มาร์ เก็ต บริ ษทจาหน่ายสิ นค้าคุณภาพ ้ ั ดีราคาถูกหลากหลายประเภทในร้านค้าปลีกสมัยใหม่ในการดาเนิ นธุ รกิจภายใต้สโลแกน “เราให้คุณ มากกว่าคาว่าราคาถูก” บิ๊กซี มุ่งมันที่จะมอบคุณค่าสู งสุ ดแก่ลูกค้าผ่านราคาที่ถูก สิ นค้าและบริ การที่มีให้ ่ เลือกสรรมากมาย บรรยากาศที่มีความสะอาดและเอื้ออานวยความสะดวกในการเลือกซื้ อสิ นค้า ตลอดจน บริ การที่โดดเด่น มีพนักงานกว่า 16,000 คน หลักการสาคัญประการหนึ่งของบริ ษทคือการเป็ นองค์กรธุ รกิจ ั ที่เป็ นพลเมืองดีของประเทศ ซึ่ งสร้างคุณประโยชน์แก่สังคม ในขณะเดียวกันก็มอบคุณประโยชน์ต่างๆ แก่ ลูกค้า พนักงาน และผูถือหุ น เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายนี้ บิ๊กซี จึงสนับสนุนกิจกรรมการกุศลและกิจกรรมเพื่อ ้ ้ ชุมชนที่จดขึ้นในพื้นที่ท่ีดาเนิ นธุ รกิจและได้ดาเนินการผ่านมูลนิธิบิ๊กซี ั บทวิเคราะห์ การควบรวมกิจการของบิ๊กซี และคาร์ ฟูร์ในครั้งนี้ จะทาให้สถานการณ์การแข่งขันในธุ รกิจค้าปลีกรุ นแรงขึ้น เพราะผูประกอบการในตลาดลดลง และทาให้บิ๊กซี มีความแข็งแกร่ งมากขึ้น เพราะจะกลายเป็ นกลุ่มค้าปลีกที่ ้ มีขนาดใหญ่ข้ ึนใกล้เคียงกับเบอร์ หนึ่งในตลาด