SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 33
Descargar para leer sin conexión
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา ก้านจักร
issaraka@kku.ac.th
Issara BT
ผู้อานวยการสานักนวัตกรรมการเรียนการสอน
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Teaching Smart for 21st :
Instructional Design for
Innovative Learning Environment
Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment
อะไรคือทักษะที่จาเป็นสาหรับการ
เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
อะไรคือ Innovative Learning
environment
เราจะออกแบบการสอนอย่างไร
ประเด็นในการแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์ครั้งนี้
Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment
What is Technology ?
“The systematic application of scientific or other
organization knowledge to practical tasks”
(Gallbraith, 1967)
What is Instructional
Technology ?
“Applying scientific knowledge about
human learning to the practical tasks
of teaching and learning” (Heinich,
Molenda, & Russell, 1993)
Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment
Technology
Instructional Technology
Research
And
theory
Practical
Problems
Learning
Research
And
theory
Practical
Teaching
and
Learning
Problems
Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment
The role
of
Instruction
Use instructional
technologies in way
that maximize
students’ learning
Instructional design
The process of translating principles
of learning and instruction into plans
for instructional materials and
activities (Smith & Ragan, 1999)
Instructional Media
A means by which information can be
delivered to a learner (Heinich et al.,
1993)
Instructional Computing
The use of the computer in the
design, development, delivery, and
evaluation of instruction. (Newby et
al., 2000)
Research Practice
Theory
into
Practice
Design
Develop
UtilizationManagement
Evaluate
Process Resources
Facilitating Learning
+
Improving Performance
+
Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment
อะไรคือทักษะที่จาเป็นสาหรับ
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21เป็ น
เรื่องที่ซับซ้อน เนื่องจากความเป็ น
โลกาภิวัฒน์ เทคโนโลยี การอพยพ
ย้ายถิ่น การแข่งขันในระดับ
นานาชาติ การตลาดที่เปลี่ยนแปลง
และความท้าทายทางการเมืองและ
สภาพแวดล้อม
Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment
อะไรคือทักษะที่จาเป็นสาหรับการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21
Asia
Society
(2012)
Ways of Thinking
Ways of Working
Tools for Working
Living in the World
ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม
การคิดอย่างมีวิจารญาณ การแก้ปัญหา
การตัดสินใจ และการรู้วิธีการเรียนรู้
การสื่อสาร และ การทางานเป็นทีม
ความรู้ทั่วไป และการรู้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
ความเป็นพลเมือง ชีวิตและอาชีพ ความ
รับผิดชอบต่อบุคคลและสังคม ความ
ตระหนักต่อวัฒนธรรม และสมรรถนะ
Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment
การเปลี่ยนผ่าน (Transforming)
ที่สาคัญของสังคมโลก
ระบบเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
ระบบเศรษฐกิจที่ใช้ความรู้เป็น
ฐานและเศรษฐกิจสร้างสรรค์
การใช้แรงงาน การใช้สมองและปฏิสัมพันธ์
การเรียนรู้ตลอดชีวิตและนวัตกรรม
สร้างคุณลักษณะของผู้เรียนที่สามารถสนองตอบต่อความ
เปลี่ยนแปลงให้มีทักษะที่สาคัญ
ปัจจเจกชน (Individual) มืออาชีพ (Processionals)
OEDC economies (2010)
Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment
อะไรคือ Innovative Learning environment
Traditional Classroom Creative classroom
Innovative Learning environmentPassive Learning environment
Innovative
pedagogies
ICT+
เปลี่ยนมาสู่
European Commission (2012)
Content Learner
Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้แบบดั้งเดิม สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้แบบใหม่
การสอนที่เน้นครูเป็นศูนย์กลาง การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
สื่อแบบเดี่ยว สื่อหลายมิติ
ทางานคนเดียว ร่วมมือกันทางาน
การขนส่งสารสนเทศ การแลกเปลี่ยนสารสนเทศ
การเรียนแบบรอรับ การเรียนแบบตื่นตัว/สารวจความรู้/
สืบเสาะความรู้เป็นฐาน
การเรียนที่ใช้ความรู้เป็นฐาน การตัดสินใจบนพื้ นฐานของสารสนเทศ
และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
การเรียนที่ปราศจากบริบท การเรียนที่เกี่ยวข้องกับสภาพบริบทจริง
เป็นฐาน
อะไรคือ Innovative Learning environment
Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment
วิธีการ
(Method)
ICT
(Media)
การเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา
การเรียนรู้แบบโครงงาน
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้ที่ใช้การบริการวิชาการเป็นฐาน
จัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน
-มัลติมีเดีย
ข้อความ, ภาพนิ่ง, วีดิโอ,
การมีปฏิสัมพันธ์
Learner
Learning
result
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
อะไรคือ Innovative Learning environment
Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment
Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment
อะไรคือ ความรู้ที่จาเป็นสาหรับ
Innovative teacher
Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment
บทบาทของผู้สอนจึงต้องเป็ น
นักออกแบบการสอน
(Instructional designer)
ออกแบบเทคโนโลยี
สร้าง option ในการเรียนรู้
กิจกรรม
แหล่ง
เรียนรู้
แหล่ง
สนับสนุน
เครื่องมือ
แบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการอบรมออกเป็น 20
กลุ่มๆละ 10 คน ดังนี้
Home Group:
สมาชิกในแต่ละกลุ่มแบ่ง
ออกเป็นกลุ่มย่อย 2 คน
สมาชิกกลับเข้ากลุ่มเพื่อนาความรู้ที่ตนเองได้
ศึกษาใน expert group ไปถ่ายทอดให้
สมาชิกใน Home group เกิดความเข้าใจ
สมาชิกแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานและสะท้อน
ผลร่วมกันทั้งชั้น
Presentation & Reflection
Expert Group:
สมาชิกแต่ละคนเข้าไป
ศึกษายังศูนย์การเรียนรู้
A
B
C
A
B
C
A
B
C
A
A
A
B
B
B
C
C
C
ภารกิจการสร้างความรู้ ที่ 1
Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment
กาหนดให้เวลาในการปฏิบัติกิจกรรมประมาณ 30 นาที
โดยปฏิบัติภารกิจในการศึกษา ดังนี้
 วิเคราะห์จุดเด่นของรูปแบบ
 กระบวนการของรูปแบบ
 วิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างรูปแบบการสอนกับการ
พัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ภารกิจการสร้างความรู้ ที่ 1
Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment
การออกแบบการเรียนรู้
O
L
E
Objective
Learning
Evaluation
พฤติกรรมการเรียนรู้ที่กาหนดตาม
Learning outcome
กิจกรรม/วิธีการที่จะพัฒนา
Learning outcome
การวัดผลว่า Learning outcome
เกิดขึ้ นระดับใด
Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment
การตั้งวัตถุประสงค์
จะเป็นวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
O
Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment
การตั้งวัตถุประสงค์O
Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment
รูปแบบการจัดการเรียนรู้L
Active learning refers to techniques where students
do more than simply listen to a lecture. Students are
DOING something including discovering, processing,
and applying information. Active learning "derives
from two basic assumptions:
(1) that learning is by nature an active endeavor
(2) that different people learn in different ways
(Meyers and Jones, 1993).
Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment
Changes in Teacher Role
A shift from: A shift to:
Knowledge transmitter, primary source of
information, content expert, and source of all
answers
Learning facilitator, collaborator, coach,
mentor, knowledge navigator, and co-learner
Teacher controls and directs all aspects of
learning
Teacher gives students more options and
responsibilities for their own learning
Changes in Student Role
A shift from: A shift to:
Passive recipient of information. Active participant in the learning process.
Reproducing knowledge. Producing and sharing knowledge,
participating at times as expert.
Learning as a solitary activity. Learning collaboratively with others
Teacher and learner change in a Learner-centered environment
1 การจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา
รูปแบบ ผลลัพธ์ ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ วิธีการประเมิน
การจัดการ
เรียนรู้แบบ
กระบวนการ
แก้ปัญหา
•ทักษะทาง
ปัญญา
•ความรู้
•ทักษะการ
วิเคราะห์เชิง
ตัวเลข และ ICT
•ทักษะ
ความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล
1. ผู้สอนกาหนดและนาเสนอปัญหาตาม
สภาพจริง พร้อมทั้งอธิบายถึงความ
ต้องการในการแก้ปัญหา
2. ผู้เรียนดาเนินการแก้ปัญหาตาม
ขั้นตอนดังนี้
(1) วิเคราะห์ปัญหา (2) การตั้งสมติ
ฐาน (3) การเก็บรวบรวมข้อมูล (4)
วิเคราะห์ข้อมูล (5) สรุปผลการ
แก้ปัญหาและตรวจสอบความถูกต้อง
3. ผู้สอนกาหนดให้ผู้เรียนนาเสนอวิธีการ
แก้ปัญหาและคาตอบ วิพากษ์ผลงาน
และร่วมกันสรุปความรู้
การสังเกตพฤติกรรมการ
แก้ปัญหา
การตรวจสอบความ
ถูกต้องของคาตอบและ
วิธีการแก้ปัญหา
การประเมินตนเอง
การประเมินโดยเพื่อน
รูปแบบ ผลลัพธ์ ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ วิธีการประเมิน
การจัดการ
เรียนรู้แบบใช้
ปัญหาเป็นฐาน
•ทักษะทาง
ปัญญา
•ความรู้
•ทักษะการ
วิเคราะห์เชิง
ตัวเลข และ ICT
•ทักษะ
ความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล
1. ผู้สอนกาหนดและนาเสนอปัญหาตาม
สภาพจริง
2. ผู้เรียนทาความเข้าใจปัญหา โดยการ
ระดมสมองร่วมกัน
3. ผู้เรียนดาเนินการศึกษาค้นคว้าจาก
เอกสารประกอบการสอนและแหล่ง
เรียนรู้ internet
4. ผู้เรียนสังเคราะห์และสรุปองค์ความรู้
โดยจัดทาเป็นแผนที่ความคิด และ
power point
5. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงาน โดย
มีผู้สอนร่วมวิพากษ์
การสังเกตพฤติกรรม
การทดสอบ
การประเมินแผนที่
ความคิด
การประเมินการนาเสนอ
2 การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
รูปแบบ ผลลัพธ์ ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ วิธีการประเมิน
การจัดการ
เรียนรู้แบบ
สร้างองค์
ความรู้
•ทักษะทาง
ปัญญา
•ความรู้
•ทักษะการ
วิเคราะห์เชิง
ตัวเลข และ ICT
•ทักษะ
ความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล
1. ผู้สอนบรรยายสาระสาคัญของเนื้อหา
และทบทวนความรู้เดิมที่เกี่ยวข้อง
2. ผู้เรียนทาความเข้าใจรายละเอียด
เนื้อหาโดยการศึกษาจากเอกสารหรือ
ใบความรู้ แล้วสรุปเป็นความเข้าใจ
ของตนเอง
3. จัดให้ผู้เรียนแลกเปลี่ยนและนาเสนอ
ความเข้าใจของตนเองและเพื่อน
4. ผู้เรียนนาข้อคิดที่ได้มาปรับและสรุป
เป็นความเข้าใจใหม่โดยขยาย
รายละเอียดที่ได้จากการแลกเปลี่ยน
5. ผู้สอนนาเสนอบริบทใหม่ที่ให้นา
ความรู้ที่ได้ไปใช้ในการอธิบายสิ่งที่
เกิดขึ้น
การสังเกตพฤติกรรม
การทดสอบ
การสัมภาษณ์
3 การจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้
รูปแบบ ผลลัพธ์ ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ วิธีการประเมิน
การจัดการ
เรียนรู้แบบ
โครงงาน
•คุณธรรม
จริยธรรม
•ทักษะทาง
ปัญญา
•ความรู้
•ทักษะการ
วิเคราะห์เชิง
ตัวเลข และ ICT
•ทักษะ
ความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล
1. ผู้เรียนศึกษาเอกสารความรู้และ
ค้นหาประเด็นที่สนใจ เพื่อเป็น
พื้นฐานในการวางแผน
2. ผู้เรียนร่วมกันวางแผนการดาเนินงาน
อภิปราย ระดมสมองเพื่อหาข้อสรุป
3. ผู้เรียนปฏิบัติการตามแผนที่วางไว้ มี
การบันทึกผล ปัญหา อุปสรรค และ
แนวทางแก้ไข
4. กาหนดให้ผู้เรียนรายงาน
ความก้าวหน้าเป็นระยะและมีการ
สะท้อนผล
5. การประเมินผลตามสภาพจริงและ
จัดทารายงานเผยแพร่/นาเสนอ
การสังเกตพฤติกรรม
การทดสอบ
การประเมินโดยเพื่อน
การประเมินรายงาน
โครงงาน
การประเมินการนาเสนอ
5 การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน
รูปแบบ ผลลัพธ์ ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ วิธีการประเมิน
การจัดการ
เรียนรู้แบบ
ประสบการณ์ที่
เน้นการปฏิบัติ
•คุณธรรม
จริยธรรม
•ทักษะทาง
ปัญญา
•ความรู้
•ทักษะการ
วิเคราะห์เชิง
ตัวเลข และ ICT
•ทักษะ
ความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล
1. ผู้สอนนาเสนอภารกิจและแนว
ทางการทากิจกรรม
2. ผู้เรียนลงมือปฏิบัติจริงในพื้นที่หรือ
สภาพแวดล้อมเพื่อค้นหาและตอบ
ภารกิจ
3. ผู้เรียนแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้
ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการซักถาม
รายละเอียดเพิ่มเติมเพื่อให้ได้
ข้อเท็จจริงที่ชัดเจน
4. ผู้เรียนสรุปสิ่งที่ได้ศึกษาอ้างอิงสู่
หลักการทางวิชาการ
5. ผู้เรียนนาความรู้ที่ไปใช้ในชีวิตจริง
การสังเกตพฤติกรรม
การทดสอบ
การรายงานผลการปฏิบัติ
การสอบปฏิบัติ
6 การจัดการเรียนรู้แบบประสบการณ์ที่เน้นการปฏิบัติ
รูปแบบ ผลลัพธ์ ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ วิธีการประเมิน
การจัดการ
เรียนรู้แบบ
ร่วมมือ
•คุณธรรม
จริยธรรม
•ทักษะทาง
ปัญญา
•ความรู้
•ทักษะการ
วิเคราะห์เชิง
ตัวเลข และ ICT
•ทักษะ
ความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล
1. ผู้สอนนาเสนอภารกิจและปัญหาใน
การทากิจกรรม
2. ผู้เรียนแบ่งกลุ่มตามที่กาหนดและมี
การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในฐานะ
สมาชิกกลุ่ม
3. ผู้เรียนร่วมมือกันสืบเสาะ ค้นหาและ
สร้างผลงานกลุ่ม
4. ผู้เรียนสรุปและนาเสนอผลการเรียนรู้
การสังเกตพฤติกรรม
การทดสอบ
การนาเสนอผลงาน
9 การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ
รูปแบบ ผลลัพธ์ ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ วิธีการประเมิน
การจัดการ
เรียนรู้ที่ใช้การ
บริการวิชาการ
เป็นฐาน
•คุณธรรม
จริยธรรม
•ทักษะทาง
ปัญญา
•ความรู้
•ทักษะการ
วิเคราะห์เชิง
ตัวเลข และ ICT
•ทักษะ
ความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล
1. ผู้สอนอธิบายเชื่อมโยงความรู้และ
วิธีการจัดกิจกรรม บทบาทผู้เรียน
และผลงาน
2. ผู้เรียนลงพื้นที่เพื่อศึกษาความ
ต้องการของชุมชน และประสาน
ความร่วมมือ
3. ผู้เรียนกาหนดองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง
4. ผู้เรียนจัดทาข้อเสนอโครงการบริการ
วิชาการ/แผนการดาเนินงาน
5. ลงพื้นที่ดาเนินการบริการวิชาการ
6. ประเมินการดาเนินกิจกรรม
7. การสะท้อนผลกิจกรรมและถอด
บทเรียน
8. สรุปองค์ความรู้ และเผยแพร่
การสังเกตพฤติกรรม
การทดสอบ
การนาเสนอผลงาน
การสัมภาษณ์
การประเมินความพึง
พอใจของชุมชน
11 การจัดการเรียนรู้ที่ใช้การบริการวิชาการเป็นฐาน
Active Learning
ด้านคุณธรรม
จริยธรรม
ด้านความรู้
ด้านทักษะทาง
ปัญญา
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคลและความรับผิดชอบ
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
การสื่อสาร และการใช้ICT
เนื้อหาวิชา
ชั้นเรียน

วิธีการ
เทคโนโลยี
=
Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment
การสร้างประสบการณ์ก่อนเข้าชั้นเรียน
นักศึกษาศึกษาเนื้อหาล่วงหน้าจากเอกสาร
ประกอบการสอน, web-based learning
สรุปความเข้าใจเป็น concept map ด้านความรู้
ด้านทักษะทางปัญญา
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคลและความรับผิดชอบ
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
การสร้างประสบการณ์ในชั้นเรียน
บรรยายนาเพื่อให้ concept ผ่านสื่อการเรียนรู้ต่างๆ
การตั้งคาถามเพื่อให้นักศึกษาแสดงแนวคิด
นักศึกษาบันทึกความเข้าใจของตนเองลงในเอกสาร
ผู้สอนทดสอบความเข้าใจ โดยให้นักศึกษาตอบ
คาถามลงในกระดาษ
นักศึกษาแลกกันตรวจแบบทดสอบ โดยผู้สอนเฉลย
และร่วมอภิปรายคาตอบ
การสร้างประสบการณ์หลังเรียน
สรุปความเข้าใจเป็น concept map ส่งผ่านสื่อ ICT
ความซื่อสัตย์ อารมณ์ การยอมรับผู้อื่น
การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การ
ตีความ
รับผิดชอบในการเรียนรู้ของตนเอง
การแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น
การสร้างประสบการณ์ก่อนเข้าชั้นเรียน
นักศึกษาศึกษาเนื้อหาล่วงหน้าจากเอกสาร
ประกอบการสอน, web-based learning
สรุปความเข้าใจเป็น concept map ด้านความรู้
ด้านทักษะทางปัญญา
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคลและความรับผิดชอบ
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
การสร้างประสบการณ์ในชั้นเรียน
บรรยายนาเพื่อให้ concept ผ่านสื่อการเรียนรู้ต่างๆ
ศึกษาสถานการณ์ปัญหาหรือกรณีศึกษา
การสร้างประสบการณ์หลังเรียน
สรุปความเข้าใจเป็น concept map ส่งผ่านสื่อ ICT
ร่วมมือกันแก้ปัญหาเป็นกลุ่ม ค้นหาคาตอบจาก
แหล่งเรียนรู้ ICT
การนาเสนอแนวทางแก้ปัญหา กาหนดบทบาทให้
เพื่อนในชั้นถาม ชมเชย วิพากษ์ และประเมิน
ความซื่อสัตย์ อารมณ์ การยอมรับผู้อื่น
การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การ
ตีความ การวางแผน การแก้ปัญหา
รับผิดชอบในการเรียนรู้ของตนเอง
การแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น ทีม
การสร้างประสบการณ์ก่อนเข้าชั้นเรียน
นักศึกษาศึกษาเนื้อหาล่วงหน้าจากเอกสาร
ประกอบการสอน, web-based learning
สรุปความเข้าใจเป็น concept map ด้านความรู้
ด้านทักษะทางปัญญา
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคลและความรับผิดชอบ
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
การสร้างประสบการณ์ในชั้นเรียน
บรรยายนาเพื่อให้ concept หรือนาเสนอตัวอย่าง
งาน ผลงานต้นแบบ
นักศึกษาวิเคราะห์ต้นแบบและฝึกปฏิบัติตาม
การสร้างประสบการณ์หลังเรียน
การเผยแพร่ผลงานผ่านแหล่งต่างๆ เช่น สื่อสังคม
ความซื่อสัตย์ อารมณ์ การยอมรับ
ผู้อื่น การไม่คัดลองผลงาน
การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การ
ตีความ การวางแผน การแก้ปัญหา
รับผิดชอบในการเรียนรู้ของตนเอง
การแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น ทีม
เข้ากลุ่มเพื่อเสนอการสร้างผลงานที่สนใจ วางแผนการ
ทางาน ลงมือปฏิบัติหรือลงพื้นที่จริง แลกเปลี่ยน
ประสบการณ์ นาเสนอความก้าวหน้า สรุปผลจัดทา
รายงาน

Más contenido relacionado

Destacado

ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
chanoot29
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
อัมพร ศรีพิทักษ์
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
krusongkran
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
Mew Meww
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
guest5ccbc6
 
โครงงานครั้งที่........
โครงงานครั้งที่........โครงงานครั้งที่........
โครงงานครั้งที่........
NattAA
 

Destacado (8)

ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 
เฉลย Pat 4
เฉลย Pat 4เฉลย Pat 4
เฉลย Pat 4
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
 
โครงงานครั้งที่........
โครงงานครั้งที่........โครงงานครั้งที่........
โครงงานครั้งที่........
 
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
 

Similar a Innovative learning environment

การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
krupornpana55
 
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม 4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
krupornpana55
 
โครงการแหล่งเรียนรู้ทางการเกษตร
โครงการแหล่งเรียนรู้ทางการเกษตร โครงการแหล่งเรียนรู้ทางการเกษตร
โครงการแหล่งเรียนรู้ทางการเกษตร
So Nic
 
A look forward etc research_new
A look forward etc research_newA look forward etc research_new
A look forward etc research_new
Tar Bt
 

Similar a Innovative learning environment (20)

Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environment
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
Teacher
Teacher Teacher
Teacher
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม 4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
 
Stem แนวทางการเรียนการสอนที่มีลักษณะของการบูรณาการการเรียนการสอนสาขา science,...
Stem แนวทางการเรียนการสอนที่มีลักษณะของการบูรณาการการเรียนการสอนสาขา science,...Stem แนวทางการเรียนการสอนที่มีลักษณะของการบูรณาการการเรียนการสอนสาขา science,...
Stem แนวทางการเรียนการสอนที่มีลักษณะของการบูรณาการการเรียนการสอนสาขา science,...
 
โครงการแหล่งเรียนรู้ทางการเกษตร
โครงการแหล่งเรียนรู้ทางการเกษตร โครงการแหล่งเรียนรู้ทางการเกษตร
โครงการแหล่งเรียนรู้ทางการเกษตร
 
Introduction to Technologies in Education - problem-based learning
Introduction to Technologies in Education - problem-based learningIntroduction to Technologies in Education - problem-based learning
Introduction to Technologies in Education - problem-based learning
 
Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning
 Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning
Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
Innovation49 1
Innovation49 1Innovation49 1
Innovation49 1
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
 
A look forward etc research_new
A look forward etc research_newA look forward etc research_new
A look forward etc research_new
 
Media&tech2learn 001-Part 1
Media&tech2learn 001-Part 1Media&tech2learn 001-Part 1
Media&tech2learn 001-Part 1
 
Learning21
Learning21Learning21
Learning21
 

Más de Tar Bt

Issara trf-present-2012
Issara trf-present-2012Issara trf-present-2012
Issara trf-present-2012
Tar Bt
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Tar Bt
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Tar Bt
 
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาแบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
Tar Bt
 
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
Tar Bt
 
A Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology ResearchA Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology Research
Tar Bt
 
Scopus_07
Scopus_07Scopus_07
Scopus_07
Tar Bt
 
Scopus_06
Scopus_06Scopus_06
Scopus_06
Tar Bt
 
Scopus_05
Scopus_05Scopus_05
Scopus_05
Tar Bt
 
Scopus_04
Scopus_04Scopus_04
Scopus_04
Tar Bt
 
Scopus_03
Scopus_03Scopus_03
Scopus_03
Tar Bt
 

Más de Tar Bt (20)

Reviwe of current trends in educational technologies
Reviwe of current trends in educational technologiesReviwe of current trends in educational technologies
Reviwe of current trends in educational technologies
 
Online learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeOnline learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & Practice
 
Show case global smart learning environment
Show case global smart learning environmentShow case global smart learning environment
Show case global smart learning environment
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learning
 
Online learning environment
Online learning environmentOnline learning environment
Online learning environment
 
Education 4.0 transforming educatio
Education 4.0  transforming educatioEducation 4.0  transforming educatio
Education 4.0 transforming educatio
 
Multimedia learning environment
Multimedia learning environmentMultimedia learning environment
Multimedia learning environment
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
 
Innovative teacher
Innovative teacherInnovative teacher
Innovative teacher
 
Issara trf-present-2012
Issara trf-present-2012Issara trf-present-2012
Issara trf-present-2012
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
 
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาแบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
 
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
 
A Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology ResearchA Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology Research
 
Scopus_07
Scopus_07Scopus_07
Scopus_07
 
Scopus_06
Scopus_06Scopus_06
Scopus_06
 
Scopus_05
Scopus_05Scopus_05
Scopus_05
 
Scopus_04
Scopus_04Scopus_04
Scopus_04
 
Scopus_03
Scopus_03Scopus_03
Scopus_03
 

Innovative learning environment

  • 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา ก้านจักร issaraka@kku.ac.th Issara BT ผู้อานวยการสานักนวัตกรรมการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยขอนแก่น Teaching Smart for 21st : Instructional Design for Innovative Learning Environment
  • 2. Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment อะไรคือทักษะที่จาเป็นสาหรับการ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อะไรคือ Innovative Learning environment เราจะออกแบบการสอนอย่างไร ประเด็นในการแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ครั้งนี้
  • 3. Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment What is Technology ? “The systematic application of scientific or other organization knowledge to practical tasks” (Gallbraith, 1967) What is Instructional Technology ? “Applying scientific knowledge about human learning to the practical tasks of teaching and learning” (Heinich, Molenda, & Russell, 1993)
  • 4. Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment Technology Instructional Technology Research And theory Practical Problems Learning Research And theory Practical Teaching and Learning Problems
  • 5. Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment The role of Instruction Use instructional technologies in way that maximize students’ learning Instructional design The process of translating principles of learning and instruction into plans for instructional materials and activities (Smith & Ragan, 1999) Instructional Media A means by which information can be delivered to a learner (Heinich et al., 1993) Instructional Computing The use of the computer in the design, development, delivery, and evaluation of instruction. (Newby et al., 2000)
  • 7. Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment อะไรคือทักษะที่จาเป็นสาหรับ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21เป็ น เรื่องที่ซับซ้อน เนื่องจากความเป็ น โลกาภิวัฒน์ เทคโนโลยี การอพยพ ย้ายถิ่น การแข่งขันในระดับ นานาชาติ การตลาดที่เปลี่ยนแปลง และความท้าทายทางการเมืองและ สภาพแวดล้อม
  • 8. Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment อะไรคือทักษะที่จาเป็นสาหรับการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 Asia Society (2012) Ways of Thinking Ways of Working Tools for Working Living in the World ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม การคิดอย่างมีวิจารญาณ การแก้ปัญหา การตัดสินใจ และการรู้วิธีการเรียนรู้ การสื่อสาร และ การทางานเป็นทีม ความรู้ทั่วไป และการรู้เทคโนโลยี สารสนเทศ ความเป็นพลเมือง ชีวิตและอาชีพ ความ รับผิดชอบต่อบุคคลและสังคม ความ ตระหนักต่อวัฒนธรรม และสมรรถนะ
  • 9. Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment การเปลี่ยนผ่าน (Transforming) ที่สาคัญของสังคมโลก ระบบเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ระบบเศรษฐกิจที่ใช้ความรู้เป็น ฐานและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ การใช้แรงงาน การใช้สมองและปฏิสัมพันธ์ การเรียนรู้ตลอดชีวิตและนวัตกรรม สร้างคุณลักษณะของผู้เรียนที่สามารถสนองตอบต่อความ เปลี่ยนแปลงให้มีทักษะที่สาคัญ ปัจจเจกชน (Individual) มืออาชีพ (Processionals) OEDC economies (2010)
  • 10. Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment อะไรคือ Innovative Learning environment Traditional Classroom Creative classroom Innovative Learning environmentPassive Learning environment Innovative pedagogies ICT+ เปลี่ยนมาสู่ European Commission (2012) Content Learner
  • 11. Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้แบบดั้งเดิม สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้แบบใหม่ การสอนที่เน้นครูเป็นศูนย์กลาง การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง สื่อแบบเดี่ยว สื่อหลายมิติ ทางานคนเดียว ร่วมมือกันทางาน การขนส่งสารสนเทศ การแลกเปลี่ยนสารสนเทศ การเรียนแบบรอรับ การเรียนแบบตื่นตัว/สารวจความรู้/ สืบเสาะความรู้เป็นฐาน การเรียนที่ใช้ความรู้เป็นฐาน การตัดสินใจบนพื้ นฐานของสารสนเทศ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การเรียนที่ปราศจากบริบท การเรียนที่เกี่ยวข้องกับสภาพบริบทจริง เป็นฐาน อะไรคือ Innovative Learning environment
  • 12. Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment วิธีการ (Method) ICT (Media) การเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา การเรียนรู้แบบโครงงาน การเรียนรู้แบบร่วมมือ การเรียนรู้ที่ใช้การบริการวิชาการเป็นฐาน จัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน -มัลติมีเดีย ข้อความ, ภาพนิ่ง, วีดิโอ, การมีปฏิสัมพันธ์ Learner Learning result สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ อะไรคือ Innovative Learning environment
  • 13. Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment
  • 14. Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment อะไรคือ ความรู้ที่จาเป็นสาหรับ Innovative teacher
  • 15. Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment บทบาทของผู้สอนจึงต้องเป็ น นักออกแบบการสอน (Instructional designer) ออกแบบเทคโนโลยี สร้าง option ในการเรียนรู้ กิจกรรม แหล่ง เรียนรู้ แหล่ง สนับสนุน เครื่องมือ
  • 16. แบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการอบรมออกเป็น 20 กลุ่มๆละ 10 คน ดังนี้ Home Group: สมาชิกในแต่ละกลุ่มแบ่ง ออกเป็นกลุ่มย่อย 2 คน สมาชิกกลับเข้ากลุ่มเพื่อนาความรู้ที่ตนเองได้ ศึกษาใน expert group ไปถ่ายทอดให้ สมาชิกใน Home group เกิดความเข้าใจ สมาชิกแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานและสะท้อน ผลร่วมกันทั้งชั้น Presentation & Reflection Expert Group: สมาชิกแต่ละคนเข้าไป ศึกษายังศูนย์การเรียนรู้ A B C A B C A B C A A A B B B C C C ภารกิจการสร้างความรู้ ที่ 1
  • 17. Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment กาหนดให้เวลาในการปฏิบัติกิจกรรมประมาณ 30 นาที โดยปฏิบัติภารกิจในการศึกษา ดังนี้  วิเคราะห์จุดเด่นของรูปแบบ  กระบวนการของรูปแบบ  วิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างรูปแบบการสอนกับการ พัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ภารกิจการสร้างความรู้ ที่ 1
  • 18. Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment การออกแบบการเรียนรู้ O L E Objective Learning Evaluation พฤติกรรมการเรียนรู้ที่กาหนดตาม Learning outcome กิจกรรม/วิธีการที่จะพัฒนา Learning outcome การวัดผลว่า Learning outcome เกิดขึ้ นระดับใด
  • 19. Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment การตั้งวัตถุประสงค์ จะเป็นวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม O
  • 20. Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment การตั้งวัตถุประสงค์O
  • 21. Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment รูปแบบการจัดการเรียนรู้L Active learning refers to techniques where students do more than simply listen to a lecture. Students are DOING something including discovering, processing, and applying information. Active learning "derives from two basic assumptions: (1) that learning is by nature an active endeavor (2) that different people learn in different ways (Meyers and Jones, 1993).
  • 22. Teaching Smart for 21st : ID for Innovative Learning environment Changes in Teacher Role A shift from: A shift to: Knowledge transmitter, primary source of information, content expert, and source of all answers Learning facilitator, collaborator, coach, mentor, knowledge navigator, and co-learner Teacher controls and directs all aspects of learning Teacher gives students more options and responsibilities for their own learning Changes in Student Role A shift from: A shift to: Passive recipient of information. Active participant in the learning process. Reproducing knowledge. Producing and sharing knowledge, participating at times as expert. Learning as a solitary activity. Learning collaboratively with others Teacher and learner change in a Learner-centered environment
  • 23. 1 การจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา รูปแบบ ผลลัพธ์ ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ วิธีการประเมิน การจัดการ เรียนรู้แบบ กระบวนการ แก้ปัญหา •ทักษะทาง ปัญญา •ความรู้ •ทักษะการ วิเคราะห์เชิง ตัวเลข และ ICT •ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล 1. ผู้สอนกาหนดและนาเสนอปัญหาตาม สภาพจริง พร้อมทั้งอธิบายถึงความ ต้องการในการแก้ปัญหา 2. ผู้เรียนดาเนินการแก้ปัญหาตาม ขั้นตอนดังนี้ (1) วิเคราะห์ปัญหา (2) การตั้งสมติ ฐาน (3) การเก็บรวบรวมข้อมูล (4) วิเคราะห์ข้อมูล (5) สรุปผลการ แก้ปัญหาและตรวจสอบความถูกต้อง 3. ผู้สอนกาหนดให้ผู้เรียนนาเสนอวิธีการ แก้ปัญหาและคาตอบ วิพากษ์ผลงาน และร่วมกันสรุปความรู้ การสังเกตพฤติกรรมการ แก้ปัญหา การตรวจสอบความ ถูกต้องของคาตอบและ วิธีการแก้ปัญหา การประเมินตนเอง การประเมินโดยเพื่อน
  • 24. รูปแบบ ผลลัพธ์ ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ วิธีการประเมิน การจัดการ เรียนรู้แบบใช้ ปัญหาเป็นฐาน •ทักษะทาง ปัญญา •ความรู้ •ทักษะการ วิเคราะห์เชิง ตัวเลข และ ICT •ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล 1. ผู้สอนกาหนดและนาเสนอปัญหาตาม สภาพจริง 2. ผู้เรียนทาความเข้าใจปัญหา โดยการ ระดมสมองร่วมกัน 3. ผู้เรียนดาเนินการศึกษาค้นคว้าจาก เอกสารประกอบการสอนและแหล่ง เรียนรู้ internet 4. ผู้เรียนสังเคราะห์และสรุปองค์ความรู้ โดยจัดทาเป็นแผนที่ความคิด และ power point 5. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงาน โดย มีผู้สอนร่วมวิพากษ์ การสังเกตพฤติกรรม การทดสอบ การประเมินแผนที่ ความคิด การประเมินการนาเสนอ 2 การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
  • 25. รูปแบบ ผลลัพธ์ ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ วิธีการประเมิน การจัดการ เรียนรู้แบบ สร้างองค์ ความรู้ •ทักษะทาง ปัญญา •ความรู้ •ทักษะการ วิเคราะห์เชิง ตัวเลข และ ICT •ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล 1. ผู้สอนบรรยายสาระสาคัญของเนื้อหา และทบทวนความรู้เดิมที่เกี่ยวข้อง 2. ผู้เรียนทาความเข้าใจรายละเอียด เนื้อหาโดยการศึกษาจากเอกสารหรือ ใบความรู้ แล้วสรุปเป็นความเข้าใจ ของตนเอง 3. จัดให้ผู้เรียนแลกเปลี่ยนและนาเสนอ ความเข้าใจของตนเองและเพื่อน 4. ผู้เรียนนาข้อคิดที่ได้มาปรับและสรุป เป็นความเข้าใจใหม่โดยขยาย รายละเอียดที่ได้จากการแลกเปลี่ยน 5. ผู้สอนนาเสนอบริบทใหม่ที่ให้นา ความรู้ที่ได้ไปใช้ในการอธิบายสิ่งที่ เกิดขึ้น การสังเกตพฤติกรรม การทดสอบ การสัมภาษณ์ 3 การจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้
  • 26. รูปแบบ ผลลัพธ์ ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ วิธีการประเมิน การจัดการ เรียนรู้แบบ โครงงาน •คุณธรรม จริยธรรม •ทักษะทาง ปัญญา •ความรู้ •ทักษะการ วิเคราะห์เชิง ตัวเลข และ ICT •ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล 1. ผู้เรียนศึกษาเอกสารความรู้และ ค้นหาประเด็นที่สนใจ เพื่อเป็น พื้นฐานในการวางแผน 2. ผู้เรียนร่วมกันวางแผนการดาเนินงาน อภิปราย ระดมสมองเพื่อหาข้อสรุป 3. ผู้เรียนปฏิบัติการตามแผนที่วางไว้ มี การบันทึกผล ปัญหา อุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 4. กาหนดให้ผู้เรียนรายงาน ความก้าวหน้าเป็นระยะและมีการ สะท้อนผล 5. การประเมินผลตามสภาพจริงและ จัดทารายงานเผยแพร่/นาเสนอ การสังเกตพฤติกรรม การทดสอบ การประเมินโดยเพื่อน การประเมินรายงาน โครงงาน การประเมินการนาเสนอ 5 การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน
  • 27. รูปแบบ ผลลัพธ์ ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ วิธีการประเมิน การจัดการ เรียนรู้แบบ ประสบการณ์ที่ เน้นการปฏิบัติ •คุณธรรม จริยธรรม •ทักษะทาง ปัญญา •ความรู้ •ทักษะการ วิเคราะห์เชิง ตัวเลข และ ICT •ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล 1. ผู้สอนนาเสนอภารกิจและแนว ทางการทากิจกรรม 2. ผู้เรียนลงมือปฏิบัติจริงในพื้นที่หรือ สภาพแวดล้อมเพื่อค้นหาและตอบ ภารกิจ 3. ผู้เรียนแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการซักถาม รายละเอียดเพิ่มเติมเพื่อให้ได้ ข้อเท็จจริงที่ชัดเจน 4. ผู้เรียนสรุปสิ่งที่ได้ศึกษาอ้างอิงสู่ หลักการทางวิชาการ 5. ผู้เรียนนาความรู้ที่ไปใช้ในชีวิตจริง การสังเกตพฤติกรรม การทดสอบ การรายงานผลการปฏิบัติ การสอบปฏิบัติ 6 การจัดการเรียนรู้แบบประสบการณ์ที่เน้นการปฏิบัติ
  • 28. รูปแบบ ผลลัพธ์ ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ วิธีการประเมิน การจัดการ เรียนรู้แบบ ร่วมมือ •คุณธรรม จริยธรรม •ทักษะทาง ปัญญา •ความรู้ •ทักษะการ วิเคราะห์เชิง ตัวเลข และ ICT •ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล 1. ผู้สอนนาเสนอภารกิจและปัญหาใน การทากิจกรรม 2. ผู้เรียนแบ่งกลุ่มตามที่กาหนดและมี การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในฐานะ สมาชิกกลุ่ม 3. ผู้เรียนร่วมมือกันสืบเสาะ ค้นหาและ สร้างผลงานกลุ่ม 4. ผู้เรียนสรุปและนาเสนอผลการเรียนรู้ การสังเกตพฤติกรรม การทดสอบ การนาเสนอผลงาน 9 การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ
  • 29. รูปแบบ ผลลัพธ์ ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ วิธีการประเมิน การจัดการ เรียนรู้ที่ใช้การ บริการวิชาการ เป็นฐาน •คุณธรรม จริยธรรม •ทักษะทาง ปัญญา •ความรู้ •ทักษะการ วิเคราะห์เชิง ตัวเลข และ ICT •ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล 1. ผู้สอนอธิบายเชื่อมโยงความรู้และ วิธีการจัดกิจกรรม บทบาทผู้เรียน และผลงาน 2. ผู้เรียนลงพื้นที่เพื่อศึกษาความ ต้องการของชุมชน และประสาน ความร่วมมือ 3. ผู้เรียนกาหนดองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง 4. ผู้เรียนจัดทาข้อเสนอโครงการบริการ วิชาการ/แผนการดาเนินงาน 5. ลงพื้นที่ดาเนินการบริการวิชาการ 6. ประเมินการดาเนินกิจกรรม 7. การสะท้อนผลกิจกรรมและถอด บทเรียน 8. สรุปองค์ความรู้ และเผยแพร่ การสังเกตพฤติกรรม การทดสอบ การนาเสนอผลงาน การสัมภาษณ์ การประเมินความพึง พอใจของชุมชน 11 การจัดการเรียนรู้ที่ใช้การบริการวิชาการเป็นฐาน
  • 31. การสร้างประสบการณ์ก่อนเข้าชั้นเรียน นักศึกษาศึกษาเนื้อหาล่วงหน้าจากเอกสาร ประกอบการสอน, web-based learning สรุปความเข้าใจเป็น concept map ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ด้านคุณธรรม จริยธรรม การสร้างประสบการณ์ในชั้นเรียน บรรยายนาเพื่อให้ concept ผ่านสื่อการเรียนรู้ต่างๆ การตั้งคาถามเพื่อให้นักศึกษาแสดงแนวคิด นักศึกษาบันทึกความเข้าใจของตนเองลงในเอกสาร ผู้สอนทดสอบความเข้าใจ โดยให้นักศึกษาตอบ คาถามลงในกระดาษ นักศึกษาแลกกันตรวจแบบทดสอบ โดยผู้สอนเฉลย และร่วมอภิปรายคาตอบ การสร้างประสบการณ์หลังเรียน สรุปความเข้าใจเป็น concept map ส่งผ่านสื่อ ICT ความซื่อสัตย์ อารมณ์ การยอมรับผู้อื่น การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การ ตีความ รับผิดชอบในการเรียนรู้ของตนเอง การแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น
  • 32. การสร้างประสบการณ์ก่อนเข้าชั้นเรียน นักศึกษาศึกษาเนื้อหาล่วงหน้าจากเอกสาร ประกอบการสอน, web-based learning สรุปความเข้าใจเป็น concept map ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ด้านคุณธรรม จริยธรรม การสร้างประสบการณ์ในชั้นเรียน บรรยายนาเพื่อให้ concept ผ่านสื่อการเรียนรู้ต่างๆ ศึกษาสถานการณ์ปัญหาหรือกรณีศึกษา การสร้างประสบการณ์หลังเรียน สรุปความเข้าใจเป็น concept map ส่งผ่านสื่อ ICT ร่วมมือกันแก้ปัญหาเป็นกลุ่ม ค้นหาคาตอบจาก แหล่งเรียนรู้ ICT การนาเสนอแนวทางแก้ปัญหา กาหนดบทบาทให้ เพื่อนในชั้นถาม ชมเชย วิพากษ์ และประเมิน ความซื่อสัตย์ อารมณ์ การยอมรับผู้อื่น การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การ ตีความ การวางแผน การแก้ปัญหา รับผิดชอบในการเรียนรู้ของตนเอง การแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น ทีม
  • 33. การสร้างประสบการณ์ก่อนเข้าชั้นเรียน นักศึกษาศึกษาเนื้อหาล่วงหน้าจากเอกสาร ประกอบการสอน, web-based learning สรุปความเข้าใจเป็น concept map ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ด้านคุณธรรม จริยธรรม การสร้างประสบการณ์ในชั้นเรียน บรรยายนาเพื่อให้ concept หรือนาเสนอตัวอย่าง งาน ผลงานต้นแบบ นักศึกษาวิเคราะห์ต้นแบบและฝึกปฏิบัติตาม การสร้างประสบการณ์หลังเรียน การเผยแพร่ผลงานผ่านแหล่งต่างๆ เช่น สื่อสังคม ความซื่อสัตย์ อารมณ์ การยอมรับ ผู้อื่น การไม่คัดลองผลงาน การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การ ตีความ การวางแผน การแก้ปัญหา รับผิดชอบในการเรียนรู้ของตนเอง การแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น ทีม เข้ากลุ่มเพื่อเสนอการสร้างผลงานที่สนใจ วางแผนการ ทางาน ลงมือปฏิบัติหรือลงพื้นที่จริง แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ นาเสนอความก้าวหน้า สรุปผลจัดทา รายงาน