SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 40
Descargar para leer sin conexión
ความรูความเขาใจในเพศวิถีและสุขภาพทางเพศของ
 ชายที่มเพศสัมพันธกบชาย และสาวประเภทสอง
         ี           ั

            คูมือสําหรับผูเขาอบรม




                                        1
คํานํา

ป จ จุ บั น นี้ อั ต ราความชุ ก ของการติ ด เชื้ อ เอชไอวี ใ นประเทศไทยมี อั ต ราที่ สู ง โดยเฉพาะในกลุ ม ชายที่ มี
เพศสัมพันธกับชายและสาวประเภทสอง แมจะมีการทํางานในสวนของภาคองคกรชุมชนมากขึ้นเพื่อสามารถ
เขาถึงกลุมเปาหมายดังกลาวในการใหความรูและขอมูลดานการปองกันเอชไอวี ซึ่งสงผลใหกลุมเปาหมาย
สามารถประเมินความเสี่ยงของตัวเองและมีพฤติกรรมทางเพศที่ปลอดภัยมากขึ้น แตยังมีกลุมเปาหมาย
จํานวนไมมากที่สามารถเขาสูการบริการใหการปรึกษาและตรวจเอชไอวี (VCT service) องคการเอฟเอชไอ
(FHI) รวมกับ USAID และ Pact Thailand จึงไดรวมมือกันจัดโครงการสาธิตการใหบริการ ใหการปรึกษาและ
การตรวจเอชไอวี ใ นกลุ ม ชายที่ มี เ พศสั ม พั น ธ กั บ ชายและสาวประเภทสองใน 3 จั ง หวั ด ได แ ก กรุ ง เทพฯ
เชียงใหม และ ชลบุรี (พัทยา) โดยมีเปาหมายเพื่อใหโรงพยาบาล คลินิก หรือหนวยบริการที่เขารวมในโครงการ
สาธิตนี้สามารถเขาใจถึงอุปสรรคในการใหบริการกับกลุมชายที่มีเพศสัมพันธกับชายและสาวประเภทสองทังใน             ้
สวนของการบริการและระดับบุคคล และสามารถพัฒนาปรับปรุงบริการของตนเพื่อลดอุปสรรคตางๆ ที่มีตอ
กลุมเปาหมายใหลดนอยลง และในทายที่สุด คาดหวังวา หลังจากมีการพัฒนาปรับปรุงบริการแลว อัตราการใช
บริการดังกลาวโดยกลุมชายที่มเพศสัมพันธกับชายและสาวประเภทสองจะเพิ่มมากขึ้นตามลําดับ
                                    ี

จากการเก็บขอมูลเบื้องตนของโครงการ พบวา อุปสรรคหลักประการหนึ่งที่ทําใหกลุมเปาหมายไมเขามาใช
บริการดังกลาว คือ ทัศนคติเชิงลบของผูใหคําปรึกษาและเจาหนาที่ที่เกี่ยวของที่มีตอกลุมชายที่มีเพศสัมพันธ
กับชายและสาวประเภทสอง คูมือการอบรมฉบับนี้จึงไดรับการปรับปรุงขึ้นเพื่อใหขอมูลและสรางความรูความ
เขาใจในประเด็นดานสุขภาพทางเพศของชายที่มีเพศสัมพันธกับชายและสาวประเภทสองในประเทศไทย ทั้งใน
สวนของวิถีชีวิตและเพศวิถีของกลุมดังกลาว



                                             กิตติกรรมประกาศ

คูมือการฝกอบรมฉบับนี้ดัดแปลงจากชุดฝกอบรมเรื่อง “ขอพึงรูและความเขาใจในเรื่องเพศในการสงเสริม
สุขภาพทางเพศสําหรับชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย” ขององคการเอฟเอชไอ สํานักงานประเทศเวียตนาม (FHI
Vietnam Office) และเรียบเรียงโดย ดร.แคธลีน เคซี่ย จากองคการเอฟเอชไอ สํานักงานภูมิภาคเอเชียและ
แปซิฟก (FHI APRO) และคุณเกรก คารล จากศูนยวิจยโรคเอดส สภากาชาดไทย
                                               ั

ทั้งนี้ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากองคการความชวยเหลือแหงรัฐบาลสหรัฐอเมริกา (USAID)




                                                                                                                2
สารบัญ

                                                                           หนา
บทที่ 1: ใครคือชายที่มีเพศสัมพันธกบชายและสาวประเภทสอง
                                   ั                                         4

บทที่ 2: กรอบความคิดเกียวกับชายทีมีเพศสัมพันธกับชายและสาวประเภทสองใน
                       ่         ่                                           8
สังคมไทย


บทที่ 3: ความเสี่ยงและความเปราะบาง/โอกาสเสียงตอการติดเชื้อเอชไอวีของ
                                           ่                                12
ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายและสาวประเภทสอง


บทที่ 4: ความซับซอนของความเสี่ยงตอการติดเชือเอชไอวีในประเทศไทย
                                             ้                              16


บทที่ 5: ความจําเปนในการใหบริการดานสุขภาพและวิธีการเขาถึงชายที่มี       20
เพศสัมพันธกับชายและสาวประเภทสอง


บทที่ 6: สุขภาพทางเพศและความตองการดานจิตวิทยาสังคมของชายที่มี             22
เพศสัมพันธกบชายและสาวประเภทสอง
              ั


บทที่ 7: วิธการมีเพศสัมพันธที่ปลอดภัย
            ี                                                               24


บทที่ 8: การใหคาปรึกษากับชายที่มีเพศสัมพันธกบชายที่มเชื้อเอชไอวีและสาว
                ํ                             ั       ี                     28
ประเภทสองที่มีเชื้อเอชไอวี


บทที่ 9: การปรับสภาพแวดลอมของสถานบริการสุขภาพ                              29


บทที่ 10: บทสรุปสําหรับผูใหบริการดานสุขภาพ                               38


เอกสารอางอิง                                                               39




                                                                                  3
บทที่ 1
                  ใครคือ ชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย และสาวประเภทสอง ?


คําวา “ชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย” หมายถึง ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายโดย ไมคํานึงวาจะมีเพศสภาวะแบบ
ใดหรือจะแสดงตัววาเปนเพศใด คําๆนี้มีขึ้นเนื่องจากปกติแลวมีชายที่รักเพศเดียวกันเพียงกลุมนอยเทานั้นที่จะ
ยอมรับวาตนเปนเกย หรือรักเพศเดียวกัน หรือเปนผูที่รักทั้งสองเพศ ในขณะที่ชายดังกลาวสวนใหญจะเรียก
ตัวเองตามพฤติกรรมและอัตลักษณทางเพศตามสภาพสังคมของตน โดยไมไดตัดสินตนเองตามพฤติกรรมทาง
เพศกับชายดวยกันแตอยางใด ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายหลายคนคิดวาตนเปนชายรักหญิงมากกวาชายรัก
เพศเดียวกันหรือชายรักสองเพศ โดยเฉพาะอยางยิ่งถาหากเขายังมีเพศสัมพันธกับผูหญิง หรือแตงงานแลว
หรือเปนฝายรุกในการมีเพศสัมพันธทางทวารหนัก หรือมีเพศสัมพันธกับผูชายเพื่อแลกกับเงินหรือสิ่งตอบแทน
อื่นๆ

ชายที่มเพศสัมพันธกับชายมีดวยกันหลายประเภท ซึ่งอาจแตกตางกันไปโดยขึ้นอยูกับเหตุปจจัยดังตอไปนี้ :
       ี
   • อัตลักษณทางเพศโดยไมเกี่ยวของกับพฤติกรรมทางเพศ เชน (เกย คนรักเพศเดียวกัน คนรักตางเพศ
         คนรักสองเพศ และสาวประเภทสอง รวมถึงเพศวิถีหรืออัตลักษณทางเพศอื่นๆ ที่อาจใชเรียกกัน)
   • การยอมรับและเปดเผยอัตลักษณทางเพศของตนเอง
   • คูนอน (ชาย/ หญิง / และ/หรือสาวประเภทสอง)
   • เหตุผลในการมีเพศสัมพันธกับคูนอน (ชอบอยูแลว ถูกบังคับ มีแรงจูงใจในการหารายได ความสะดวก
         ความสนุก และหรืออยูในสภาพแวดลอมที่มีแตผูชายลวน)
   • บทบาทในการมีเพศสัมพันธ (เปนฝายรุก ฝายรับ หรือไดทั้งสองอยาง) และ
   • ลักษณะที่เกี่ยวของกับเพศสภาวะ บทบาทและพฤติกรรม เชน เปนผูหญิง เปนผูชาย เปนแมน บุคลิก
         ออกสาว คนที่แตงตัวเปนหญิง หรือแตงตัวตรงกับเพศสภาวะของตน)

ผูใหบริการสุขภาพควรรูอะไรบางเกี่ยวกับอัตลักษณทางเพศและพฤติกรรมทางเพศของผูใชบริการ ?
คําวา “ชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย” เปนคําที่ใชกันอยางแพรหลายในการทํางานดานเอชไอวี เพราะเปนคําที่ใช
สื่อถึงพฤติกรรมที่ทําใหชายเหลานี้มีโอกาสเสี่ยงตอการติดเชื้อ อยางไรก็ตาม ไดมีการโตแยงกันกันวาคําๆนี้
มุงเนนถึงพฤติกรรมทางเพศมากเกินไปซึ่งทําใหไมสามารถครอบคลุมถึงมิติดานอื่นๆ เชน อารมณความรูสึก
ความสัมพันธ อัตลักษณทางเพศ เปนสาเหตุใหบางองคกรหรือคนบางคนนิยมใชคําวา “ผูชายที่มีเพศสัมพันธ
กับผูชาย” มากกวา เพราะใหความหมายที่กวางกวา และสามารถครอบคุลมผูชายทุกประเภทที่มีเพศสัมพันธ
กับคนเพศเดียวกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งคําวา “ผูชาย” ไมมีขอจํากัดดานอายุ จึงหมายรวมถึงเด็กผูชายที่มี
เพศสัมพันธกับเด็กผูชายดวยกัน และความสัมพันธทางเพศระหวางชายและเด็กชายอีกดวย (หมายเหตุ: เปน
อธิบายความของคําศัพทระหวาง men who have sex with men และ male who have sex with male)
อาจกลาวไดวาคําวา “ชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย” เปนการตอบสนองทางภาษาที่กําเนิดขึ้นในวัฒนธรรม
ตะวันตกเพื่อการอธิบายถึงกิจกรรมทางเพศระหวางชายดวยกัน อีกทั้งการกําเนิด วัฒนธรรมเกย ในประเทศ
ทางตะวันตกในชวงศตวรรษที่ 20 มีสวนทําใหเกิดความเชื่อที่วาคนเรามี 2 ประเภทเทานั้น นั่นก็คือ ผูที่เปนเกย
(รักเพศเดียวกัน) และชายจริงหญิงแท (รักตางเพศ) ซึ่งในปจจุบันแมวาแนวคิดเชนนี้จะเริ่มปรับเปลี่ยนไป แตก็
มีคนจํานวนมากในหลากหลายประเทศที่ยังคงแนวคิดเชนนี้ไว ผูชายจํานวนมากถือวาการมีเพศสัมพันธกับ
ชายดวยกันเปนแคสวนหนึ่งของชีวิตทางเพศของตนเทานั้น และไมมีความเกี่ยวของกับอัตลักษณทางเพศหรือ
สังคมของตนแตอยางใด ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายบางคนอาจสังเกตเห็นไดอยางชัดเจนในสังคมของเรา เชน
ชายที่ชอบแตงตัวเปนหญิงหรือใชเสื้อผาสิ่งของเครื่องใชของผูหญิง ในขณะที่ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายบาง
คนก็ดูกลมกลืนเหมือนผูชายทั่วไปจนไมสามารถรูไดเลยวาผูนั้นเปนชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย ดังนั้นในบาง
สังคมที่ไมเคยพบเห็นผูที่รักเพศเดียวกัน ก็อาจทําใหเกิดความเขาใจวาในสังคมนั้นไมมีผูที่รักเพศเดียวกันอยู
เลย แมวาในความเปนจริงแลว การมีเพศสัมพันธระหวางชายดวยกันมีอยูในเกือบทุกสังคม ดังนั้นการที่สังคม
ปฏิเสธถึงการมีอยูของผูที่รักเพศเดียวกันจึงไมใชภาพสะทอนความเปนจริงในสังคม
                                                                                                         4
อาจเปนไปไดวาชายที่มีเพศสัมพันธกับชายสวนใหญในเกือบทุกประเทศในทวีปเอเชียเปนชายที่ไมยอมรับ
พฤติกรรมทางเพศของตนที่แตกตางไปจากผูชายทั่วไปในสังคม และมักไมกลายอมรับโดยเปดเผยวาตนเปน
เกยหรือเปนชายรักเพศเดียวกัน และไมกลายอมรับและพยายามปดบังวา ตนก็มีเพศสัมพันธกับชายหรือมี
ความสัมพันธกับชาย ซึ่งชายเหลานี้บางคนก็แตงงานและมีเพศสัมพันธกับผูหญิง บางคนยอมรับวาตนเปนชาย
รักสองเพศ บางคนก็คิดวาตนเองเปนชายรักหญิง หรือรักสองเพศ โดยมีเพศสัมพันธกับชายอื่นเปนบางครั้งเพื่อ
ตอบสนองความสุขทางเพศ เนื่องจากไมสามารถหาคูนอนที่เปนหญิงได ผูชายบางคนมีเพศสัมพันธกับสาว
ประเภทสองโดยไมไดคิดวาตนเองเปนเกยหรือเปนผูรักเพศเดียวกัน เพราะผูนั้นไมถือวาสาวประเภทสองเปน
ผูชายในสังคมของตน แตกลับถือเสมืองวาสาวประเภทสองก็เปนผูหญิงคนหนึ่ง


คนขามเพศ (Transgender) และเพศกํากวม (intersex)

คําศัพทที่ใชเรียกทัวไป
                     ่
คนขามเพศ เปนคําที่มีความหมายกวางที่ใชเรียกผูที่ไมไดมีลักษณะของ “ชายและหญิง” อยางชัดเจน
หรือใชเรียกคนที่ไมยอมรับเพศสภาพที่ถือกําเนิดมาของตนเอง บางครั้งอาจเรียกคนขามเพศวาผูที่มีความ
แปรผันทางเพศสภาพ

ผูมีจิตใจเหมือนเพศตรงขาม (transsexual) หมายถึง ผูที่รูสึกวาอัตลักษณทางเพศของตนไมตรงกับ
รางกายของตนที่ถือกําเนิดมาหรือไมตรงกับเพศสภาพของตนที่ถูกกําหนดโดยสังคม รวมทั้งหมายถึงผูที่
แปลงเพศจากชายเปนหญิง (male-to-female - MTF) หรือจากหญิงเปนชาย (female-to-male - FTM) และ
ยังหมายรวมถึงผูท่ียังไมไดผาตัดแปลงเพศ (“pre-op”) หรือ ผูที่ผาตัดแปลงเพศแลว (“post-op”) อีก
ดวย นอกจากนี้บางคนก็เรียกตัวเองวาผูที่ไมตองการผาตัดแปลงเพศ (”no-op”)

การแตงกายขามเพศ (Cross-dressing) หมายถึง การแตงกายดวยเสื้อผาที่ตามปกติแลวจะสวมใสโดยผูที่
มีเพศสภาพตรงกันขามซึ่งอาจใชเรียกทั้งผูมีจิตใจเหมือนเพศตรงขามและผูที่แตงกายขามเพศ (Cross-
dressers) ผูที่แตงกายขามเพศหรือบางครั้งเรียกอีกอยางหนึ่งวาชายที่ชอบแตงหญิง (transvestites) มักเปน
คําที่ใชเรียกผูที่ชอบแตงกายเหมือนเพศตรงขามแตไมไดมีความรูสึกขัดแยงในใจเกี่ยวกับเพศสรีระและอัต
ลักษณทางเพศของตนแตอยางใด ผูท่ีแตงกายขามเพศสวนใหญเปนผูชายที่รักตางเพศแตแตงกายขาม
เพศเพื่อความสนุกสนาน เพื่อแสดงบทบาทสมมุติ เพื่อคลายเครียด หรือเพื่อความพึงพอใจทางเพศ
โดยทั่วไปแลวมักจะไมคอยเรียกผูหญิงที่ชอบแตงตัวเหมือนผูชายวาเปนผูแตงกายขามเพศ เนื่องจาก
สังคมยอมใหผูหญิงแตงกายไดหลากหลายมากกวาผูชาย (เชนสามารถสวมกางเกงหรือไวผมสั้นได เปน
ตน)

นอกจากนี้ยังมีคําอีกหลายคําที่ใชเรียกบุคคลนั้นๆ ตามความคิดและความรูสึกของคนในสังคมหรือ
ตามการเปลี่ยนแปลงของเพศสภาพ เชน การขามผาน (Passing) หมายถึง ลักษณะของบุคคลที่คนใน
สั ง คมมองว า เหมื อ นกั บ มี เ พศสภาพที่ ต รงกั น ข า ม ส ว นคํ า ว า การเปลี่ ย นเพศสภาพ (Transitioning)
                                                                                                          5
หมายถึงกระบวนการในการเปลี่ยนจากเพศสภาพหนึ่งไปเปนเพศสภาพตรงขาม ซึ่งเปนกระบวนการของ
การพัฒนาการที่มีหลายขั้นตอน

ในปจจุบันคนเราอาจไดยินคําวา เพศกํากวม (intersex) มากขึ้น คํานี้มักจะใชในวงการสาธารณสุขที่
ทํางานเกี่ยวกับสถานะทางเพศ (gender orientation) เพศกํากวมเกิดจากความผิดปกติในการพัฒนา
ลักษณะทางกายภาพที่บงบอกเพศจึงทําใหบุคคลนั้นมีลักษณะที่เปนเพศกํากวม (intersex conditions) ซึ่ง
อาจรวมถึงการมีความผิดปกติของอวัยวะเพศภายนอกหรืออวัยวะสืบพันธุภายใน โครโมโซมเพศหรือ
ฮอรโมนทางเพศ ดังตอไปนี้:
    • อวัยวะเพศที่ปรากฏภายนอกไมสามารถบอกไดชัดเจนวาเปนชายหรือหญิง
    • การพัฒนาของอวัยวะสืบพันธุภายในไมสมบูรณหรือผิดปกติ
    • ความไมสอดคลองกันของลักษณะอวัยวะเพศภายนอกกับอวัยวะสืบพันธุภายใน
    • ความผิดปกติของโครโมโซมเพศ
    • ลักษณะที่ผิดปกติของอัณฑะหรือรังไข
    • รางกายผลิตฮอรโมนเพศมากเกินไปหรือนอยเกินไป หรือ
    • รางกายไมสามารถตอบสนองตอฮอรโมนเพศไดตามปกติ

การวินิจฉัยลักษณะที่เปนเพศกํากวมนี้อาจไมถูกตองเสมอไป แมแตผูเชี่ยวชาญเองบางครั้งก็ไมสามารถ
ตกลงกันไดวาอะไรที่เขาขายลักษณะที่เปนเพศกํากวมที่แทจริง และหนวยงานภาครัฐเองก็ไมไดเก็บ
ขอมูลสถิติเกี่ยวกับจํานวนคนที่มีเพศกํากวมอีกดวย ผูเชี่ยวชาญบางคนประมาณการวาเด็ก 1 คนใน
ทุก 1,500 คนที่เกิดมาจะมีอวัยวะเพศซึ่งไมสามารถบอกไดชัดเจนวาเปนเพศชายหรือเพศหญิง

เพศวิถีของผูที่มีเพศกํากวม
เด็กที่มีลักษณะที่เปนเพศกํากวมสวนใหญมักจะเติบโตขึ้นเปนคนรักตางเพศ แตบางคนที่มีลักษณะที่เปน
เพศกํากวมบางอยางมีแนวโนนสูงที่จะเติบโตขึ้นเปนผูใหญท่เปนเกย เลสเบี้ยน หรือเปนคนรักสองเพศ
                                                         ี

หมายเหตุ: ในคูมือเลมนี้ขอใชคําศัพทเรียก คนขามเพศ วา “สาวประเภทสอง”




มีผูชายจํานวนมากที่โดยธรรมชาติแลวเปนผูที่ชอบผูหญิง แตมีความจําเปนตองมีเพศสัมพันธกับผูชายดวยกัน
เนื่องจากไมสามารถหาผูหญิงมาเปนคูและมีเพศสัมพันธดวยได เนื่องดวยเงื่อนไขหลายประการ อาจจะดวย
การอยูในสังคมแบบอนุรักษนิยมซึ่งไมอนุญาตใหหญิงชายอยูรวมกัน หรืออยูในสภาพแวดลอมที่มีแตชายลวน
เปนระยะเวลายาวนาน เชน เรือนจํา คายทหาร ที่พักของแรงงานตางชาติ หรือสถานศึกษาชายลวน การที่ไม
สามารถมีเพศสัมพันธกับผูหญิงไดทําใหผูชายเหลานี้จําเปนตองหาทางออกเพื่อระบายความตองการทางเพศ
ดวยการมีเพศสัมพันธกับผูชายดวยกัน พฤติกรรมทางเพศนี้ไมไดมีความเกี่ยวของกับการเปนเกยหรือการเปน
ชายรักเพศเดียวกันแตอยางใด ชายบริการในหลายประเทศในทวีปเอเชียสวนใหญรูตัวดีวาเปนชายรักหญิง แต
                                                                                                      6
จะยอมมีเพศสัมพันธกับผูชายดวยก็เพราะจําตองหารายไดเลี้ยงครอบครัว คนเหลานี้สวนใหญมีคูครองหรือมี
คนรักเปนผูหญิง แตกมีชายบริการจํานวนมากที่รูวาตัวเองเปนเกยหรือชายรักชาย และมีเพศสัมพันธเฉพาะกับ
                      ็
ผูชายดวยกันเทานั้น ผูชายบางคนชอบมีเพศสัมพันธกับผูชายเทานั้นแตไมไดตองการมีเพศสัมพันธกับผูหญิง
แตกลับถูกบังคับใหแตงงานและมีครอบครัวจึงทําใหตองมีเพศสัมพันธกับผูหญิง บางคนชอบผูชายแตก็มี
เพศสัมพันธกับผูหญิงได หรือในทางกลับกันบางคนชอบผูหญิงแตก็มีเพศสัมพันธกับชายได บางคนตองการมี
เพศสัมพันธเฉพาะกับผูหญิงเทานั้นแตอาจจะมีเพศสัมพันธกับผูชายเพื่อแลกกับเงินหรืออาจจะเปนเพราะไม
สามารถหาผูหญิงมานอนดวยได ในทํานองเดียวกัน สถานการณเชนนี้ก็อาจจะเกิดขึ้นไดกับสาวประเภทสอง
เชนกัน อันเนื่องมาจากความจําเปนบางประการ

ทําไมผูชายบางคนจึงมีรกเพศเดียวกัน ?
                      ั
ไมมีขอมูลแนชัดวา เพราะเหตุใดหลายคนจึงเปนผูที่รักตางเพศ และทําไมบางคนจึงรักเพศเดียวกัน บางทฤษฎี
ใหความสําคัญกับความแตกตางดานชีววิทยาระหวางคนที่เปนคนรักตางเพศและคนรักเพศเดียวกัน เชน ระบบ
รางกายและสมอง และทฤษฎีนี้ยังเชื่ออีกวา คนบางคนเกิดมาพรอมกับเพศวิถีที่ถูกกําหนดมาตั้งแตเกิด แตจาก
การทดลองและทดสอบเพื่อหาความแตกตางของชายทั้งสองประเภทนี้ โดยการวัดระดับฮอรโมน ตรวจสอบ
อวัยวะที่บงบอกเพศ และโครงสรางของสมอง ก็ยังไมพบหลักฐานที่สามารถใชแยกประเภทของคนทั้งสองแบบ
           
นี้ไดอยางชัดเจน
ในทางจิตวิทยามีคําอธิบายที่มุงเนนปจจัยทางดานอิทธิพลจากประสบการณชีวิต รูปแบบของการเลี้ยงดูในวัย
เด็ก ความสัมพันธกับคนอื่นๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งกับพอแม ความคิดเรื่องเพศวิถีและพฤติกรรมของบุคคลจะ
ไดรับอิทธิพลมาจากสภาพแวดลอมในครอบครัว ประสบการณสวนตัว และความรูสึกนึกคิดเกี่ยวกับตัวเองของ
บุคคลนั้นๆเอง ความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องเพศมักจะกอตัวขึ้นจากคานิยมของครอบครัว ซึ่งในภายหลังความเชื่อ
เหลานี้จะแปรเปลี่ยนไปตามประสบการณทางเพศซึ่งอาจเปนความรูสึกที่ดีหรือความรูสึกในเชิงลบก็ได และ
ความรูสึกเหลานี้เองที่จะทําใหเขาตัดสินใจที่จะมีพฤติกรรมทางเพศไปในทางใดทางหนึ่งหรือเลือกคูนอนเปน
แบบใดในที่สด แตอยางไรก็ตามในตลอดชวงชีวิตของคนๆหนึ่ง สิ่งที่มีอิทธิพลที่สุดตอพัฒนาการและพฤติกรรม
             ุ
ทางเพศก็คือความรูสกนึกคิดเกี่ยวกับตัวเองของบุคคลนั่นเอง
                     ึ
นอกจากนี้ยังมีอีกทฤษฎีหนึ่งกลาววา การที่คนเราเลือกที่จะเปนเพศใดนั้นขึ้นอยูกับความตั้งใจของแตละคน
และการที่ผูชายบางคนมีเพศสัมพันธกับผูชายดวยกัน เกิดขึ้นเพราะมีความตองการจะหลีกเลี่ยงบทบาททาง
เพศที่สังคมกําหนด แตละทฤษฎีที่กลาวมานี้ยังมีหลักฐานสนับสนุนไมมากนัก ดังนั้นจึงมีนักวิจัยหลายคนคิด
วารสนิยมทางเพศเปนผลรวมกันที่เกิดมาจากทั้งปจจัยทางธรรมชาติและปจจัยสภาพแวดลอมทางสังคม


ชายขายบริการและสาวประเภทสองที่ขายบริการ
ผูขายบริการทางเพศครอบคลุมถึงกลุมคนที่แตกตางหลากหลาย จึงไมสามารถจะระบุไดอยางชัดเจนวา คน
เหลานี้มีพฤติกรรมและทัศนคติเรื่องการปองกันการติดเชื้อเอชไอวีและการดูแลรักษาตนเองอยางไร เชน บาง
คนอาจจะเปนผูใชยาเสพติดชนิดฉีด บางคนเปนชายหรือหญิงที่แตงงานแลว บางคนเปนลูกจาง (ถูกบังคับ
หลอกลวง ขมขูใหขายบริการ หรือถูกสงไปตางประเทศ) บางคนอาจจะเปนนักเรียนนักศึกษา หรือชนกลุมนอย
ผูขายบริการอาจมีเพศสภาวะไดทุกรูปแบบ (ชาย หญิง หรือคนขามเพศ) บางคนอาจจะทํางานนี้ชั่วคราว แต
บางคนยึดเปนอาชีพประจําของตน การจัดบริการสุขภาพทั้งดานการปองกันและดูแลรักษาจึงตองดูแลให
ครอบคลุม ไมเฉพาะตัวผูใหบริการทางเพศเทานั้น แตรวมถึงคูนอน สามี ภรรยา พอแมดวย




                                                                                                      7
บทที่ 2

    กรอบความคิดเกี่ยวกับชายที่มีเพศสัมพันธกบชายและสาวประเภทสองในสังคมไทย
                                            ั


คําวา “ชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย” (MSM) ใชเพื่ออธิบายพฤติกรรมมากกวาการบงบอกถึงอัตลักษณ คําๆนี้มี
ขึ้นเพื่ออธิบายถึงชายทุกคนที่มีเพศสัมพันธกับชายดวยกัน โดยไมคํานึงวาสภาพแวดลอม ความชอบ หรือการ
ระบุเพศของตนจะเปนอยางไร (Foreman, 2003) คําๆ นี้เริ่มเปนที่รูจักในประเทศไทยในชวงป 2523 พรอมๆ
กับการแพรระบาดของเชื้อเอชไอวี การหาคําอื่นที่มีความหมายเทียบเคียงในภาษาไทยมาใชทดแทนคํานี้
คอนขางทําไดยาก จึงมีการใชคํานี้กันอยางแพรหลาย ซึ่งคนไทยสวนใหญอาจจะไมคุนเคยเทาใดนัก ในขณะที่
คํ า ที่ เ ป น ที่ รู จัก คุ น หู ม ากกวา ในสั ง คมไทย คื อ คํ า ว า “กะเทย” แตคํ า ว า กะเทยนั้ น ไม ไ ด มี ค วามหมายที่ จ ะ
ครอบคลุมพฤติกรรมทางเพศทั้งหมดของชายที่มีเพศสัมพันธกับชายได สวนคําอื่นๆ ที่ใชเพื่ออธิบายพฤติกรรม
เพศของชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย เชน เกย แมคํานี้จะเขาใจไดไมยากในการตีความทั่วไป แตก็มีความหมาย
ที่แตกตางออกไปตามสภาพแวดลอมและสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของแตละบุคคล

ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายประเภทตางๆ 1


เรื่องชายรักชายไมใชเรื่องใหมสําหรับประเทศไทย แตพฤติกรรมดังกลาวกลับตองปกปดซอนเรน เพราะเปน
เรื่องละเอียดออนซึ่งเกิดมาจากบรรทัดฐานและคานิยมทางสังคมไทย และเนื่องจากผูที่มีพฤติกรรมเชนนี้มักจะ
ถูกตีตราจากสังคมรอบขาง จึงเปนเหตุใหชายที่มีเพศสัมพันธกับชายมีรูปแบบในการแสดงออกถึงตัวตนหรืออัต
ลักษณทางเพศของตนที่หลากหลายแตกตางกันออกไป

ในต างจังหวั ดหรื อในสังคมชนบทของไทย พฤติกรรมทางเพศระหวางชายดวยกัน ถูกจํากัดอยูเ พียงคําวา
“กะเทย” กับ “ผูชาย” คําวา กะเทย เปนคําไทยเดิมที่มีความหมายถึงผูหญิงหรือผูชายซึ่งอยากเปนอีกเพศหนึ่ง
ในภาษาสมัยใหมคํานี้หมายถึงคนมีความรูสึกเปนเพศตรงขาม พยายามทําตัวใหเปนเพศที่ตนตองการ หรือ
เปนชายที่กระตุงกระติ้ง ซึ่งอาจถูกเรียกดวยคําตางๆ ที่มีความหมายวาเปนกะเทย แตในตางจังหวัดหรือใน
สังคมเขตชนบทมักจะไมรังเกียจคนที่เปนกะเทย อีกทั้งกะเทยยังสามารถมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคมได
โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับครอบครัวและหมูบาน การยอมรับโดยปริยายเชนนี้มักเกิดจากความเชื่อของคนใน


1                                                      1
  Excerpts from: HIV and Men Who Have Sex with Men : HIV/AIDS and Human Rights in Southeast Asia. Expert Meeting on
HIV/AIDS, Organized by Asia-Pacific Regional Office of the United Nations of the High Commissioner for Human Rights (OHCHR),
23 – 24 March 2004. Adapted from "HIV and men who have sex with men: Perspectives from selected Asian Countries" Roy Chan,
Ashok Row Kavi, Greg Carl, Shivanada Khan, Dede Oetomo, Michael L. Tan and Tim Brown, AIDS 1998, 12 (Suppl B):S59-S68.
The current article updates the situation focusing on the countries of Southeast Asia, and with an emphasis on human rights in
relation to MSM and HIV/AIDS
                                                                                                                                  8
ชนบทวาเปนเรื่องของเวรกรรมจากการประพฤติผิดในกามที่ติดตัวมาตั้งแตอดีตชาติ ดังนั้นการที่กะเทยจะ
แสดงออกถึงความสนใจในเพศเดียวกันจึงถือเปนเรื่องธรรมดา

บทบาทของผูชายที่มีเพศสัมพันธกับชายอาจกําหนดหรือจําแนกไดยากกวา โดยทั่วๆ ไป มักหมายถึงชายที่คิด
วาตนเปนชายแทแตมีเพศสัมพันธกับทั้งหญิงและชาย การที่สังคมยังมีคานิยมวาผูหญิงจะตองรักนวลสงวนตัว
จนกวาจะแตงงาน ทําใหผูชายไทยตองหาทางออกในการระบายความตองการทางเพศกับหญิงบริการ และอีก
ทางเลือกหนึ่งก็คอกะเทยนั่นเอง โดยเฉพาะอยางยิ่งความเปนชายหรือเพศวิถีของผูชายจะถือวาปรกติเมื่อตนมี
                  ื
บทบาทเปนฝายรุกกับกะเทย ทางออกอีกทางหนึ่งคือวิธีที่เรียกวาเพื่อนชวยเพื่อน หมายถึง การที่ผูชายสองคน
มีความเขาใจและใกลชิดสนิทสนมกันในภาวะแวดลอมที่มีแตเพศเดียวกัน จึงอาศัยรางกายของกันและกันใน
การสนองความตองการทางเพศ เพราะตองรักษาความบริสุทธิ์หรือพรหมจรรยผูหญิง การกระทําเชนนี้ไมนับวา
เปนการรักเพศเดียวกัน เพราะเปนเพียงเรื่องของทางกายที่ไมมีความรูสึกทางอารมณหรือจิตใจมาเกี่ยวของ2
แตเมื่อใดที่มีอารมณความรูสึกเขามาเกี่ยวของ ก็จะทําใหเขาใจไดยากวาทําไมผูชายคนหนึ่งจึงเกิดความรูสึก
รักใครชอบพอผูชายเหมือนกันไดทั้งๆ ที่ก็เปนผูชายเหมือนกันและไมมีลักษณะของความเปนกะเทยแตอยางใด
ดังนั้นความสัมพันธระหวางคนเพศเดียวกันจึงอาจเกิดขึ้นและดําเนินตอไปไดตราบเทาที่ไมเปดเผยใหผูอื่น
ไดรับรู

ในสังคมกึ่งชนบทหรือสังคมเมืองในตางจังหวัด แมจะยังมีแนวคิดและความรูสึกของการแบงแยกความเปนชาย
และการเปนกะเทยตามที่ไดอธิบายไวขางตน แตคําวา “เกย” ก็เริ่มเปนที่รูจักและเขาใจมากขึ้น แมในชนบทที่
หางไกลออกไปคําวาเกยจะมีความหมายเหมือนกะเทย แตในสังคมเมือง คําวาเกย จะหมายถึงผูชายที่มี
ลัก ษณะเหมื อนผูช ายทั่ วไป เพี ย งแต ช อบผู ช ายด ว ยกัน แม ว า คํ า ว า เกย จ ะสามารถครอบคลุ ม ถึ ง อารมณ
ความรูสึกของการชอบเพศเดียวกันของชายได แตคําวา เกยคิง หรือ เกยควีน ก็ชวยใหเขาใจถึงบทบาทใน
ความสัมพันธและบทบาททางเพศไดดยิ่งขึ้นี

ในสังคมเมืองคําวา เกย ถือเปนคําเรียกธรรมดาเหมือนกับคําวา ผูชาย และ กะเทย แตคําที่แสดงถึงบทบาท
ทางเพศกลับไมแนนอนหรือตายตัวเสมอไป ในรายงานเรื่อง พลวัตและบริบทของเพศสัมพันธระหวางชายกับ
ชายในประเทศอินโดนีเชียและประเทศไทย3 ระบุวา “บทบาทในกิจกรรมทางเพศและเพศสภาวะของแตละคน
อาจจะไมมีความสัมพันธกันแตอยางใด” ดังนั้นจึงไมแนนอนเสมอไปวา ผูที่มีลักษณะภายนอกเหมือนชาย
ทั่ ว ไปจะมี เ พศสั ม พั น ธ เ ป น ฝ า ยรุ ก และผู ที่ มี ลั ก ษณะกระตุ ง กระติ้ ง เหมื อ นผู ห ญิ ง จะเป น ฝ า ยรั บ เท า นั้ น
เชนเดียวกับคําวา “ไบ” บางครั้งอาจหมายถึงชายที่มีเพศสัมพันธกับชายหรือหญิงก็ได หรือบางครั้งก็อาจ
หมายถึงคนที่เปนไดทั้งรุกและรับในการมีเพศสัมพันธกับผูชายดวยกัน (หรือบางคนเรียกวา “โบธ”)


2
 Lyttleton C: Framing Thai sexuality. TAJA 1995, 6:135-139.
3
 The Dynamics and Contexts of Male-to-Male Sex in Indonesia and Thailand, Australian Research Centre in Sex, Health and
Society and La Trobe University, 2006.
                                                                                                                                     9
ดวยเหตุที่ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายมีความหลากหลายไปตามลักษณะทางสังคม อีกทั้งนิยามที่ไมชัดเจน
ตายตัว ความเขาใจของผูใหบริการสาธารณสุขเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ทําใหผมารับบริการมีความเสี่ยงจึงเปนเรื่อง
                                                                        ู
ที่สําคัญยิ่ง เพราะจะชวยปองกันมิใหทําการประเมินหรือตัดสินผูมารับบริการจากบุคลิกภายนอกเทานั้น

คําศัพทที่ใชเรียกและผลกระทบ

แมการมีเพศสัมพันธกับเพศเดียวกันในระหวางผูใหญที่สมัครใจเปนเรื่องไมผิดกฎหมายในประเทศไทย แตการ
มีเพศสัมพันธระหวางชายกับชายยังคงถูกจํากัดดวยกรอบทางสังคมและวัฒนธรรม ดังนั้นการที่สังคมตีตราตอ
ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายจึงเปนปจจัยที่ชวยเพิ่มความเสี่ยงตอการติดเชื้อเอชไอวีและสงผลกระทบตอสุขภาพ
ของผูนั้น เพราะอาจทําใหชายเหลานี้หลีกเลี่ยงหรือไมกลาที่จะไปรับบริการทางสังคมและสาธารณสุข ทายที่สุด
ก็จะไมสามารถเขาถึงคนกลุมนี้ได ซึ่งเปนกลุมที่ตองการขอมูล ความเขาใจ และการปรึกษามากที่สุด4

การตีตราทางสังคมสามารถเห็นไดจากถอยคําหรือความหมายที่ใชเรียกชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย คําบางคํา
อาจเปนที่ยอมรับได แตในขณะที่บางคําแสดงถึงการตีตราและการดูถูกชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย เชน คําวา
“ตุด” (ซึ่งไดรับอิทธิพลมาจากภาพยนตรเรื่อง ตุดซี่ ใชเรียกชายที่กระตุงกระติ้ง กะเทย หรือคนขามเพศ) คําวา
บอย (ปรับมาจากคําภาษาอังกฤษที่ใชเรียกชายที่มีเพศสัมพันธกับชายทั่วๆ ไป แตมีความหมายบงบอกถึง
สถานภาพในความสั ม พั น ธ ) เลดี้ บ อย (เป น คํ า ภาษาอั ง กฤษที่ ใ ช เ รี ย กคนข า มเพศ) มั น นี่ บ อย (เป น คํ า
ภาษาอังกฤษที่ใชเรียกชายขายบริการ) โดยทั่วไปคําที่กลาวมาขางตนบางคนก็อาจจะใชคําศัพทเหลานี้ในการ
ใชเรียกตัวเองเวลาพูดคุยกับคนที่มีความสัมพันธใกลชิด แตคําเหลานี้ผูอื่นไมควรใชในการสื่อสารกับคนที่อยู
ภายนอกความสัมพันธหรือเครือขายทางสังคมหรือเครือขายเพื่อนของตน เชน ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายบาง
คน อาจจะเรี ยกกัน และกัน ว า “กะเทย” แต ถาเปน คนอื่ นที่ ไม มี ความสนิท คุน เคยแตอยางใดมาเรียกแบบ
เดียวกันนี้ก็จะทําใหรูสึกโกรธหรือขุนเคืองใจเปนอยางมาก

ดังนั้นผูใหบริการทางสาธารณสุขจึงไมควรใชคําที่กลาวมาขางตนเรียกผูอื่นที่ไมสนิท (แมผูนั้นจะใชคําศัพท
เดียวกันเรียกตัวเองก็ตามเวลาพูดคุยในกลุมเพื่อนที่สนิท) แตควรเรียกตามที่ผูมารับบริการตองการใหเรียก
เพราะการระบุเพศของคนๆ หนึ่งอาจไมใชภาพสะทอนพฤติกรรมทางเพศของคนๆ นั้น นอกจากนี้นผูใหบริการ
บางคนอาจจะเคยพบวา มีผูมารับบริการชาวตางชาติที่เปนคนรักเพศเดียวกันที่มาขอรับการตรวจเอชไอวี
เพราะไมสะดวกใจที่จะไปรับบริการการตรวจเอชไอวีในประเทศตนเองเนื่องจากการเปนผูที่รักเพศเดียวกันใน
ประเทศของเขานั้ นถื อเปน เรื่องผิดกฎหมาย ผู มาขอรับบริการกลุ มนี้ จึง อาจรู สึก อึดอัดและลําบากใจที่จะ
เป ดเผยรสนิ ย มทางเพศของตนให ผู อื่ น ไดท ราบ (โดยเฉพาะผูใ ห บ ริก ารสาธารณสุ ข) ดั ง นั้ น ผู ใ หบ ริก าร
สาธารณสุขจึงควรมุงเนนทําความเขาใจถึงพฤติกรรมทางเพศของผูมารับบริการมากกวาที่จะใหความสนใจใน
รสนิยมทางเพศหรืออัตลักษณทางเพศของผูนั้น
4
  McCamish M, Storer G, Carl G, Kengkanrua K: Why should more attention be given to male-male sex encounters in Thailand. IV
International Congress on AIDS in Asia and the Pacific. Manila, October 1997 [abstract C(P)082].
                                                                                                                          10
การเปดเผยอัตลักษณทางเพศและรสนิยมทางเพศ

แมวาในประเทศไทยจะไมมีการรังเกียจหรือดูถูกการรักเพศเดียวกันอยางชัดเจนมากนักเมื่อเปรียบเทียบกับ
ประเทศอื่นๆแลว แตไมไดหมายความวาการรักเพศเดียวกันจะเปนที่ยอมรับโดยทั่วไปในสังคม และแมจะเห็น
วาในสังคมจะไมไดมีมาตรการในการปองกันหรือลงโทษผูที่รักเพศเดียวกัน แตการที่สังคมรับไดเชนนี้ก็ไมได
แปลวาเปนการยอมรับโดยสิ้งเชิง ทั้งนี้จะเห็นไดจากการชายที่มีเพศสัมพันธกับชายบางคนแสดงความวิตก
กังวลกลัววาการเปดเผยพฤติกรรมทางเพศของตนอาจสงผลกระทบตอหนาที่การงาน หรืออาจถึงขั้นถูกไลออก
จากงาน บางคนแสดงความรูสึกอึดอัดใจที่ตองมีชีวิตสองรูปแบบ แบบหนึ่งคือการแสดงใหครอบครัวและเพื่อน
รวมงานยอมรับ อีกแบบหนึ่งคือการไดเปนตัวของตัวเองกับคนที่เปนชายที่มีเพศสัมพันธกับชายดวยกัน แมวา
การแสดงความรังเกียจและดูถูกในสังคมอาจไมชัดเจนนัก แตชายที่มีเพศสัมพันธกับชายสวนใหญก็ยังคงไม
กลาเปดเผยตัวตนที่แทจริงของตัวเอง ดังนั้นการเปดเผยจึงมักจํากัดอยูแตเฉพาะกลุมคนสนิท เชนเพื่อนสนิทที่
คบกันมาเปนเวลานาน เพื่อนเกาสมัยที่เปนนักเรียน เพื่อนรวมงานที่สนิทกันมาก หรือคูของตนเทานั้น

การใหบริการตางๆที่มีในประเทศไทย มักมีเปาหมายเฉพาะสําหรับประชากรกลุมใดกลุมหนึ่งอยางชัดเจน เชน
การบริการสําหรับชายแท เกย สาวประเภทสอง ชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย หรือชายขายบริการ ซึ่งยังคงเปน
การแบงบนพื้นฐานของเรื่องเพศมากกวาที่จะมุงประเด็นการใหบริการไปที่เรื่องของพฤติกรรม จึงทําใหคนกลุม
นี้ยิ่งเผชิญกับความเสี่ยงในการติดเชื้อมากขึ้นเพราะความกลัวที่จะถูกเปดเผยความลับในเรื่องเพศ ทําใหคน
เหลานั้นไมกลาที่จะยอมรับพฤติกรรมทางเพศของตน และยังไมกลาเขาไปรับขอมูลขาวสารและบริการตรวจ
รักษาโรคติดตอทางเพศสัมพันธ และการตรวจเอชไอวี ไปจนถึงําการบริการดานสุขภาพที่เหมาะสมอื่นๆดวย

เครือขายทางเพศของชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย

เครือขายทางเพศของชายที่มีเพศสัมพันธกับชายมักเกิดจากปฏิสัมพันธระหวางคนที่มีอัตลักษณทางเพศหลาย
แบบ ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายอาจมีเพศสัมพันธกับคนในกลุมเดียวกัน หรือกับชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย
กลุมอื่นๆ และกับชายหรือหญิงที่เปนคนรักตางเพศดวย ในรายงานเรื่อง “พลวัตและบริบทของเพศสัมพันธ
ระหวางชายกับชายในประเทศไทยและอินโดนีเชีย5“ ระบุวาเครือขายการมีเพศสัมพันธมักเริ่มมาจากเครือขาย
ทางสังคม นอกจากนี้ยังพบวา เครือขายทางสังคมของชายที่มีเพศสัมพันธกับชายในประเทศไทย มักเกิดจาก
กลุมคนที่มีลักษณะทางเพศคลายๆ กัน มีระดับการเปดเผยอัตลักษณทางเพศที่ใกลเคียงกัน รวมถึงสถานภาพ
ทางเศรษฐกิจและสังคมที่ใกลเคียงกัน โดยทั่วๆไปการมีกิจกรรมทางเพศมักจํากัดอยูในเครือขายทางสังคม
เดียวกัน แตการมีปฏิสัมพันธขามเครือขายก็อาจนําไปสูกิจกรรมทางเพศไดเชนกัน


5
 The Dynamics and Contexts of Male-to-Male Sex in Indonesia and Thailand, Australian Research Centre in Sex, Health and
Society and La Trobe University, 2006.
                                                                                                                          11
บทที่ 3

                  ความเสี่ยงและความเปราะบาง/โอกาสตอการติดเชื้อเอชไอวีของ
                          ชายที่มีเพศสัมพันธกบชายและสาวประเภทสอง
                                              ั


ความเสี่ยงตอการติดเชื้อเอชไอวี

อัตลักษณทางเพศและพฤติกรรมทางเพศของชายที่มีเพศสัมพันธกับชายนั้นมีความแตกตางที่สําคัญอยูหลาย
ประการ และดวยความแตกตางนี้เองจึงไมควรสรุปวา ผูชายทุกคนที่มีเพศสัมพันธกับชายดวยกันจะตองมี
ความเปราะบางหรือโอกาสตอการติดเชื้อเอชไอวีเหมือนกัน ชายที่มีเพศสัมพันธกับคูประจําซึ่งมีความสัมพันธ
ดวยเปนเวลานานอาจเปนคนรักเดียวใจเดียวก็ได (หรืออาจจะไมก็ได) สวนชายที่มีเพศสัมพันธอยางปลอดภัย
เสมอยอมมีความเสี่ยงในการติดเชื้อเอชไอวีที่นอยกวาชายที่มีคูนอนหลายคนหรือมีเพศสัมพันธโดยไมปองกัน
ดังนั้นการมีเพศสัมพันธทางทวารหนักโดยไมไดใชถุงยางอนามัย เปนสาเหตุหลักของการติดเชื้อเอชไอวีในกลุม
ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายดวยกัน ชายเหลานี้บางคนมีคูนอนเปนหญิง ซึ่งการที่ผูชายมีเพศสัมพันธทางทวาร
หนักกับผูชายดวยกันโดยไมไดใชถุงยาง จึงอาจจะทําใหหญิงคูนอนหรือลูกของตนมีโอกาสเสี่ยงตอการติดเชื้อ
เอชไอวีดวยเชนกัน และในทํานองเดียวกัน การมีเพศสัมพันธทางชองคลอดหรือทางทวารหนักระหวางชายและ
หญิงโดยไมไดใชถุงยางอนามัย ก็เปนสาเหตุที่ทําใหคูนอนของคนๆ นั้นมีโอกาสเสี่ยงตอการติดเชื้อเอชไอวีดวย
เชนกัน
ความเสี่ยงของการติดเชื้อเอชไอวีจากการมีเพศสัมพันธทางทวารหนักระหวางชายที่มีเพศสัมพันธกับชายหรือ
ชายกับหญิง จะมีความเสี่ยงที่สูงมากหากไมไดใชถุงยางอนามัยในขณะที่มีเพศสัมพันธ เนื่องจากผิวเยื่อบุ
ภายในบริเวณทวารหนักมีความบอบบางและฉีกขาดไดงาย แมแตรอยถลอกเล็กนอยที่เกิดขึ้นในชองทวารหนัก
ก็ ส ามารถเป น ช อ งทางให เ ชื้ อ เอชไอวี เ ข า สู ร า งกายได แต ถึ ง แม จ ะไม มี ร อยถลอกก็ ยั ง เชื่ อ กั น ว า เซลล ใ น
ชองทวารหนักมีภูมิคุมกันเชื้อเอชไอวีต่ํากวาเซลลบริเวณอื่นของรางกาย คนที่เปนฝายรับในการมีเพศสัมพันธ
ทางทวารหนักโดยไมไดใชถุงยางปองกัน จะมีความเสี่ยงสูงกวาผูหญิงที่มีเพศสัมพันธทางชองคลอดกับชายที่
ติดเชื้อเอชไอวีโดยไมไดใชถุงยางปองกันหลายเทา ผูชายบางคนชอบที่จะมีกิจกรรมทางเพศดวยการเอากําปน
สอดเขาไปในทวารหนักของคูนอนกอนที่จะสอดใสอวัยวะเพศของตน วิธีการเชนนี้จะยิ่งเพิ่มความเสี่ยงที่จะทํา
ใหผิวหนังบริเวณทวารหนักฉีกขาดมากขึ้น การมีเพศสัมพันธทางทวารหนักที่ไมไดปองกันทําใหคูนอนที่เปน
ฝายรุกมีความเสี่ยงตอการติดเชื้อไดเชนกันหากคนที่เปนฝายรับนั้นมีเชื้อเอชไอวีแลว ยิ่งไปกวานี้ การเปน
โรคติดตอทางเพศสัมพันธที่ยังรักษาไมหาย เชน ซิฟลิส หนองในแท หรือหนองในเทียมก็ตาม ยิ่งเพิ่มโอกาส
เสี่ยงตอการติดเชื้อเอชไอวีมากยิ่งขึ้นหากคูนอนของตนมีเชื้อเอชไอวี
การมีเพศสัมพันธทางปาก (ปากกับอวัยวะเพศชาย) เปนอีกกิจกรรมทางเพศที่เกิดขึ้นบอยครั้ง แมวาโอกาส
เสี่ยงตอการติดเชื้อเอชไอวีจะคอนขางต่ํา แตอาจจะไดรับเชื้อโรคติดตอทางเพศสัมพันธอื่นๆก็ได แตวิธีการ
ปองกันที่ดีที่สุดคือ การใชถุงยางอนามัย หลายคนไมใชถุงยางอนามัยเพราะกลิ่นและรสของถุงยางอนามัย
นั้นเองทําใหลดความสุขทางเพศลง การหลั่งน้ําอสุจิในปากของคูนอนเปนอีกวิธีหนึ่งที่ทําใหเกิดความเสี่ยงตอ
การติดเชื้อเอชไอวีได การถอนอวัยวะเพศออกจากปากคูนอนกอนที่จะหลั่งน้ําอสุจิจะชวยลดความเสี่ยงตอการ
ติดเชื้อเอชไอวีได อยางไรก็ตามหากมีการติดเชื้อโรคติดตอทางเพศสัมพันธ มีบาดแผล หรือมีรอยถลอกในปาก
จะยิ่งเพิ่มโอกาสเสี่ยงตอการติดเชื้อเอชไอวีมากยิ่งขึ้น
กิจกรรมทางเพศที่มักเกิดขึ้นบอยครั้งในรูปแบบอื่นๆ เชน การถูไถอวัยวะเพศชายกับรองอกหรือขาหนีบ หรือ
การสําเร็จความใครใหแกกัน มีความเสี่ยงตอการติดเชื้อเอชไอวีนอยมาก แตอาจมีความเสี่ยงในการติดเชื้อ
โรคติดตอทางเพศสัมพันธได กิจกรรมทางเพศที่หลากหลายเหลานี้ขึ้นอยูกับแตละกลุมคนหรือสังคมในแตละ
ประเทศ รวมทั้งวิธีการมีเพศสัมพันธที่ปลอดภัยที่ไดรับการยอมรับในแตละสังคม


                                                                                                                                  12
ความเปราะบางหรือโอกาสเสี่ยงในการติดเชื้อเอชไอวี

การที่ไมมีกิจกรรมดานการปองกันหรือบริการที่เปนมิตรตอชายที่มีเพศสัมพันธชายหรือสาวประเภทสอง ทําให
คนกลุมนี้มีความเปราะบางหรือโอกาสเสี่ยงตอการติดเชื้อเอชไอวี มีหลายประเทศในทวีปเอเชียที่ยังไมเต็มใจ
พรอมจะยอมรับวาประเทศของตนมีประชากรที่เปนชายที่มีเพศสัมพันธชายหรือสาวประเภทสองอยูดวย ซึ่ง
เปนเหตุใหประเทศเหลานั้นปฏิเสธวา ไมมีการตีตราดูถูกตอผูที่รักเพศเดียวกันในประเทศของตน (เนื่องจากไม
ยอมรับรูวามีคนกลุมนี้อยู) ทั้งๆ ที่ในความเปนจริงนั้นทั้งการตีตราดูถูกคนรักเพศเดียวกันและกิจกรรมทางเพศ
          
ระหวางชายนั้นเกิดขึ้นไดในหลายระดับของสังคม และมักจะถูกตําหนิและดูถูกจากสังคมดวยเชนกัน

การใชถุงยางอนามัย
การตีตราและการดูถูกตอคนรักเพศเดียวกัน เปนสาเหตุที่ทําใหชายที่มีเพศสัมพันธกับชายบางคนไมกลา
เปดเผยตัว และทําใหสังคมไมไดรับรูวามีคนกลุมนี้อยูในสังคมเดียวกัน ผลกระทบสืบเนื่องจากเรื่องนี้ทําให
การจัดกิจกรรมดานการปองกันและบริการทางดานสุขภาพที่จําเปนตอประชากรกลุมนี้จึงไมมีประสิทธิภาพ
เทาที่ควร การรังเกียจกีดกันยังสงผลใหไมสามารถจัดบริการแจกจายถุงยางและสารหลอลื่นในสถานที่ที่คน
เหลานี้มักจะมีกิจกรรมทางเพศกัน การใชถุงยางอยางสม่ําเสมอเกิดขึ้นนอยมากในคนกลุมนี้ ดวยความเชื่อ
ที่วา พวกเขามีความเสี่ยงนอย และดวยเหตุที่ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายบางคนมีเพศสัมพันธกับคูนอนหญิง
ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายจึงอาจเปนปจจัยหนึ่งที่เชื่อมโยงสถานการณการระบาดของเอชไอวีไปสูประชากร
สวนใหญในภาพรวม
การรับรูเรื่องความเสี่ยง
สื่อประชาสัมพันธหรือขอมูลขาวสารที่มีขึ้นเพื่อกลุมชายที่มีเพศสัมพันธกับชายหรือสาวประเภทสองโดยเฉพาะ
นั้นมีอยูนอยมาก โครงการดานการปองกันเอชไอวีในทวีปเอเชียสวนใหญจะมุงเนนการเฉพาะในกลุมรักตาง
เพศ และกลุมที่ใชสารเสพติดชนิดฉีดเทานั้น จึงทําใหกลุมชายที่มีเพศสัมพันธกับชายสรุปเอาเองวา พฤติกรรม
ทางเพศที่พวกเขาปฏิบัติกันนั้นไมไดคงจะมีความเสี่ยงนอย (เกิดจากการสันนิษฐานเอาเองเนื่องจากมีโครงการ
ปองกันเอชไอวีเฉพาะกลุมคอนขางนอยมาก) ซึ่งอาจคิดวาการมีเพศสัมพันธกับผูหญิงเปนเรื่องที่มีความเสี่ยง
มากกวาและการมีเพศสัมพันธแบบชายที่มีเพศสัมพันธกับชายเปนเรื่องที่ปลอดภัยกวา (โดยเฉพาะในบาง
ประเทศ เชน เวียดนาม)
จํานวนและประเภทของคูนอน
การตีตราและการดูถูกทางสังคมอาจเปนปจจัยหนึ่งที่ทําใหชายที่มีเพศสัมพันธกับชายหรือสาวประเภทสองนั้น
ไมสามารถจะมีความสัมพันธกันไดอยางยืนยาว เนื่องจากไดรับผลกระทบในหลายๆดาน แตอยางไรก็ตามชาย
ที่มีเพสสัมพันธกับชายก็ตองการความสัมพันธและความรักในชีวิตของตน จึงสงผลใหในบางครั้ง หลายคนมี
จํานวนคูนอนจํานวนมาก และบางคนมีเพศสัมพันธแบบเปนครั้งคราว (ไมผูกพันหรือผูกมัด)อยูบอยครั้งมาก
ซึ่งมักจะสงผลตอโอกาสในการตอรองที่จะมีเพศสัมพันธอยางปลอดภัย โดยอาจขึ้นอยูกับอัตลักษณทางเพศ
และสถานภาพทางเศรษฐกิจ
การถูกบังคับขืนใจใหมีเพศสัมพันธ
ในกลุ ม ชายที่ มี เพศสั ม พั น ธ กั บ ชายก็ ยัง มี รูป แบบการมีเ พศสั ม พั น ธ ที่อาจไม ได เ กิ ดจากความสมั ค รใจ ซึ่ ง
เหตุการณเชนนี้มักจะเกิดในกลุมชายอายุนอย ซึ่งคนที่เปนเหยื่อของความรุนแรงทางเพศมักไมกลาที่จะ
เปดเผยสิ่งที่เกิดขึ้นดวยกลัวคนอื่นจะรูวาตนมีเพศสัมพันธกับผูชายดวยกัน
การติดเชื้อโรคติดตอทางเพศสัมพันธที่ยังไมไดรักษาใหหายขาด
การมีเพศสัมพันธที่ไมไดปองกัน อาจทําใหชายที่มเพศสัมพันธกับมีโอกาสไดรับเชื้อโรคติดตอทางเพศสัมพันธที่
                                                 ี
สามารถติดตอไดทั้งทางปาก ทางอวัยวะเพศชาย และทางทวารหนัก ซึ่งมีสวนชวยเพิ่มความเสี่ยงตอการติด
เชื้อเอชไอวีใหมากขึ้น และเนื่องจากกลัววาคนอื่นจะรูถึงพฤติกรรมทางเพศของตน ชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย
จึงไมกลาเปดเผยถึงอาการของโรคดังกลาว สุดทายจึงไมมีโอกาสไดตรวจพบและรับการรักษาที่เหมาะสม
                                                                                                                        13
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai
Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai

Más contenido relacionado

Similar a Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai

เพศสึกษา
เพศสึกษาเพศสึกษา
เพศสึกษาduesdee tawon
 
273684 ch2 พฤติกรรมทางเพศ
273684 ch2 พฤติกรรมทางเพศ273684 ch2 พฤติกรรมทางเพศ
273684 ch2 พฤติกรรมทางเพศNan Natni
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศniralai
 
สังคมวัยรุ่น
สังคมวัยรุ่นสังคมวัยรุ่น
สังคมวัยรุ่นapiromrut
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurstya035
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurstNew Born
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurstpattamasatun
 
ขอบข่ายงาน
ขอบข่ายงานขอบข่ายงาน
ขอบข่ายงานmarena06008
 
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสคนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสWat Thai Washington, D.C.
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2Pisan Chueachatchai
 

Similar a Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai (20)

เพศสึกษา
เพศสึกษาเพศสึกษา
เพศสึกษา
 
273684 ch2 พฤติกรรมทางเพศ
273684 ch2 พฤติกรรมทางเพศ273684 ch2 พฤติกรรมทางเพศ
273684 ch2 พฤติกรรมทางเพศ
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
 
สังคมวัยรุ่น
สังคมวัยรุ่นสังคมวัยรุ่น
สังคมวัยรุ่น
 
ข้อสอบ
ข้อสอบข้อสอบ
ข้อสอบ
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
ขอบข่ายงาน
ขอบข่ายงานขอบข่ายงาน
ขอบข่ายงาน
 
ขอบข่ายงาน
ขอบข่ายงานขอบข่ายงาน
ขอบข่ายงาน
 
Women and reproductive_choices[1]
Women and reproductive_choices[1]Women and reproductive_choices[1]
Women and reproductive_choices[1]
 
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสคนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
 
Isstrain
IsstrainIsstrain
Isstrain
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 
Buddhm202
Buddhm202Buddhm202
Buddhm202
 

Msm Awareness & Sensitivity Handbook Thai

  • 2. คํานํา ป จ จุ บั น นี้ อั ต ราความชุ ก ของการติ ด เชื้ อ เอชไอวี ใ นประเทศไทยมี อั ต ราที่ สู ง โดยเฉพาะในกลุ ม ชายที่ มี เพศสัมพันธกับชายและสาวประเภทสอง แมจะมีการทํางานในสวนของภาคองคกรชุมชนมากขึ้นเพื่อสามารถ เขาถึงกลุมเปาหมายดังกลาวในการใหความรูและขอมูลดานการปองกันเอชไอวี ซึ่งสงผลใหกลุมเปาหมาย สามารถประเมินความเสี่ยงของตัวเองและมีพฤติกรรมทางเพศที่ปลอดภัยมากขึ้น แตยังมีกลุมเปาหมาย จํานวนไมมากที่สามารถเขาสูการบริการใหการปรึกษาและตรวจเอชไอวี (VCT service) องคการเอฟเอชไอ (FHI) รวมกับ USAID และ Pact Thailand จึงไดรวมมือกันจัดโครงการสาธิตการใหบริการ ใหการปรึกษาและ การตรวจเอชไอวี ใ นกลุ ม ชายที่ มี เ พศสั ม พั น ธ กั บ ชายและสาวประเภทสองใน 3 จั ง หวั ด ได แ ก กรุ ง เทพฯ เชียงใหม และ ชลบุรี (พัทยา) โดยมีเปาหมายเพื่อใหโรงพยาบาล คลินิก หรือหนวยบริการที่เขารวมในโครงการ สาธิตนี้สามารถเขาใจถึงอุปสรรคในการใหบริการกับกลุมชายที่มีเพศสัมพันธกับชายและสาวประเภทสองทังใน ้ สวนของการบริการและระดับบุคคล และสามารถพัฒนาปรับปรุงบริการของตนเพื่อลดอุปสรรคตางๆ ที่มีตอ กลุมเปาหมายใหลดนอยลง และในทายที่สุด คาดหวังวา หลังจากมีการพัฒนาปรับปรุงบริการแลว อัตราการใช บริการดังกลาวโดยกลุมชายที่มเพศสัมพันธกับชายและสาวประเภทสองจะเพิ่มมากขึ้นตามลําดับ ี จากการเก็บขอมูลเบื้องตนของโครงการ พบวา อุปสรรคหลักประการหนึ่งที่ทําใหกลุมเปาหมายไมเขามาใช บริการดังกลาว คือ ทัศนคติเชิงลบของผูใหคําปรึกษาและเจาหนาที่ที่เกี่ยวของที่มีตอกลุมชายที่มีเพศสัมพันธ กับชายและสาวประเภทสอง คูมือการอบรมฉบับนี้จึงไดรับการปรับปรุงขึ้นเพื่อใหขอมูลและสรางความรูความ เขาใจในประเด็นดานสุขภาพทางเพศของชายที่มีเพศสัมพันธกับชายและสาวประเภทสองในประเทศไทย ทั้งใน สวนของวิถีชีวิตและเพศวิถีของกลุมดังกลาว กิตติกรรมประกาศ คูมือการฝกอบรมฉบับนี้ดัดแปลงจากชุดฝกอบรมเรื่อง “ขอพึงรูและความเขาใจในเรื่องเพศในการสงเสริม สุขภาพทางเพศสําหรับชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย” ขององคการเอฟเอชไอ สํานักงานประเทศเวียตนาม (FHI Vietnam Office) และเรียบเรียงโดย ดร.แคธลีน เคซี่ย จากองคการเอฟเอชไอ สํานักงานภูมิภาคเอเชียและ แปซิฟก (FHI APRO) และคุณเกรก คารล จากศูนยวิจยโรคเอดส สภากาชาดไทย ั ทั้งนี้ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากองคการความชวยเหลือแหงรัฐบาลสหรัฐอเมริกา (USAID) 2
  • 3. สารบัญ หนา บทที่ 1: ใครคือชายที่มีเพศสัมพันธกบชายและสาวประเภทสอง ั 4 บทที่ 2: กรอบความคิดเกียวกับชายทีมีเพศสัมพันธกับชายและสาวประเภทสองใน ่ ่ 8 สังคมไทย บทที่ 3: ความเสี่ยงและความเปราะบาง/โอกาสเสียงตอการติดเชื้อเอชไอวีของ ่ 12 ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายและสาวประเภทสอง บทที่ 4: ความซับซอนของความเสี่ยงตอการติดเชือเอชไอวีในประเทศไทย ้ 16 บทที่ 5: ความจําเปนในการใหบริการดานสุขภาพและวิธีการเขาถึงชายที่มี 20 เพศสัมพันธกับชายและสาวประเภทสอง บทที่ 6: สุขภาพทางเพศและความตองการดานจิตวิทยาสังคมของชายที่มี 22 เพศสัมพันธกบชายและสาวประเภทสอง ั บทที่ 7: วิธการมีเพศสัมพันธที่ปลอดภัย ี 24 บทที่ 8: การใหคาปรึกษากับชายที่มีเพศสัมพันธกบชายที่มเชื้อเอชไอวีและสาว ํ ั ี 28 ประเภทสองที่มีเชื้อเอชไอวี บทที่ 9: การปรับสภาพแวดลอมของสถานบริการสุขภาพ 29 บทที่ 10: บทสรุปสําหรับผูใหบริการดานสุขภาพ 38 เอกสารอางอิง 39 3
  • 4. บทที่ 1 ใครคือ ชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย และสาวประเภทสอง ? คําวา “ชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย” หมายถึง ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายโดย ไมคํานึงวาจะมีเพศสภาวะแบบ ใดหรือจะแสดงตัววาเปนเพศใด คําๆนี้มีขึ้นเนื่องจากปกติแลวมีชายที่รักเพศเดียวกันเพียงกลุมนอยเทานั้นที่จะ ยอมรับวาตนเปนเกย หรือรักเพศเดียวกัน หรือเปนผูที่รักทั้งสองเพศ ในขณะที่ชายดังกลาวสวนใหญจะเรียก ตัวเองตามพฤติกรรมและอัตลักษณทางเพศตามสภาพสังคมของตน โดยไมไดตัดสินตนเองตามพฤติกรรมทาง เพศกับชายดวยกันแตอยางใด ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายหลายคนคิดวาตนเปนชายรักหญิงมากกวาชายรัก เพศเดียวกันหรือชายรักสองเพศ โดยเฉพาะอยางยิ่งถาหากเขายังมีเพศสัมพันธกับผูหญิง หรือแตงงานแลว หรือเปนฝายรุกในการมีเพศสัมพันธทางทวารหนัก หรือมีเพศสัมพันธกับผูชายเพื่อแลกกับเงินหรือสิ่งตอบแทน อื่นๆ ชายที่มเพศสัมพันธกับชายมีดวยกันหลายประเภท ซึ่งอาจแตกตางกันไปโดยขึ้นอยูกับเหตุปจจัยดังตอไปนี้ : ี • อัตลักษณทางเพศโดยไมเกี่ยวของกับพฤติกรรมทางเพศ เชน (เกย คนรักเพศเดียวกัน คนรักตางเพศ คนรักสองเพศ และสาวประเภทสอง รวมถึงเพศวิถีหรืออัตลักษณทางเพศอื่นๆ ที่อาจใชเรียกกัน) • การยอมรับและเปดเผยอัตลักษณทางเพศของตนเอง • คูนอน (ชาย/ หญิง / และ/หรือสาวประเภทสอง) • เหตุผลในการมีเพศสัมพันธกับคูนอน (ชอบอยูแลว ถูกบังคับ มีแรงจูงใจในการหารายได ความสะดวก ความสนุก และหรืออยูในสภาพแวดลอมที่มีแตผูชายลวน) • บทบาทในการมีเพศสัมพันธ (เปนฝายรุก ฝายรับ หรือไดทั้งสองอยาง) และ • ลักษณะที่เกี่ยวของกับเพศสภาวะ บทบาทและพฤติกรรม เชน เปนผูหญิง เปนผูชาย เปนแมน บุคลิก ออกสาว คนที่แตงตัวเปนหญิง หรือแตงตัวตรงกับเพศสภาวะของตน) ผูใหบริการสุขภาพควรรูอะไรบางเกี่ยวกับอัตลักษณทางเพศและพฤติกรรมทางเพศของผูใชบริการ ? คําวา “ชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย” เปนคําที่ใชกันอยางแพรหลายในการทํางานดานเอชไอวี เพราะเปนคําที่ใช สื่อถึงพฤติกรรมที่ทําใหชายเหลานี้มีโอกาสเสี่ยงตอการติดเชื้อ อยางไรก็ตาม ไดมีการโตแยงกันกันวาคําๆนี้ มุงเนนถึงพฤติกรรมทางเพศมากเกินไปซึ่งทําใหไมสามารถครอบคลุมถึงมิติดานอื่นๆ เชน อารมณความรูสึก ความสัมพันธ อัตลักษณทางเพศ เปนสาเหตุใหบางองคกรหรือคนบางคนนิยมใชคําวา “ผูชายที่มีเพศสัมพันธ กับผูชาย” มากกวา เพราะใหความหมายที่กวางกวา และสามารถครอบคุลมผูชายทุกประเภทที่มีเพศสัมพันธ กับคนเพศเดียวกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งคําวา “ผูชาย” ไมมีขอจํากัดดานอายุ จึงหมายรวมถึงเด็กผูชายที่มี เพศสัมพันธกับเด็กผูชายดวยกัน และความสัมพันธทางเพศระหวางชายและเด็กชายอีกดวย (หมายเหตุ: เปน อธิบายความของคําศัพทระหวาง men who have sex with men และ male who have sex with male) อาจกลาวไดวาคําวา “ชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย” เปนการตอบสนองทางภาษาที่กําเนิดขึ้นในวัฒนธรรม ตะวันตกเพื่อการอธิบายถึงกิจกรรมทางเพศระหวางชายดวยกัน อีกทั้งการกําเนิด วัฒนธรรมเกย ในประเทศ ทางตะวันตกในชวงศตวรรษที่ 20 มีสวนทําใหเกิดความเชื่อที่วาคนเรามี 2 ประเภทเทานั้น นั่นก็คือ ผูที่เปนเกย (รักเพศเดียวกัน) และชายจริงหญิงแท (รักตางเพศ) ซึ่งในปจจุบันแมวาแนวคิดเชนนี้จะเริ่มปรับเปลี่ยนไป แตก็ มีคนจํานวนมากในหลากหลายประเทศที่ยังคงแนวคิดเชนนี้ไว ผูชายจํานวนมากถือวาการมีเพศสัมพันธกับ ชายดวยกันเปนแคสวนหนึ่งของชีวิตทางเพศของตนเทานั้น และไมมีความเกี่ยวของกับอัตลักษณทางเพศหรือ สังคมของตนแตอยางใด ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายบางคนอาจสังเกตเห็นไดอยางชัดเจนในสังคมของเรา เชน ชายที่ชอบแตงตัวเปนหญิงหรือใชเสื้อผาสิ่งของเครื่องใชของผูหญิง ในขณะที่ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายบาง คนก็ดูกลมกลืนเหมือนผูชายทั่วไปจนไมสามารถรูไดเลยวาผูนั้นเปนชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย ดังนั้นในบาง สังคมที่ไมเคยพบเห็นผูที่รักเพศเดียวกัน ก็อาจทําใหเกิดความเขาใจวาในสังคมนั้นไมมีผูที่รักเพศเดียวกันอยู เลย แมวาในความเปนจริงแลว การมีเพศสัมพันธระหวางชายดวยกันมีอยูในเกือบทุกสังคม ดังนั้นการที่สังคม ปฏิเสธถึงการมีอยูของผูที่รักเพศเดียวกันจึงไมใชภาพสะทอนความเปนจริงในสังคม 4
  • 5. อาจเปนไปไดวาชายที่มีเพศสัมพันธกับชายสวนใหญในเกือบทุกประเทศในทวีปเอเชียเปนชายที่ไมยอมรับ พฤติกรรมทางเพศของตนที่แตกตางไปจากผูชายทั่วไปในสังคม และมักไมกลายอมรับโดยเปดเผยวาตนเปน เกยหรือเปนชายรักเพศเดียวกัน และไมกลายอมรับและพยายามปดบังวา ตนก็มีเพศสัมพันธกับชายหรือมี ความสัมพันธกับชาย ซึ่งชายเหลานี้บางคนก็แตงงานและมีเพศสัมพันธกับผูหญิง บางคนยอมรับวาตนเปนชาย รักสองเพศ บางคนก็คิดวาตนเองเปนชายรักหญิง หรือรักสองเพศ โดยมีเพศสัมพันธกับชายอื่นเปนบางครั้งเพื่อ ตอบสนองความสุขทางเพศ เนื่องจากไมสามารถหาคูนอนที่เปนหญิงได ผูชายบางคนมีเพศสัมพันธกับสาว ประเภทสองโดยไมไดคิดวาตนเองเปนเกยหรือเปนผูรักเพศเดียวกัน เพราะผูนั้นไมถือวาสาวประเภทสองเปน ผูชายในสังคมของตน แตกลับถือเสมืองวาสาวประเภทสองก็เปนผูหญิงคนหนึ่ง คนขามเพศ (Transgender) และเพศกํากวม (intersex) คําศัพทที่ใชเรียกทัวไป ่ คนขามเพศ เปนคําที่มีความหมายกวางที่ใชเรียกผูที่ไมไดมีลักษณะของ “ชายและหญิง” อยางชัดเจน หรือใชเรียกคนที่ไมยอมรับเพศสภาพที่ถือกําเนิดมาของตนเอง บางครั้งอาจเรียกคนขามเพศวาผูที่มีความ แปรผันทางเพศสภาพ ผูมีจิตใจเหมือนเพศตรงขาม (transsexual) หมายถึง ผูที่รูสึกวาอัตลักษณทางเพศของตนไมตรงกับ รางกายของตนที่ถือกําเนิดมาหรือไมตรงกับเพศสภาพของตนที่ถูกกําหนดโดยสังคม รวมทั้งหมายถึงผูที่ แปลงเพศจากชายเปนหญิง (male-to-female - MTF) หรือจากหญิงเปนชาย (female-to-male - FTM) และ ยังหมายรวมถึงผูท่ียังไมไดผาตัดแปลงเพศ (“pre-op”) หรือ ผูที่ผาตัดแปลงเพศแลว (“post-op”) อีก ดวย นอกจากนี้บางคนก็เรียกตัวเองวาผูที่ไมตองการผาตัดแปลงเพศ (”no-op”) การแตงกายขามเพศ (Cross-dressing) หมายถึง การแตงกายดวยเสื้อผาที่ตามปกติแลวจะสวมใสโดยผูที่ มีเพศสภาพตรงกันขามซึ่งอาจใชเรียกทั้งผูมีจิตใจเหมือนเพศตรงขามและผูที่แตงกายขามเพศ (Cross- dressers) ผูที่แตงกายขามเพศหรือบางครั้งเรียกอีกอยางหนึ่งวาชายที่ชอบแตงหญิง (transvestites) มักเปน คําที่ใชเรียกผูที่ชอบแตงกายเหมือนเพศตรงขามแตไมไดมีความรูสึกขัดแยงในใจเกี่ยวกับเพศสรีระและอัต ลักษณทางเพศของตนแตอยางใด ผูท่ีแตงกายขามเพศสวนใหญเปนผูชายที่รักตางเพศแตแตงกายขาม เพศเพื่อความสนุกสนาน เพื่อแสดงบทบาทสมมุติ เพื่อคลายเครียด หรือเพื่อความพึงพอใจทางเพศ โดยทั่วไปแลวมักจะไมคอยเรียกผูหญิงที่ชอบแตงตัวเหมือนผูชายวาเปนผูแตงกายขามเพศ เนื่องจาก สังคมยอมใหผูหญิงแตงกายไดหลากหลายมากกวาผูชาย (เชนสามารถสวมกางเกงหรือไวผมสั้นได เปน ตน) นอกจากนี้ยังมีคําอีกหลายคําที่ใชเรียกบุคคลนั้นๆ ตามความคิดและความรูสึกของคนในสังคมหรือ ตามการเปลี่ยนแปลงของเพศสภาพ เชน การขามผาน (Passing) หมายถึง ลักษณะของบุคคลที่คนใน สั ง คมมองว า เหมื อ นกั บ มี เ พศสภาพที่ ต รงกั น ข า ม ส ว นคํ า ว า การเปลี่ ย นเพศสภาพ (Transitioning) 5
  • 6. หมายถึงกระบวนการในการเปลี่ยนจากเพศสภาพหนึ่งไปเปนเพศสภาพตรงขาม ซึ่งเปนกระบวนการของ การพัฒนาการที่มีหลายขั้นตอน ในปจจุบันคนเราอาจไดยินคําวา เพศกํากวม (intersex) มากขึ้น คํานี้มักจะใชในวงการสาธารณสุขที่ ทํางานเกี่ยวกับสถานะทางเพศ (gender orientation) เพศกํากวมเกิดจากความผิดปกติในการพัฒนา ลักษณะทางกายภาพที่บงบอกเพศจึงทําใหบุคคลนั้นมีลักษณะที่เปนเพศกํากวม (intersex conditions) ซึ่ง อาจรวมถึงการมีความผิดปกติของอวัยวะเพศภายนอกหรืออวัยวะสืบพันธุภายใน โครโมโซมเพศหรือ ฮอรโมนทางเพศ ดังตอไปนี้: • อวัยวะเพศที่ปรากฏภายนอกไมสามารถบอกไดชัดเจนวาเปนชายหรือหญิง • การพัฒนาของอวัยวะสืบพันธุภายในไมสมบูรณหรือผิดปกติ • ความไมสอดคลองกันของลักษณะอวัยวะเพศภายนอกกับอวัยวะสืบพันธุภายใน • ความผิดปกติของโครโมโซมเพศ • ลักษณะที่ผิดปกติของอัณฑะหรือรังไข • รางกายผลิตฮอรโมนเพศมากเกินไปหรือนอยเกินไป หรือ • รางกายไมสามารถตอบสนองตอฮอรโมนเพศไดตามปกติ การวินิจฉัยลักษณะที่เปนเพศกํากวมนี้อาจไมถูกตองเสมอไป แมแตผูเชี่ยวชาญเองบางครั้งก็ไมสามารถ ตกลงกันไดวาอะไรที่เขาขายลักษณะที่เปนเพศกํากวมที่แทจริง และหนวยงานภาครัฐเองก็ไมไดเก็บ ขอมูลสถิติเกี่ยวกับจํานวนคนที่มีเพศกํากวมอีกดวย ผูเชี่ยวชาญบางคนประมาณการวาเด็ก 1 คนใน ทุก 1,500 คนที่เกิดมาจะมีอวัยวะเพศซึ่งไมสามารถบอกไดชัดเจนวาเปนเพศชายหรือเพศหญิง เพศวิถีของผูที่มีเพศกํากวม เด็กที่มีลักษณะที่เปนเพศกํากวมสวนใหญมักจะเติบโตขึ้นเปนคนรักตางเพศ แตบางคนที่มีลักษณะที่เปน เพศกํากวมบางอยางมีแนวโนนสูงที่จะเติบโตขึ้นเปนผูใหญท่เปนเกย เลสเบี้ยน หรือเปนคนรักสองเพศ ี หมายเหตุ: ในคูมือเลมนี้ขอใชคําศัพทเรียก คนขามเพศ วา “สาวประเภทสอง” มีผูชายจํานวนมากที่โดยธรรมชาติแลวเปนผูที่ชอบผูหญิง แตมีความจําเปนตองมีเพศสัมพันธกับผูชายดวยกัน เนื่องจากไมสามารถหาผูหญิงมาเปนคูและมีเพศสัมพันธดวยได เนื่องดวยเงื่อนไขหลายประการ อาจจะดวย การอยูในสังคมแบบอนุรักษนิยมซึ่งไมอนุญาตใหหญิงชายอยูรวมกัน หรืออยูในสภาพแวดลอมที่มีแตชายลวน เปนระยะเวลายาวนาน เชน เรือนจํา คายทหาร ที่พักของแรงงานตางชาติ หรือสถานศึกษาชายลวน การที่ไม สามารถมีเพศสัมพันธกับผูหญิงไดทําใหผูชายเหลานี้จําเปนตองหาทางออกเพื่อระบายความตองการทางเพศ ดวยการมีเพศสัมพันธกับผูชายดวยกัน พฤติกรรมทางเพศนี้ไมไดมีความเกี่ยวของกับการเปนเกยหรือการเปน ชายรักเพศเดียวกันแตอยางใด ชายบริการในหลายประเทศในทวีปเอเชียสวนใหญรูตัวดีวาเปนชายรักหญิง แต 6
  • 7. จะยอมมีเพศสัมพันธกับผูชายดวยก็เพราะจําตองหารายไดเลี้ยงครอบครัว คนเหลานี้สวนใหญมีคูครองหรือมี คนรักเปนผูหญิง แตกมีชายบริการจํานวนมากที่รูวาตัวเองเปนเกยหรือชายรักชาย และมีเพศสัมพันธเฉพาะกับ ็ ผูชายดวยกันเทานั้น ผูชายบางคนชอบมีเพศสัมพันธกับผูชายเทานั้นแตไมไดตองการมีเพศสัมพันธกับผูหญิง แตกลับถูกบังคับใหแตงงานและมีครอบครัวจึงทําใหตองมีเพศสัมพันธกับผูหญิง บางคนชอบผูชายแตก็มี เพศสัมพันธกับผูหญิงได หรือในทางกลับกันบางคนชอบผูหญิงแตก็มีเพศสัมพันธกับชายได บางคนตองการมี เพศสัมพันธเฉพาะกับผูหญิงเทานั้นแตอาจจะมีเพศสัมพันธกับผูชายเพื่อแลกกับเงินหรืออาจจะเปนเพราะไม สามารถหาผูหญิงมานอนดวยได ในทํานองเดียวกัน สถานการณเชนนี้ก็อาจจะเกิดขึ้นไดกับสาวประเภทสอง เชนกัน อันเนื่องมาจากความจําเปนบางประการ ทําไมผูชายบางคนจึงมีรกเพศเดียวกัน ? ั ไมมีขอมูลแนชัดวา เพราะเหตุใดหลายคนจึงเปนผูที่รักตางเพศ และทําไมบางคนจึงรักเพศเดียวกัน บางทฤษฎี ใหความสําคัญกับความแตกตางดานชีววิทยาระหวางคนที่เปนคนรักตางเพศและคนรักเพศเดียวกัน เชน ระบบ รางกายและสมอง และทฤษฎีนี้ยังเชื่ออีกวา คนบางคนเกิดมาพรอมกับเพศวิถีที่ถูกกําหนดมาตั้งแตเกิด แตจาก การทดลองและทดสอบเพื่อหาความแตกตางของชายทั้งสองประเภทนี้ โดยการวัดระดับฮอรโมน ตรวจสอบ อวัยวะที่บงบอกเพศ และโครงสรางของสมอง ก็ยังไมพบหลักฐานที่สามารถใชแยกประเภทของคนทั้งสองแบบ  นี้ไดอยางชัดเจน ในทางจิตวิทยามีคําอธิบายที่มุงเนนปจจัยทางดานอิทธิพลจากประสบการณชีวิต รูปแบบของการเลี้ยงดูในวัย เด็ก ความสัมพันธกับคนอื่นๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งกับพอแม ความคิดเรื่องเพศวิถีและพฤติกรรมของบุคคลจะ ไดรับอิทธิพลมาจากสภาพแวดลอมในครอบครัว ประสบการณสวนตัว และความรูสึกนึกคิดเกี่ยวกับตัวเองของ บุคคลนั้นๆเอง ความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องเพศมักจะกอตัวขึ้นจากคานิยมของครอบครัว ซึ่งในภายหลังความเชื่อ เหลานี้จะแปรเปลี่ยนไปตามประสบการณทางเพศซึ่งอาจเปนความรูสึกที่ดีหรือความรูสึกในเชิงลบก็ได และ ความรูสึกเหลานี้เองที่จะทําใหเขาตัดสินใจที่จะมีพฤติกรรมทางเพศไปในทางใดทางหนึ่งหรือเลือกคูนอนเปน แบบใดในที่สด แตอยางไรก็ตามในตลอดชวงชีวิตของคนๆหนึ่ง สิ่งที่มีอิทธิพลที่สุดตอพัฒนาการและพฤติกรรม ุ ทางเพศก็คือความรูสกนึกคิดเกี่ยวกับตัวเองของบุคคลนั่นเอง ึ นอกจากนี้ยังมีอีกทฤษฎีหนึ่งกลาววา การที่คนเราเลือกที่จะเปนเพศใดนั้นขึ้นอยูกับความตั้งใจของแตละคน และการที่ผูชายบางคนมีเพศสัมพันธกับผูชายดวยกัน เกิดขึ้นเพราะมีความตองการจะหลีกเลี่ยงบทบาททาง เพศที่สังคมกําหนด แตละทฤษฎีที่กลาวมานี้ยังมีหลักฐานสนับสนุนไมมากนัก ดังนั้นจึงมีนักวิจัยหลายคนคิด วารสนิยมทางเพศเปนผลรวมกันที่เกิดมาจากทั้งปจจัยทางธรรมชาติและปจจัยสภาพแวดลอมทางสังคม ชายขายบริการและสาวประเภทสองที่ขายบริการ ผูขายบริการทางเพศครอบคลุมถึงกลุมคนที่แตกตางหลากหลาย จึงไมสามารถจะระบุไดอยางชัดเจนวา คน เหลานี้มีพฤติกรรมและทัศนคติเรื่องการปองกันการติดเชื้อเอชไอวีและการดูแลรักษาตนเองอยางไร เชน บาง คนอาจจะเปนผูใชยาเสพติดชนิดฉีด บางคนเปนชายหรือหญิงที่แตงงานแลว บางคนเปนลูกจาง (ถูกบังคับ หลอกลวง ขมขูใหขายบริการ หรือถูกสงไปตางประเทศ) บางคนอาจจะเปนนักเรียนนักศึกษา หรือชนกลุมนอย ผูขายบริการอาจมีเพศสภาวะไดทุกรูปแบบ (ชาย หญิง หรือคนขามเพศ) บางคนอาจจะทํางานนี้ชั่วคราว แต บางคนยึดเปนอาชีพประจําของตน การจัดบริการสุขภาพทั้งดานการปองกันและดูแลรักษาจึงตองดูแลให ครอบคลุม ไมเฉพาะตัวผูใหบริการทางเพศเทานั้น แตรวมถึงคูนอน สามี ภรรยา พอแมดวย 7
  • 8. บทที่ 2 กรอบความคิดเกี่ยวกับชายที่มีเพศสัมพันธกบชายและสาวประเภทสองในสังคมไทย ั คําวา “ชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย” (MSM) ใชเพื่ออธิบายพฤติกรรมมากกวาการบงบอกถึงอัตลักษณ คําๆนี้มี ขึ้นเพื่ออธิบายถึงชายทุกคนที่มีเพศสัมพันธกับชายดวยกัน โดยไมคํานึงวาสภาพแวดลอม ความชอบ หรือการ ระบุเพศของตนจะเปนอยางไร (Foreman, 2003) คําๆ นี้เริ่มเปนที่รูจักในประเทศไทยในชวงป 2523 พรอมๆ กับการแพรระบาดของเชื้อเอชไอวี การหาคําอื่นที่มีความหมายเทียบเคียงในภาษาไทยมาใชทดแทนคํานี้ คอนขางทําไดยาก จึงมีการใชคํานี้กันอยางแพรหลาย ซึ่งคนไทยสวนใหญอาจจะไมคุนเคยเทาใดนัก ในขณะที่ คํ า ที่ เ ป น ที่ รู จัก คุ น หู ม ากกวา ในสั ง คมไทย คื อ คํ า ว า “กะเทย” แตคํ า ว า กะเทยนั้ น ไม ไ ด มี ค วามหมายที่ จ ะ ครอบคลุมพฤติกรรมทางเพศทั้งหมดของชายที่มีเพศสัมพันธกับชายได สวนคําอื่นๆ ที่ใชเพื่ออธิบายพฤติกรรม เพศของชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย เชน เกย แมคํานี้จะเขาใจไดไมยากในการตีความทั่วไป แตก็มีความหมาย ที่แตกตางออกไปตามสภาพแวดลอมและสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของแตละบุคคล ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายประเภทตางๆ 1 เรื่องชายรักชายไมใชเรื่องใหมสําหรับประเทศไทย แตพฤติกรรมดังกลาวกลับตองปกปดซอนเรน เพราะเปน เรื่องละเอียดออนซึ่งเกิดมาจากบรรทัดฐานและคานิยมทางสังคมไทย และเนื่องจากผูที่มีพฤติกรรมเชนนี้มักจะ ถูกตีตราจากสังคมรอบขาง จึงเปนเหตุใหชายที่มีเพศสัมพันธกับชายมีรูปแบบในการแสดงออกถึงตัวตนหรืออัต ลักษณทางเพศของตนที่หลากหลายแตกตางกันออกไป ในต างจังหวั ดหรื อในสังคมชนบทของไทย พฤติกรรมทางเพศระหวางชายดวยกัน ถูกจํากัดอยูเ พียงคําวา “กะเทย” กับ “ผูชาย” คําวา กะเทย เปนคําไทยเดิมที่มีความหมายถึงผูหญิงหรือผูชายซึ่งอยากเปนอีกเพศหนึ่ง ในภาษาสมัยใหมคํานี้หมายถึงคนมีความรูสึกเปนเพศตรงขาม พยายามทําตัวใหเปนเพศที่ตนตองการ หรือ เปนชายที่กระตุงกระติ้ง ซึ่งอาจถูกเรียกดวยคําตางๆ ที่มีความหมายวาเปนกะเทย แตในตางจังหวัดหรือใน สังคมเขตชนบทมักจะไมรังเกียจคนที่เปนกะเทย อีกทั้งกะเทยยังสามารถมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคมได โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับครอบครัวและหมูบาน การยอมรับโดยปริยายเชนนี้มักเกิดจากความเชื่อของคนใน 1 1 Excerpts from: HIV and Men Who Have Sex with Men : HIV/AIDS and Human Rights in Southeast Asia. Expert Meeting on HIV/AIDS, Organized by Asia-Pacific Regional Office of the United Nations of the High Commissioner for Human Rights (OHCHR), 23 – 24 March 2004. Adapted from "HIV and men who have sex with men: Perspectives from selected Asian Countries" Roy Chan, Ashok Row Kavi, Greg Carl, Shivanada Khan, Dede Oetomo, Michael L. Tan and Tim Brown, AIDS 1998, 12 (Suppl B):S59-S68. The current article updates the situation focusing on the countries of Southeast Asia, and with an emphasis on human rights in relation to MSM and HIV/AIDS 8
  • 9. ชนบทวาเปนเรื่องของเวรกรรมจากการประพฤติผิดในกามที่ติดตัวมาตั้งแตอดีตชาติ ดังนั้นการที่กะเทยจะ แสดงออกถึงความสนใจในเพศเดียวกันจึงถือเปนเรื่องธรรมดา บทบาทของผูชายที่มีเพศสัมพันธกับชายอาจกําหนดหรือจําแนกไดยากกวา โดยทั่วๆ ไป มักหมายถึงชายที่คิด วาตนเปนชายแทแตมีเพศสัมพันธกับทั้งหญิงและชาย การที่สังคมยังมีคานิยมวาผูหญิงจะตองรักนวลสงวนตัว จนกวาจะแตงงาน ทําใหผูชายไทยตองหาทางออกในการระบายความตองการทางเพศกับหญิงบริการ และอีก ทางเลือกหนึ่งก็คอกะเทยนั่นเอง โดยเฉพาะอยางยิ่งความเปนชายหรือเพศวิถีของผูชายจะถือวาปรกติเมื่อตนมี ื บทบาทเปนฝายรุกกับกะเทย ทางออกอีกทางหนึ่งคือวิธีที่เรียกวาเพื่อนชวยเพื่อน หมายถึง การที่ผูชายสองคน มีความเขาใจและใกลชิดสนิทสนมกันในภาวะแวดลอมที่มีแตเพศเดียวกัน จึงอาศัยรางกายของกันและกันใน การสนองความตองการทางเพศ เพราะตองรักษาความบริสุทธิ์หรือพรหมจรรยผูหญิง การกระทําเชนนี้ไมนับวา เปนการรักเพศเดียวกัน เพราะเปนเพียงเรื่องของทางกายที่ไมมีความรูสึกทางอารมณหรือจิตใจมาเกี่ยวของ2 แตเมื่อใดที่มีอารมณความรูสึกเขามาเกี่ยวของ ก็จะทําใหเขาใจไดยากวาทําไมผูชายคนหนึ่งจึงเกิดความรูสึก รักใครชอบพอผูชายเหมือนกันไดทั้งๆ ที่ก็เปนผูชายเหมือนกันและไมมีลักษณะของความเปนกะเทยแตอยางใด ดังนั้นความสัมพันธระหวางคนเพศเดียวกันจึงอาจเกิดขึ้นและดําเนินตอไปไดตราบเทาที่ไมเปดเผยใหผูอื่น ไดรับรู ในสังคมกึ่งชนบทหรือสังคมเมืองในตางจังหวัด แมจะยังมีแนวคิดและความรูสึกของการแบงแยกความเปนชาย และการเปนกะเทยตามที่ไดอธิบายไวขางตน แตคําวา “เกย” ก็เริ่มเปนที่รูจักและเขาใจมากขึ้น แมในชนบทที่ หางไกลออกไปคําวาเกยจะมีความหมายเหมือนกะเทย แตในสังคมเมือง คําวาเกย จะหมายถึงผูชายที่มี ลัก ษณะเหมื อนผูช ายทั่ วไป เพี ย งแต ช อบผู ช ายด ว ยกัน แม ว า คํ า ว า เกย จ ะสามารถครอบคลุ ม ถึ ง อารมณ ความรูสึกของการชอบเพศเดียวกันของชายได แตคําวา เกยคิง หรือ เกยควีน ก็ชวยใหเขาใจถึงบทบาทใน ความสัมพันธและบทบาททางเพศไดดยิ่งขึ้นี ในสังคมเมืองคําวา เกย ถือเปนคําเรียกธรรมดาเหมือนกับคําวา ผูชาย และ กะเทย แตคําที่แสดงถึงบทบาท ทางเพศกลับไมแนนอนหรือตายตัวเสมอไป ในรายงานเรื่อง พลวัตและบริบทของเพศสัมพันธระหวางชายกับ ชายในประเทศอินโดนีเชียและประเทศไทย3 ระบุวา “บทบาทในกิจกรรมทางเพศและเพศสภาวะของแตละคน อาจจะไมมีความสัมพันธกันแตอยางใด” ดังนั้นจึงไมแนนอนเสมอไปวา ผูที่มีลักษณะภายนอกเหมือนชาย ทั่ ว ไปจะมี เ พศสั ม พั น ธ เ ป น ฝ า ยรุ ก และผู ที่ มี ลั ก ษณะกระตุ ง กระติ้ ง เหมื อ นผู ห ญิ ง จะเป น ฝ า ยรั บ เท า นั้ น เชนเดียวกับคําวา “ไบ” บางครั้งอาจหมายถึงชายที่มีเพศสัมพันธกับชายหรือหญิงก็ได หรือบางครั้งก็อาจ หมายถึงคนที่เปนไดทั้งรุกและรับในการมีเพศสัมพันธกับผูชายดวยกัน (หรือบางคนเรียกวา “โบธ”) 2 Lyttleton C: Framing Thai sexuality. TAJA 1995, 6:135-139. 3 The Dynamics and Contexts of Male-to-Male Sex in Indonesia and Thailand, Australian Research Centre in Sex, Health and Society and La Trobe University, 2006. 9
  • 10. ดวยเหตุที่ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายมีความหลากหลายไปตามลักษณะทางสังคม อีกทั้งนิยามที่ไมชัดเจน ตายตัว ความเขาใจของผูใหบริการสาธารณสุขเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ทําใหผมารับบริการมีความเสี่ยงจึงเปนเรื่อง ู ที่สําคัญยิ่ง เพราะจะชวยปองกันมิใหทําการประเมินหรือตัดสินผูมารับบริการจากบุคลิกภายนอกเทานั้น คําศัพทที่ใชเรียกและผลกระทบ แมการมีเพศสัมพันธกับเพศเดียวกันในระหวางผูใหญที่สมัครใจเปนเรื่องไมผิดกฎหมายในประเทศไทย แตการ มีเพศสัมพันธระหวางชายกับชายยังคงถูกจํากัดดวยกรอบทางสังคมและวัฒนธรรม ดังนั้นการที่สังคมตีตราตอ ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายจึงเปนปจจัยที่ชวยเพิ่มความเสี่ยงตอการติดเชื้อเอชไอวีและสงผลกระทบตอสุขภาพ ของผูนั้น เพราะอาจทําใหชายเหลานี้หลีกเลี่ยงหรือไมกลาที่จะไปรับบริการทางสังคมและสาธารณสุข ทายที่สุด ก็จะไมสามารถเขาถึงคนกลุมนี้ได ซึ่งเปนกลุมที่ตองการขอมูล ความเขาใจ และการปรึกษามากที่สุด4 การตีตราทางสังคมสามารถเห็นไดจากถอยคําหรือความหมายที่ใชเรียกชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย คําบางคํา อาจเปนที่ยอมรับได แตในขณะที่บางคําแสดงถึงการตีตราและการดูถูกชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย เชน คําวา “ตุด” (ซึ่งไดรับอิทธิพลมาจากภาพยนตรเรื่อง ตุดซี่ ใชเรียกชายที่กระตุงกระติ้ง กะเทย หรือคนขามเพศ) คําวา บอย (ปรับมาจากคําภาษาอังกฤษที่ใชเรียกชายที่มีเพศสัมพันธกับชายทั่วๆ ไป แตมีความหมายบงบอกถึง สถานภาพในความสั ม พั น ธ ) เลดี้ บ อย (เป น คํ า ภาษาอั ง กฤษที่ ใ ช เ รี ย กคนข า มเพศ) มั น นี่ บ อย (เป น คํ า ภาษาอังกฤษที่ใชเรียกชายขายบริการ) โดยทั่วไปคําที่กลาวมาขางตนบางคนก็อาจจะใชคําศัพทเหลานี้ในการ ใชเรียกตัวเองเวลาพูดคุยกับคนที่มีความสัมพันธใกลชิด แตคําเหลานี้ผูอื่นไมควรใชในการสื่อสารกับคนที่อยู ภายนอกความสัมพันธหรือเครือขายทางสังคมหรือเครือขายเพื่อนของตน เชน ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายบาง คน อาจจะเรี ยกกัน และกัน ว า “กะเทย” แต ถาเปน คนอื่ นที่ ไม มี ความสนิท คุน เคยแตอยางใดมาเรียกแบบ เดียวกันนี้ก็จะทําใหรูสึกโกรธหรือขุนเคืองใจเปนอยางมาก ดังนั้นผูใหบริการทางสาธารณสุขจึงไมควรใชคําที่กลาวมาขางตนเรียกผูอื่นที่ไมสนิท (แมผูนั้นจะใชคําศัพท เดียวกันเรียกตัวเองก็ตามเวลาพูดคุยในกลุมเพื่อนที่สนิท) แตควรเรียกตามที่ผูมารับบริการตองการใหเรียก เพราะการระบุเพศของคนๆ หนึ่งอาจไมใชภาพสะทอนพฤติกรรมทางเพศของคนๆ นั้น นอกจากนี้นผูใหบริการ บางคนอาจจะเคยพบวา มีผูมารับบริการชาวตางชาติที่เปนคนรักเพศเดียวกันที่มาขอรับการตรวจเอชไอวี เพราะไมสะดวกใจที่จะไปรับบริการการตรวจเอชไอวีในประเทศตนเองเนื่องจากการเปนผูที่รักเพศเดียวกันใน ประเทศของเขานั้ นถื อเปน เรื่องผิดกฎหมาย ผู มาขอรับบริการกลุ มนี้ จึง อาจรู สึก อึดอัดและลําบากใจที่จะ เป ดเผยรสนิ ย มทางเพศของตนให ผู อื่ น ไดท ราบ (โดยเฉพาะผูใ ห บ ริก ารสาธารณสุ ข) ดั ง นั้ น ผู ใ หบ ริก าร สาธารณสุขจึงควรมุงเนนทําความเขาใจถึงพฤติกรรมทางเพศของผูมารับบริการมากกวาที่จะใหความสนใจใน รสนิยมทางเพศหรืออัตลักษณทางเพศของผูนั้น 4 McCamish M, Storer G, Carl G, Kengkanrua K: Why should more attention be given to male-male sex encounters in Thailand. IV International Congress on AIDS in Asia and the Pacific. Manila, October 1997 [abstract C(P)082]. 10
  • 11. การเปดเผยอัตลักษณทางเพศและรสนิยมทางเพศ แมวาในประเทศไทยจะไมมีการรังเกียจหรือดูถูกการรักเพศเดียวกันอยางชัดเจนมากนักเมื่อเปรียบเทียบกับ ประเทศอื่นๆแลว แตไมไดหมายความวาการรักเพศเดียวกันจะเปนที่ยอมรับโดยทั่วไปในสังคม และแมจะเห็น วาในสังคมจะไมไดมีมาตรการในการปองกันหรือลงโทษผูที่รักเพศเดียวกัน แตการที่สังคมรับไดเชนนี้ก็ไมได แปลวาเปนการยอมรับโดยสิ้งเชิง ทั้งนี้จะเห็นไดจากการชายที่มีเพศสัมพันธกับชายบางคนแสดงความวิตก กังวลกลัววาการเปดเผยพฤติกรรมทางเพศของตนอาจสงผลกระทบตอหนาที่การงาน หรืออาจถึงขั้นถูกไลออก จากงาน บางคนแสดงความรูสึกอึดอัดใจที่ตองมีชีวิตสองรูปแบบ แบบหนึ่งคือการแสดงใหครอบครัวและเพื่อน รวมงานยอมรับ อีกแบบหนึ่งคือการไดเปนตัวของตัวเองกับคนที่เปนชายที่มีเพศสัมพันธกับชายดวยกัน แมวา การแสดงความรังเกียจและดูถูกในสังคมอาจไมชัดเจนนัก แตชายที่มีเพศสัมพันธกับชายสวนใหญก็ยังคงไม กลาเปดเผยตัวตนที่แทจริงของตัวเอง ดังนั้นการเปดเผยจึงมักจํากัดอยูแตเฉพาะกลุมคนสนิท เชนเพื่อนสนิทที่ คบกันมาเปนเวลานาน เพื่อนเกาสมัยที่เปนนักเรียน เพื่อนรวมงานที่สนิทกันมาก หรือคูของตนเทานั้น การใหบริการตางๆที่มีในประเทศไทย มักมีเปาหมายเฉพาะสําหรับประชากรกลุมใดกลุมหนึ่งอยางชัดเจน เชน การบริการสําหรับชายแท เกย สาวประเภทสอง ชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย หรือชายขายบริการ ซึ่งยังคงเปน การแบงบนพื้นฐานของเรื่องเพศมากกวาที่จะมุงประเด็นการใหบริการไปที่เรื่องของพฤติกรรม จึงทําใหคนกลุม นี้ยิ่งเผชิญกับความเสี่ยงในการติดเชื้อมากขึ้นเพราะความกลัวที่จะถูกเปดเผยความลับในเรื่องเพศ ทําใหคน เหลานั้นไมกลาที่จะยอมรับพฤติกรรมทางเพศของตน และยังไมกลาเขาไปรับขอมูลขาวสารและบริการตรวจ รักษาโรคติดตอทางเพศสัมพันธ และการตรวจเอชไอวี ไปจนถึงําการบริการดานสุขภาพที่เหมาะสมอื่นๆดวย เครือขายทางเพศของชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย เครือขายทางเพศของชายที่มีเพศสัมพันธกับชายมักเกิดจากปฏิสัมพันธระหวางคนที่มีอัตลักษณทางเพศหลาย แบบ ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายอาจมีเพศสัมพันธกับคนในกลุมเดียวกัน หรือกับชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย กลุมอื่นๆ และกับชายหรือหญิงที่เปนคนรักตางเพศดวย ในรายงานเรื่อง “พลวัตและบริบทของเพศสัมพันธ ระหวางชายกับชายในประเทศไทยและอินโดนีเชีย5“ ระบุวาเครือขายการมีเพศสัมพันธมักเริ่มมาจากเครือขาย ทางสังคม นอกจากนี้ยังพบวา เครือขายทางสังคมของชายที่มีเพศสัมพันธกับชายในประเทศไทย มักเกิดจาก กลุมคนที่มีลักษณะทางเพศคลายๆ กัน มีระดับการเปดเผยอัตลักษณทางเพศที่ใกลเคียงกัน รวมถึงสถานภาพ ทางเศรษฐกิจและสังคมที่ใกลเคียงกัน โดยทั่วๆไปการมีกิจกรรมทางเพศมักจํากัดอยูในเครือขายทางสังคม เดียวกัน แตการมีปฏิสัมพันธขามเครือขายก็อาจนําไปสูกิจกรรมทางเพศไดเชนกัน 5 The Dynamics and Contexts of Male-to-Male Sex in Indonesia and Thailand, Australian Research Centre in Sex, Health and Society and La Trobe University, 2006. 11
  • 12. บทที่ 3 ความเสี่ยงและความเปราะบาง/โอกาสตอการติดเชื้อเอชไอวีของ ชายที่มีเพศสัมพันธกบชายและสาวประเภทสอง ั ความเสี่ยงตอการติดเชื้อเอชไอวี อัตลักษณทางเพศและพฤติกรรมทางเพศของชายที่มีเพศสัมพันธกับชายนั้นมีความแตกตางที่สําคัญอยูหลาย ประการ และดวยความแตกตางนี้เองจึงไมควรสรุปวา ผูชายทุกคนที่มีเพศสัมพันธกับชายดวยกันจะตองมี ความเปราะบางหรือโอกาสตอการติดเชื้อเอชไอวีเหมือนกัน ชายที่มีเพศสัมพันธกับคูประจําซึ่งมีความสัมพันธ ดวยเปนเวลานานอาจเปนคนรักเดียวใจเดียวก็ได (หรืออาจจะไมก็ได) สวนชายที่มีเพศสัมพันธอยางปลอดภัย เสมอยอมมีความเสี่ยงในการติดเชื้อเอชไอวีที่นอยกวาชายที่มีคูนอนหลายคนหรือมีเพศสัมพันธโดยไมปองกัน ดังนั้นการมีเพศสัมพันธทางทวารหนักโดยไมไดใชถุงยางอนามัย เปนสาเหตุหลักของการติดเชื้อเอชไอวีในกลุม ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายดวยกัน ชายเหลานี้บางคนมีคูนอนเปนหญิง ซึ่งการที่ผูชายมีเพศสัมพันธทางทวาร หนักกับผูชายดวยกันโดยไมไดใชถุงยาง จึงอาจจะทําใหหญิงคูนอนหรือลูกของตนมีโอกาสเสี่ยงตอการติดเชื้อ เอชไอวีดวยเชนกัน และในทํานองเดียวกัน การมีเพศสัมพันธทางชองคลอดหรือทางทวารหนักระหวางชายและ หญิงโดยไมไดใชถุงยางอนามัย ก็เปนสาเหตุที่ทําใหคูนอนของคนๆ นั้นมีโอกาสเสี่ยงตอการติดเชื้อเอชไอวีดวย เชนกัน ความเสี่ยงของการติดเชื้อเอชไอวีจากการมีเพศสัมพันธทางทวารหนักระหวางชายที่มีเพศสัมพันธกับชายหรือ ชายกับหญิง จะมีความเสี่ยงที่สูงมากหากไมไดใชถุงยางอนามัยในขณะที่มีเพศสัมพันธ เนื่องจากผิวเยื่อบุ ภายในบริเวณทวารหนักมีความบอบบางและฉีกขาดไดงาย แมแตรอยถลอกเล็กนอยที่เกิดขึ้นในชองทวารหนัก ก็ ส ามารถเป น ช อ งทางให เ ชื้ อ เอชไอวี เ ข า สู ร า งกายได แต ถึ ง แม จ ะไม มี ร อยถลอกก็ ยั ง เชื่ อ กั น ว า เซลล ใ น ชองทวารหนักมีภูมิคุมกันเชื้อเอชไอวีต่ํากวาเซลลบริเวณอื่นของรางกาย คนที่เปนฝายรับในการมีเพศสัมพันธ ทางทวารหนักโดยไมไดใชถุงยางปองกัน จะมีความเสี่ยงสูงกวาผูหญิงที่มีเพศสัมพันธทางชองคลอดกับชายที่ ติดเชื้อเอชไอวีโดยไมไดใชถุงยางปองกันหลายเทา ผูชายบางคนชอบที่จะมีกิจกรรมทางเพศดวยการเอากําปน สอดเขาไปในทวารหนักของคูนอนกอนที่จะสอดใสอวัยวะเพศของตน วิธีการเชนนี้จะยิ่งเพิ่มความเสี่ยงที่จะทํา ใหผิวหนังบริเวณทวารหนักฉีกขาดมากขึ้น การมีเพศสัมพันธทางทวารหนักที่ไมไดปองกันทําใหคูนอนที่เปน ฝายรุกมีความเสี่ยงตอการติดเชื้อไดเชนกันหากคนที่เปนฝายรับนั้นมีเชื้อเอชไอวีแลว ยิ่งไปกวานี้ การเปน โรคติดตอทางเพศสัมพันธที่ยังรักษาไมหาย เชน ซิฟลิส หนองในแท หรือหนองในเทียมก็ตาม ยิ่งเพิ่มโอกาส เสี่ยงตอการติดเชื้อเอชไอวีมากยิ่งขึ้นหากคูนอนของตนมีเชื้อเอชไอวี การมีเพศสัมพันธทางปาก (ปากกับอวัยวะเพศชาย) เปนอีกกิจกรรมทางเพศที่เกิดขึ้นบอยครั้ง แมวาโอกาส เสี่ยงตอการติดเชื้อเอชไอวีจะคอนขางต่ํา แตอาจจะไดรับเชื้อโรคติดตอทางเพศสัมพันธอื่นๆก็ได แตวิธีการ ปองกันที่ดีที่สุดคือ การใชถุงยางอนามัย หลายคนไมใชถุงยางอนามัยเพราะกลิ่นและรสของถุงยางอนามัย นั้นเองทําใหลดความสุขทางเพศลง การหลั่งน้ําอสุจิในปากของคูนอนเปนอีกวิธีหนึ่งที่ทําใหเกิดความเสี่ยงตอ การติดเชื้อเอชไอวีได การถอนอวัยวะเพศออกจากปากคูนอนกอนที่จะหลั่งน้ําอสุจิจะชวยลดความเสี่ยงตอการ ติดเชื้อเอชไอวีได อยางไรก็ตามหากมีการติดเชื้อโรคติดตอทางเพศสัมพันธ มีบาดแผล หรือมีรอยถลอกในปาก จะยิ่งเพิ่มโอกาสเสี่ยงตอการติดเชื้อเอชไอวีมากยิ่งขึ้น กิจกรรมทางเพศที่มักเกิดขึ้นบอยครั้งในรูปแบบอื่นๆ เชน การถูไถอวัยวะเพศชายกับรองอกหรือขาหนีบ หรือ การสําเร็จความใครใหแกกัน มีความเสี่ยงตอการติดเชื้อเอชไอวีนอยมาก แตอาจมีความเสี่ยงในการติดเชื้อ โรคติดตอทางเพศสัมพันธได กิจกรรมทางเพศที่หลากหลายเหลานี้ขึ้นอยูกับแตละกลุมคนหรือสังคมในแตละ ประเทศ รวมทั้งวิธีการมีเพศสัมพันธที่ปลอดภัยที่ไดรับการยอมรับในแตละสังคม 12
  • 13. ความเปราะบางหรือโอกาสเสี่ยงในการติดเชื้อเอชไอวี การที่ไมมีกิจกรรมดานการปองกันหรือบริการที่เปนมิตรตอชายที่มีเพศสัมพันธชายหรือสาวประเภทสอง ทําให คนกลุมนี้มีความเปราะบางหรือโอกาสเสี่ยงตอการติดเชื้อเอชไอวี มีหลายประเทศในทวีปเอเชียที่ยังไมเต็มใจ พรอมจะยอมรับวาประเทศของตนมีประชากรที่เปนชายที่มีเพศสัมพันธชายหรือสาวประเภทสองอยูดวย ซึ่ง เปนเหตุใหประเทศเหลานั้นปฏิเสธวา ไมมีการตีตราดูถูกตอผูที่รักเพศเดียวกันในประเทศของตน (เนื่องจากไม ยอมรับรูวามีคนกลุมนี้อยู) ทั้งๆ ที่ในความเปนจริงนั้นทั้งการตีตราดูถูกคนรักเพศเดียวกันและกิจกรรมทางเพศ  ระหวางชายนั้นเกิดขึ้นไดในหลายระดับของสังคม และมักจะถูกตําหนิและดูถูกจากสังคมดวยเชนกัน การใชถุงยางอนามัย การตีตราและการดูถูกตอคนรักเพศเดียวกัน เปนสาเหตุที่ทําใหชายที่มีเพศสัมพันธกับชายบางคนไมกลา เปดเผยตัว และทําใหสังคมไมไดรับรูวามีคนกลุมนี้อยูในสังคมเดียวกัน ผลกระทบสืบเนื่องจากเรื่องนี้ทําให การจัดกิจกรรมดานการปองกันและบริการทางดานสุขภาพที่จําเปนตอประชากรกลุมนี้จึงไมมีประสิทธิภาพ เทาที่ควร การรังเกียจกีดกันยังสงผลใหไมสามารถจัดบริการแจกจายถุงยางและสารหลอลื่นในสถานที่ที่คน เหลานี้มักจะมีกิจกรรมทางเพศกัน การใชถุงยางอยางสม่ําเสมอเกิดขึ้นนอยมากในคนกลุมนี้ ดวยความเชื่อ ที่วา พวกเขามีความเสี่ยงนอย และดวยเหตุที่ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายบางคนมีเพศสัมพันธกับคูนอนหญิง ชายที่มีเพศสัมพันธกับชายจึงอาจเปนปจจัยหนึ่งที่เชื่อมโยงสถานการณการระบาดของเอชไอวีไปสูประชากร สวนใหญในภาพรวม การรับรูเรื่องความเสี่ยง สื่อประชาสัมพันธหรือขอมูลขาวสารที่มีขึ้นเพื่อกลุมชายที่มีเพศสัมพันธกับชายหรือสาวประเภทสองโดยเฉพาะ นั้นมีอยูนอยมาก โครงการดานการปองกันเอชไอวีในทวีปเอเชียสวนใหญจะมุงเนนการเฉพาะในกลุมรักตาง เพศ และกลุมที่ใชสารเสพติดชนิดฉีดเทานั้น จึงทําใหกลุมชายที่มีเพศสัมพันธกับชายสรุปเอาเองวา พฤติกรรม ทางเพศที่พวกเขาปฏิบัติกันนั้นไมไดคงจะมีความเสี่ยงนอย (เกิดจากการสันนิษฐานเอาเองเนื่องจากมีโครงการ ปองกันเอชไอวีเฉพาะกลุมคอนขางนอยมาก) ซึ่งอาจคิดวาการมีเพศสัมพันธกับผูหญิงเปนเรื่องที่มีความเสี่ยง มากกวาและการมีเพศสัมพันธแบบชายที่มีเพศสัมพันธกับชายเปนเรื่องที่ปลอดภัยกวา (โดยเฉพาะในบาง ประเทศ เชน เวียดนาม) จํานวนและประเภทของคูนอน การตีตราและการดูถูกทางสังคมอาจเปนปจจัยหนึ่งที่ทําใหชายที่มีเพศสัมพันธกับชายหรือสาวประเภทสองนั้น ไมสามารถจะมีความสัมพันธกันไดอยางยืนยาว เนื่องจากไดรับผลกระทบในหลายๆดาน แตอยางไรก็ตามชาย ที่มีเพสสัมพันธกับชายก็ตองการความสัมพันธและความรักในชีวิตของตน จึงสงผลใหในบางครั้ง หลายคนมี จํานวนคูนอนจํานวนมาก และบางคนมีเพศสัมพันธแบบเปนครั้งคราว (ไมผูกพันหรือผูกมัด)อยูบอยครั้งมาก ซึ่งมักจะสงผลตอโอกาสในการตอรองที่จะมีเพศสัมพันธอยางปลอดภัย โดยอาจขึ้นอยูกับอัตลักษณทางเพศ และสถานภาพทางเศรษฐกิจ การถูกบังคับขืนใจใหมีเพศสัมพันธ ในกลุ ม ชายที่ มี เพศสั ม พั น ธ กั บ ชายก็ ยัง มี รูป แบบการมีเ พศสั ม พั น ธ ที่อาจไม ได เ กิ ดจากความสมั ค รใจ ซึ่ ง เหตุการณเชนนี้มักจะเกิดในกลุมชายอายุนอย ซึ่งคนที่เปนเหยื่อของความรุนแรงทางเพศมักไมกลาที่จะ เปดเผยสิ่งที่เกิดขึ้นดวยกลัวคนอื่นจะรูวาตนมีเพศสัมพันธกับผูชายดวยกัน การติดเชื้อโรคติดตอทางเพศสัมพันธที่ยังไมไดรักษาใหหายขาด การมีเพศสัมพันธที่ไมไดปองกัน อาจทําใหชายที่มเพศสัมพันธกับมีโอกาสไดรับเชื้อโรคติดตอทางเพศสัมพันธที่ ี สามารถติดตอไดทั้งทางปาก ทางอวัยวะเพศชาย และทางทวารหนัก ซึ่งมีสวนชวยเพิ่มความเสี่ยงตอการติด เชื้อเอชไอวีใหมากขึ้น และเนื่องจากกลัววาคนอื่นจะรูถึงพฤติกรรมทางเพศของตน ชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย จึงไมกลาเปดเผยถึงอาการของโรคดังกลาว สุดทายจึงไมมีโอกาสไดตรวจพบและรับการรักษาที่เหมาะสม 13