SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 17
TIME STUDY
1อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 การศึกษาเวลาหรือการวัดงาน(Work Measurement) คือ
เทคนิคในการวัดปริมาณงานออกมาเป็นหน่วยของเวลา หรือ
จานวนแรงงานที่ใช้ในการทางาน
 การกาหนดเวลามาตรฐานในการปฏิบัติงานมีมาตั้งแต่ก่อน
สมัยของ Frederick W. Taylor
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 2
ผลผลิตมาตรฐาน (จานวนชิ้น) = เวลาทั้งหมดที่มีในการทางาน
เวลามาตรฐานในการผลิตต่อชิ้น
ประสิทธิภาพ (%) = ผลผลิตจริง (Actual Output)
ผลผลิตมาตรฐาน (Standard Output)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3
X 100%
เป็นระบบจัดการที่ออกแบบเพื่อวัตถุประสงค์ดังนี้
-วิเคราะห์ปริมาณงานของต้นทุนค่าแรง
-กาหนดมาตรฐานเวลาสาหรับการปฏิบัติงาน
-วัดและวิเคราะห์ความแปรปรวนจากมาตรฐาน
-เพื่อพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการทางานและมาตรฐานเวลา
อย่างต่อเนื่อง
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 4
1. เวลาที่ปรับแล้ว
2. ค่าเผื่อส่วนบุคคล ความเครียด และความล่าช้า (PF&D Allowances)
3. ค่าเผื่อพิเศษ
นามาสู่เวลามาตรฐานที่ Time Standard ที่นาเวลาปกติมารวมกับค่า
ความเผื่อต่างๆ แล้ว
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 5
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 6
“A work measurement technique consisting of careful time measurement of the
task with a time measuring instrument, adjusted for any observed variance
variance from normal effort or pace and to allow adequate time for such
such items as foreign elements, unavoidable or machine delays, rest to
to overcome fatigue, and personal needs. Learning or progress effects may
may also be considered. If the task is of sufficient length, it is normally
normally broken down into short, relatively homogenous work elements,
elements, each of which is treated separately as well as in combination with
combination with the rest.”
โดย Institute of Industrial Engineers แห่งสหรัฐอเมริกา
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 7
1. ศึกษาการเคลื่อนไหว (Motion Study) เกี่ยวกับการศึกษาวิธีการทางานและการ
ออกแบบวิธีที่ปรับปรุง
2. การศึกษาเวลา (Time Study) เกี่ยวกับการวัดผลงานซึ่งผลที่ได้เป็นหน่วยของเวลา
คือเป็นนาทีหรือวินาที
2 ลักษณะของเวลามาตรฐาน
1. เวลาที่เคยเป็น (Did - take - time) ที่รวบรวมข้อมูลเก่าในอดีต
2. เวลาที่ควรเป็น (Should - take - time) ข้อมูลเวลาที่ผ่านการปรับปรุงแก้ไขแล้ว
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 8
ทาได้หลายวิธี จะขึ้นกับองค์ประกอบของงานและเทคนิคของการวัดงาน
องค์ประกอบของงาน
1. ธรรมชาติของงานนั้น 5. ความพร้อมของข้อมูล
2. ความยาวของเวลาทางาน 6. ทัศนคติของผู้ปฏิบัติงาน
3. การทิ้งช่วงระหว่างการเกิดของงาน 7. ทรัพยากรที่มีให้สาหรับการศึกษางาน
4. ความถี่ห่างของงาน 8. ปัจจัยแวดล้อมอื่นๆ
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 9
1. การคานวณหาค่าเฉลี่ยอย่างง่าย ๆ (Simple Mathematical Computation)
2. การคาดคะเน (Professional Estimate)
3. การสุ่มตัวอย่างงาน (Direct Time Study - Extensive Sampling)
4. การใช้ระบบข้อมูลเวลามาตรฐาน (Standard Time Data Systems)
5. ระบบตารางเวลาพื้นฐาน (Predetermined-motion Time System)
6. การศึกษาเวลาโดยตรง (Direct Time Study - Intensive Sampling)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 10
ขั้นตอนของการศึกษาเวลาโดยการสุ่มงานมีดังนี้
1. เลือกงานและอธิบายลักษณะของงานย่อยที่ต้องการศึกษา
2. ขอความร่วมมือจากพนักงานที่เกี่ยวข้อง
3. ทาการสร้างตารางสาหรับการบันทึกข้อมูล
4. ออกแบบฟอร์มการเก็บข้อมูล
5. วางแผนการเก็บข้อมูลเพื่อให้ได้ขนาดข้อมูลที่เหมาะสม
6. ทาการเก็บข้อมูลจริง บันทึกและสรุปผล
ใช้เวลารวบรวมข้อมูลนาน ใช้กับพวกงานที่ไม่ได้ต่อเนื่องกัน หรืองานหลาย ๆ อย่างที่กลุ่ม
กลุ่ม
ต้องทาร่วมกัน เช่นงานซ่อมบารุง
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 11
• Motion Time Analysis (MTA)
• Body Member Movements
• Motion-Time Data for Assembly Work
• The Work-Factor System
• Elemental Time Standard for Basic Manual Work
• Methods-Time Measurement (MTM)
• Basic Motion-Time Study (BMT)
• Dimensional Motion Time (DMT)
• Master Standard Data (MSD)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 12
ได้จากการวิเคราะห์ Micromotion แล้ว
รวบรวมไว้เป็นข้อมูลมาตรฐาน
เหมาะกับงานที่ใช้มือกระทา ซ้า ๆกัน
กาหนดเวลามาตรฐานก่อนผลิตจริงได้
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 13
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 14
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
Family Tree แสดง
ความสัมพันธ์ข์ของ
ตาราง PMTS
• พนักงานซึ่งได้รับการฝึกฝนงานนั้นมาแล้ว
• มาตรฐานวิธีการทางานที่ควรกาหนดไว้อย่างชัดเจน
• การทางานของพนักงานต้องเป็นไปตามเงื่อนไขการทางานปกติ
• การทางานนั้นต้องอยู่ในอัตราความเร็วมาตรฐาน
พนักงานฝึกฝนมาดี ทางานภายใต้เงื่อนไขการทางานปกติ ตามกาหนดการทางาน
อย่างชัดเจน ด้วยอัตราเร็วที่มาตรฐาน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
1. ใช้เพื่อการควบคุมต้นทุนค่าแรง
2. ใช้เพื่อการวางงบประมาณ
3. การประมาณการต้นทุน
4. การวางแผนอัตรากาลังคน
5. ใช้เพื่อการฝึกอบรม
6. การสมดุลสายการผลิต
7. สร้างระบบค่าตอบแทนแบบจูงใจโดยดูจากผลผลิต
8. ใช้ประเมินเปรียบเทียบเพื่อหาวิธีการทางานที่ดีกว่า
9. ใช้ในการวางแผนการผลิต
10. ใช้ในการปรับปรุงผังโรงงาน
11. ใช้คานวณหากาลังการผลิตสูงสุดของโรงงาน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
Naphachol Aon
 

La actualidad más candente (20)

บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรมบทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
 
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางานบทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
 
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงานบทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
 
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโครบทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
 
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหวบทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์วิธีการ
บทที่ 7 การวิเคราะห์วิธีการบทที่ 7 การวิเคราะห์วิธีการ
บทที่ 7 การวิเคราะห์วิธีการ
 
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvement
 
Kaizen วัตถุดิบ
Kaizen   วัตถุดิบKaizen   วัตถุดิบ
Kaizen วัตถุดิบ
 
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจบทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
 
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไปบทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
 
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
อบรม Kaizen บริษัท สยามราชธานี จำักัด
อบรม Kaizen บริษัท สยามราชธานี จำักัดอบรม Kaizen บริษัท สยามราชธานี จำักัด
อบรม Kaizen บริษัท สยามราชธานี จำักัด
 

Similar a บทที่ 14 การศึกษาเวลา

ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
Nattapon
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Meaw Sukee
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
Paweena Kittitongchaikul
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
Paweena Kittitongchaikul
 
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Ok
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Okสถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Ok
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Ok
Chanakan Sojayapan
 
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169
Chanakan Sojayapan
 
หลักการทำโครงงาน
หลักการทำโครงงานหลักการทำโครงงาน
หลักการทำโครงงาน
Inam Chatsanova
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
somjit003
 

Similar a บทที่ 14 การศึกษาเวลา (20)

14 บทที่ 2 f
14 บทที่ 2 f14 บทที่ 2 f
14 บทที่ 2 f
 
รายงาน Project2
รายงาน Project2รายงาน Project2
รายงาน Project2
 
Sallai pro
Sallai proSallai pro
Sallai pro
 
Ppt chapter1
Ppt chapter1Ppt chapter1
Ppt chapter1
 
Lean 4 ฉบับอ่านเล่น
Lean 4 ฉบับอ่านเล่นLean 4 ฉบับอ่านเล่น
Lean 4 ฉบับอ่านเล่น
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
 
Project Sky
Project SkyProject Sky
Project Sky
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
 
Chapter006 (1)
Chapter006 (1)Chapter006 (1)
Chapter006 (1)
 
Chapter006
Chapter006Chapter006
Chapter006
 
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Ok
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Okสถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Ok
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Ok
 
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169
 
หลักการทำโครงงาน
หลักการทำโครงงานหลักการทำโครงงาน
หลักการทำโครงงาน
 
การออกแบบระบบสารสนเทศในสถานศึกษา
การออกแบบระบบสารสนเทศในสถานศึกษาการออกแบบระบบสารสนเทศในสถานศึกษา
การออกแบบระบบสารสนเทศในสถานศึกษา
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 
Process mapping (3)
Process mapping (3)Process mapping (3)
Process mapping (3)
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 

Más de Teetut Tresirichod

Más de Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 

บทที่ 14 การศึกษาเวลา