SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 12
Descargar para leer sin conexión
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน การบาบัดน้าเสียภายในชุมชน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ น.ส.ฐิติพร ชัยวงค์ เลขที่ 11 ชั้น ม.6 ห้อง 6
ชื่อ น.ส.ขรัสวรา คาปวน เลขที่ 40 ชั้น ม.6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
น.ส.ฐิติพร ชัยวงค์เลขที่ 11 และ น.ส.ขรัสวรา คาปวน เลขที่ 40
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การบาบัดน้าเสียภายในชุมชน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Waste water treatment in the community
ประเภทโครงงาน โครงงานสิ่งประดิษฐ์
ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.ฐิติพร ชัยวงค์และ น.ส.ขรัสวรา คาปวน เลขที่ 40
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 15 กันยายน พ.ศ. 2562 – 19 ธันวาคม พ.ศ. 2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
น้าคือปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิตของคนและสิ่งมีชีวิตเป็นแหล่งกาเนิดของสัตว์น้าและพืชหลากหลายชนิด
นอกจากนั้นน้ายังมีประโยชน์ในด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม มีประโยชน์สาหรับครัวเรือน ในการดื่มกิน
ใช้ประกอบอาหาร หรือใช้ชาระล้างร่างกายและสิ่งสกปรกต่างๆ และน้ายังทาให้เกิดความอุดมสมบูรณ์แก่
สิ่งมีชีวิต
คุณสมบัติของน้าที่เป็นประโยชน์สาหรับมนุษย์และสิ่งมีชีวิตมากที่สุดก็คือ น้าบริสุทธิ์ สะอาด ปราศจากเชื้อ
โรคและสารพิษเจือปน
ในอดีตมนุษย์สามารถนาทรัพยากรน้าจากแหล่งน้าตามธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ได้ต่างจากปัจจุบันที่เกิด
ปัญหาด้านคุณภาพของน้า หรือเกิดมลพิษทางน้าจนไม่สามารถนาน้าจากแหล่งน้าตามธรรมชาติมาใช้ได้ซึ่ง
ปัญหาเหล่านี้เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ปัญหามลพิษทางน้าในปัจจุบัน ส่วนมากมาจากการระบายน้าเสีย
จากอุตสาหกรรม โรงงาน โรงแรม และ เกษตรกรรม รวมถึงกิจกรรมต่างๆจากชุมชนที่ส่งผมต่อแหล่งน้า
เช่น การใช้น้าในการทาอาหารและปล่อยน้าเสีย น้ามันจากการทาอาหาร เศษอาหาร ใช้ในการชาระล้าง
ร่างกาย และสิ่งของเครื่องใช้แล้วก็ปล่อยน้าเสียลงสู่แม่น้า ซึ่งการกระทาเช่นนี้ส่งผลต่อประชาชนโดยเกิด
จากมลพิษทางน้าในลาคลอง โดยไม่มีการกรองหรือการบาบัดก่อนปล่อยลงสู่แม่น้า จึงต้องมีการทา
โครงงานนี้ขึ้นมาเพื่อเป็นการช่วยลดมลพิษทางน้าที่มีผลต่อประชากรทั่วประเทศในปัจจุบันนี้
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อทราบสาเหตุ ปัจจัยของปัญหาน้าเน่าเสีย
2.เพื่อทราบลักษณะของน้าเน่าเสีย
3.เพื่อลดปัญหาน้าเน่าเสียภายในชุมชน
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1. สาเหตุของน้าเน่าเสีย
2. อธิบายถึงลักษณะของน้าเน่าเสีย
3. อธิบายถึงสมมูลประชากร
4. ระบบบาบัดน้าเสีย
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
สาเหตุที่ก่อให้เกิดมลพิษทางน้า
1.เกิดจากน้าทิ้งและสิ่งปฏิกูลจากแหล่งชุมชน เช่น น้าที่ใช้ซักฟอกทาความสะอาดซึ่งส่วนใหญ่มี
สารอินทรีย์ปะปนมากับน้าทิ้งเหล่านั้นจนทาให้เกิดมลพิษทางน้า
2.น้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมหากโรงงานมีการลักลอบปล่อยน้าเสียลงในแหล่งน้าทาให้น้าเน่าเสียได้
ง่ายเพราะมีปริมาณมากและสารปนเปื้อนมีอัตราสูง
3.น้าเสียที่เกิดจากธรรมชาติ อาจเกิดจากการเน่าเสียเมื่อน้าอยู่ในสภาพนิ่งไม่มีการไหลเวียนถ่ายเท
4.เกิดจากพื้นที่ทาการเกษตร เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่นิยมใช้น้ายาปราบศัตรูพืชกันมากขึ้น จึงทาให้มี
สารตกค้างอยู่ตามต้นพืชและพื้นผิวดิน เมื่อฝนตกและพัดพาเอาสารพิษที่ตกค้างลงสู่แม่น้าลาคลองก็ทาให้
เกิดมลพิษทางน้าขึ้นได้น้าเสียชุมชน (Domestic Wastewater) หมายถึง น้าเสียที่เกิดจากกิจกรรมประจาวัน
ของประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชน และกิจกรรมที่เป็นอาชีพ ได้แก่ น้าเสียที่เกิดจากการประกอบอาหารและ
ชาระล้างสิ่งสกปรกทั้งหลายภายในครัวเรือน และอาคารประเภทต่าง ๆ เป็นต้น ปริมาณน้าเสีย ที่ปล่อยทิ้ง
จากบ้านเรือน อาคาร จะมีค่าประมาณร้อยละ 80 ของปริมาณน้าใช้หรืออาจประเมินได้จากจานวนประชากร
หรือพื้นที่อาคาร ดังแสดงในตาราง
ทีมาโครงการศึกษาเพื่อจัดลาดับความสาคัญการจัดการน้าเสียชุมชน, สานักงานนโยบายและแผน
สิ่งแวดล้อม 2538
ลักษณะน้าเสีย
เกิดจากบ้านพักอาศัยประกอบไปด้วยน้าเสียจากกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน ซึ่งมีองค์ประกอบต่าง ๆ
ดังนี้
1. สารอินทรีย์ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เช่น เศษข้าว ก๋วยเตี๋ยว น้าแกง เศษใบตอง พืชผัก ชิ้นเนื้อ
เป็นต้น ซึ่งสามารถถูกย่อยสลายได้โดยจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ทาให้ระดับออกซิเจนละลายน้า (Dissolved
Oxygen) ลดลงเกิดสภาพเน่าเหม็นได้ปริมาณของสารอินทรีย์ในน้านิยมวัดด้วยค่าบีโอดี (BOD) เมื่อค่าบีโอ
ดีในน้าสูง แสดงว่ามีสารอินทรีย์ปะปนอยู่มาก และสภาพเน่าเหม็นจะเกิดขึ้นได้ง่าย
2. สารอนินทรีย์ได้แก่ แร่ธาตุต่าง ๆ ที่อาจไม่ทาให้เกิดน้าเน่าเหม็น แต่อาจเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต ได้แก่
คลอไรด์, ซัลเฟอร์ เป็นต้น
3. โลหะหนักและสารพิษ อาจอยู่ในรูปของสารอินทรีย์หรืออนินทรีย์และสามารถสะสมอยู่ในวงจรอาหาร
เกิดเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต เช่น ปรอท โครเมียม ทองแดง ปกติจะอยู่ในน้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
และสารเคมีที่ใช้ในการกาจัดศัตรูพืชที่ปนมากับน้าทิ้งจากการเกษตร สาหรับในเขตชุมชนอาจมีสารมลพิษนี้
มาจากอุตสาหกรรมในครัวเรือนบางประเภท เช่น ร้านชุบโลหะ อู่ซ่อมรถ และน้าเสียจากโรงพยาบาล เป็น
ต้น
4. น้ามันและสารลอยน้าต่าง ๆ เป็นอุปสรรคต่อการสังเคราะห์แสง และกีดขวางการกระจายของออกซิเจน
จากอากาศลงสู่น้า นอกจากนั้นยังทาให้เกิดสภาพไม่น่าดู
5. ของแข็ง เมื่อจมตัวสู่ก้นลาน้า ทาให้เกิดสภาพไร้ออกซิเจนที่ท้องน้า ทาให้แหล่งน้าตื้นเขิน มีความขุ่นสูง
มีผลกระทบต่อการดารงชีพของสัตว์น้า
6. สารก่อให้เกิดฟอง/สารซักฟอก ได้แก่ ผงซักฟอก สบู่ ฟองจะกีดกันการกระจายของออกซิเจนในอากาศสู่
น้า และอาจเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในน้า
7. จุลินทรีย์น้าเสียจากโรงฟอกหนัง โรงฆ่าสัตว์หรือโรงงานอาหารกระป๋ อง จะมีจุลินทรีย์เป็นจานวนมาก
จุลินทรีย์เหล่านี้ใช้ออกซิเจนในการดารงชีวิตสามารถลดระดับของออกซิเจนละลายน้าทาให้เกิดสภาพเน่า
เหม็น นอกจากนี้จุลินทรีย์บางชนิดอาจเป็นเชื้อโรคที่เป็นอันตรายต่อประชาชน เช่น จุลินทรีย์ในน้าเสียจาก
โรงพยาบาล
8. ธาตุอาหาร ได้แก่ ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส เมื่อมีปริมาณสูงจะทาให้เกิดการเจริญเติบโตและเพิ่ม
ปริมาณอย่างรวดเร็วของสาหร่าย (Algae Bloom) ซึ่งเป็นสาเหตุสาคัญทาให้ระดับออกซิเจนในน้าลดลงต่า
มากในช่วงกลางคืน อีกทั้งยังทาให้เกิดวัชพืชน้า ซึ่งเป็นปัญหาแก่การสัญจรทางน้า
9. กลิ่น เกิดจากก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ ซึ่งเกิดจากการย่อยสลายของสารอินทรีย์แบบไร้ออกซิเจน หรือกลิ่น
อื่น ๆ จากโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น โรงงานทาปลาป่น โรงฆ่าสัตว์เป็นต้น
การบาบัดน้าเสีย
การเลือกระบบบาบัดน้ําเสียขึ้นกับปัจจัยต่างๆ ได้แก่ ลักษณะของน้ําเสีย ระดับการบาบัดน้ําเสียที่ต้องการ
สภาพทั่วไปของท้องถิ่น ค่าลงทุนก่อสร้างและค่า ดาเนินการดูแลและบารุงรักษา และขนาดของที่ดินที่ใช้ใน
การ ก่อสร้าง เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อให้ระบบบาบัดน้าเสียที่เลือกมีความเหมาะสมกับแต่ละท้องถิ่น ซึ่งมี
สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน โดยทั่วไปการจัดการน้าเสียชุมชนแบ่งรูปแบบการจัดการน้าเสียเป็น 3 แบบคือ
ระบบ บาบัดน้าเสียรวม (Central Wastewater Treatment) ระบบบาบัดน้าเสียแบบกลุ่มอาคาร (Cluster
Wastewater Treatment) และระบบบาบัดน้าเสียแบบติดกับที่ (Onsite Wastewater Treatment)
ระบบบาบัดน้าเสียแบบติดกับที่ (Onsite Wastewater Treatment)
หมายถึง ระบบบาบัดน้าเสียที่ติดตั้งเพื่อบาบัดน้า เสียจากอาคารเดี่ยว ๆ เช่น บ้านพักอาศัย อาคารชุด
โรงเรียน หรืออาคารสถานที่ทาการ เป็นต้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลด ความสกปรกของน้าเสียก่อนระบาย
ออกสู่สิ่งแวดล้อม ระบบ บาบัดน้าเสียแบบติดกับที่สาหรับบ้านพักอาศัยที่นิยมใช้กัน ได้แก่ บ่อดักไขมัน
(Grease Trap) ระบบบ่อเกรอะ (Septic Tank) ระบบบ่อกรองไร้อากาศ (Anaerobic Filter) เป็นต้น
ระบบบ่อเกรอะ (Septic Tank)
บ่อเกรอะมีลักษณะเป็นบ่อปิด ซึ่งน้าซึมไม่ได้และไม่มีการเติมอากาศ ดังนั้นสภาวะในบ่อจึงเป็นแบบไร้
อากาศ (Anaerobic) โดยทั่วไปมักใช้สาหรับการบาบัดน้าเสียจากส้วม แต่จะใช้บาบัดน้าเสียจากครัวหรือน้า
เสียอื่นๆ ด้วยก็ได้ถ้าหากสิ่งที่ไหลเข้ามาในบ่อเกรอะมีแต่อุจจาระหรือสารอินทรีย์ที่ย่อยง่าย หลังการย่อย
แล้วก็จะกลายเป็นก๊าซกับน้าและกากตะกอน (Septage) ในปริมาณที่น้อยจึงทาให้บ่อไม่เต็มได้ง่าย (อัตรา
การเกิดกากตะกอนประมาณ 1 ลิตร/คน/วัน) แต่อาจต้องมีการสูบกากตะกอนในบ่อเกรอะ (Septage)
ออกเป็นครั้งคราว (ประมาณปีละหนึ่งครั้ง สาหรับบ่อเกรอะมาตรฐาน) แต่ถ้าหากมีการทิ้งสิ่งที่ย่อยหรือ
สลายยาก เช่น พลาสติก ผ้าอนามัย กระดาษชาระ สิ่งเหล่านี้จะยังคงค้างอยู่ในบ่อและทาให้บ่อเต็มก่อนเวลา
อันสมควร เพื่อให้บ่อเกรอะสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากประสิทธิภาพในการบาบัดน้า
เสียของบ่อเกรอะไม่สูงนัก คือประมาณร้อยละ 40 - 60 ทาให้น้าทิ้งจากบ่อเกรอะยังคงมีค่าบีโอดีสูงเกินค่า
มาตรฐานที่กฎหมายกาหนดไว้จึงไม่สามารถปล่อยทิ้งแหล่งน้าธรรมชาติหรือท่อระบายน้าสาธารณะได้จึง
จาเป็นจะต้องผ่านระบบบาบัดขั้นสองเพื่อลดค่าบีโอดีต่อไป ลักษณะของบ่อเกรอะ ลักษณะที่สาคัญของบ่อ
เกรอะ คือ ต้องป้องกันตะกอนลอย (ฝ้าไข: Scum) และตะกอนจมไม่ให้ไหลไปยังบ่อเกรอะขั้นสอง เช่น ใช้
แผ่นกั้นขวาง หรือท่อรูปตัวที (สามทาง) บ่อเกรอะมีใช้อยู่ตามอาคารสถานที่ทั่วไปจะสร้างเป็นบ่อคอนกรีต
ในที่ หรือถ้าเป็นอาคารขนาดเล็กหรือบ้านพักอาศัยก็มักนิยมสร้างโดยใช้วงขอบซีเมนต์ซึ่งมีจาหน่ายตาม
ร้านค้าวัสดุก่อสร้างทั่วไป แต่ปัจจุบันมีการสร้างถังเกรอะสาเร็จรูป จาหน่ายโดยใช้หลักการเดียวกัน เกณฑ์
การออกแบบ บ่อเกรอะที่รับน้าเสียเฉพาะน้าเสียจากส้วมของบ้านพักอาศัย
ซึ่งหาขนาดได้จากสูตร
1. กรณีจานวนคนน้อยกว่า 5 คน ให้ใช้ปริมาตรบ่อขนาดตั้งแต่ 1.5 ลูกบาศก์เมตรขึ้นไป
2. กรณีจานวนคนตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป ปริมาตรบ่อ (ลูกบาศก์เมตร) = 1.5 + 0.1 คูณด้วย (จานวน -5)
การใช้งานและการดูแลรักษา
1. ห้ามเทสารที่เป็นพิษต่อจุลินทรีย์ลงในบ่อเกรอะ เช่นน้ากรดหรือด่างเข้มข้น น้ายาล้างห้องน้าเข้มข้น
คลอรีนเข้มข้น ฯลฯ เพราะจะทาให้ประสิทธิภาพในการทางานของบ่อเกรอะลดลง เพราะน้าทิ้งไม่ได้
คุณภาพตามต้องการ
2. ห้ามทิ้งสารอนินทรีย์หรือสารย่อยยาก เช่น พลาสติก ผ้าอนามัย ฯลฯ ซึ่งนอกจากมีผลทาให้ส้วมเต็มก่อน
กาหนดแล้วยังอาจเกิดการอุดตันในท่อระบายได้
3. ในกรณีน้าในบ่อเกรอะสูงและราดส้วมไม่ลง ให้ตรวจดูการระบายของบ่อซึม (ถ้ามี) ว่ามีการซึมออกดี
หรือไม่ ถ้าไม่มีบ่อซึม ปัญหาอาจมาจากน้าภายนอกไหลท่วมเข้ามาในถัง ต้องแก้ไขโดยการยกถังขึ้นสูง ใน
กรณีใช้บ่อเกรอะสาเร็จรูป ให้ติดต่อผู้แทนจาหน่ายเพื่อตรวจสอบและแก้ไขต่อไป เนื่องจากประสิทธิภาพใน
การบาบัดน้าเสียของบ่อเกรอะไม่สูงนัก คือประมาณร้อยละ 40 - 60 ทาให้น้าทิ้ง จากบ่อเกรอะยังคงมีค่าบีโอ
ดีสูงเกินค่ามาตรฐานที่กฎหมายกาหนดไว้จึงไม่สามารถปล่อยทิ้งแหลงน้าธรรมชาติหรือ ท่อระบายน้า
สาธารณะได้จึงจาเป็นจะต้องผ่านระบบบาบัดขั้นสองเพื่อลดค่าบีโอดีต่อไป ลักษณะของบ่อเกรอะ ลักษณะ
ที่สาคัญของบ่อเกรอะ คือ ต้องป้องกันตะกอนลอย (ฝ้าไข: Scum) และตะกอนจมไม่ให้ไหลไปยัง บ่อเกรอะ
ขั้นสอง เช่น ใช้แผ่นกั้นขวาง หรือท่อรูปตัวที (สามทาง) บ่อเกรอะมีใช้อยู่ตามอาคารสถานที่ทั่วไปจะสร้าง
เป็นบ่อคอนกรีตในที่ หรือถ้าเป็นอาคารขนาดเล็กหรือบ้านพักอาศัยก็มักนิยมสร้างโดยใช้วงขอบซีเมนต์ซึ่งมี
จาหน่ายตามร้านค้าวัสดุก่อสร้างทั่วไป แต่ปัจจุบันมีการสร้างถังเกรอะสาเร็จรูป จาหน่ายโดยใช้หลักการ
เดียวกัน เกณฑ์การออกแบบ บ่อเกรอะที่รับน้าเสียเฉพาะน้าเสียจากส้วมของบ้านพักอาศัย
ซึ่งหาขนาดได้จากสูตร 1กรณีจานวนคนน้อยกว่า 5 คน ให้ใช้ปริมาตรบ่อขนาดตั้งแต่ 1.5 ลูกบาศก์เมตรขึ้น
ไป 2. กรณีจานวนคนตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป ปริมาตรบ่อ (ลูกบาศก์เมตร) = 1.5 + 0.1 คูณด้วย (จานวน -5)
วิธีดาเนินงาน
-หาหัวข้อที่จะศึกษา
-นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
-ศึกษารวบรวมข้อมูล
-จัดทารายงาน
-นาเสนอครูผู้สอน
-ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเตอร์เน็ต
-หนังสือที่เกี่ยวข้อง
-คอมพิวเตอร์
-โทรศัพท์
งบประมาณ 0 บาท
ขั้นตอนและแผน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน ฐิติพร
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ฐิติพร
3 จัดทาโครงร่าง ฐิติพร
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
ฐิติพร
5 ปรับปรุงทดสอบ ฐิติพร
6 การทาเอกสารรายงาน ฐิติพร
7 ประเมินผลงาน ฐิติพร
8 นาเสนอโครงงาน ฐิติพร
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น
2.ผู้จัดทาสามารถทราบลักษณะของน้าเน่าเสีย
3.สามารถระบุระบบบาบัดน้าเสียได้
สถานที่ดาเนินการ
1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
2.ห้องสมุด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
3.กลุ่มสาระการเรียนรู้คอมพิวเตอร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
บริษัทลุกซ์ รอยัล(2558).สาเหตุและผลกระทบ จากมลพิษทางน้า, สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2562. (ออนไลน์)
จาก. https://www.lux.co.th/cpt_blog/cause-and-impact-of-water-pollution/ บริษัท ไฮโดรเท็ค จากัด
(มหาชน) (2558).ระบบบาบัดน้าเสีย, สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2562. (ออนไลน์)จาก.
https://www.hydrotek.co.th/wastwater-treatment-plant/
Thitiporn1

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
อาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
tangkwakamonwan
 
เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress
เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress
เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress
1234Nutthamon
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
bass-mail
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง ผักสวนครัว
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง ผักสวนครัวโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง ผักสวนครัว
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง ผักสวนครัว
Jay Witsanurot's
 

La actualidad más candente (20)

Em ball By ACR 58
Em ball By ACR 58Em ball By ACR 58
Em ball By ACR 58
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2561 project -7
2561 project -72561 project -7
2561 project -7
 
2561 project -7
2561 project -72561 project -7
2561 project -7
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
ป่าที่ยังเหลือ
ป่าที่ยังเหลือป่าที่ยังเหลือ
ป่าที่ยังเหลือ
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
โครงงานคอม
โครงงานคอม โครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress
เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress
เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง ผักสวนครัว
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง ผักสวนครัวโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง ผักสวนครัว
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง ผักสวนครัว
 
AT1
AT1AT1
AT1
 

Similar a Thitiporn1

โครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาโครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลา
ysmhcnboice
 

Similar a Thitiporn1 (20)

2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project_02_kamolchanok
2562 final-project_02_kamolchanok 2562 final-project_02_kamolchanok
2562 final-project_02_kamolchanok
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
Comnmmn
ComnmmnComnmmn
Comnmmn
 
ผักออร์แกนิกOrganic food
ผักออร์แกนิกOrganic foodผักออร์แกนิกOrganic food
ผักออร์แกนิกOrganic food
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
2559 project 612-04_08
2559 project 612-04_082559 project 612-04_08
2559 project 612-04_08
 
2559 project 612-04_08
2559 project 612-04_082559 project 612-04_08
2559 project 612-04_08
 
Germ in toilet
Germ in toiletGerm in toilet
Germ in toilet
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2562 final-project 37-609_pornchita
2562 final-project 37-609_pornchita2562 final-project 37-609_pornchita
2562 final-project 37-609_pornchita
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ฝนกรด
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ฝนกรดแบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ฝนกรด
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ฝนกรด
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอม
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
2562 project-15-jarukan (2)
2562 project-15-jarukan (2)2562 project-15-jarukan (2)
2562 project-15-jarukan (2)
 
โครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาโครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลา
 
Pitchayaporn N.
Pitchayaporn N.Pitchayaporn N.
Pitchayaporn N.
 

Thitiporn1

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน การบาบัดน้าเสียภายในชุมชน ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ น.ส.ฐิติพร ชัยวงค์ เลขที่ 11 ชั้น ม.6 ห้อง 6 ชื่อ น.ส.ขรัสวรา คาปวน เลขที่ 40 ชั้น ม.6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม น.ส.ฐิติพร ชัยวงค์เลขที่ 11 และ น.ส.ขรัสวรา คาปวน เลขที่ 40 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การบาบัดน้าเสียภายในชุมชน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Waste water treatment in the community ประเภทโครงงาน โครงงานสิ่งประดิษฐ์ ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.ฐิติพร ชัยวงค์และ น.ส.ขรัสวรา คาปวน เลขที่ 40 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 15 กันยายน พ.ศ. 2562 – 19 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) น้าคือปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิตของคนและสิ่งมีชีวิตเป็นแหล่งกาเนิดของสัตว์น้าและพืชหลากหลายชนิด นอกจากนั้นน้ายังมีประโยชน์ในด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม มีประโยชน์สาหรับครัวเรือน ในการดื่มกิน ใช้ประกอบอาหาร หรือใช้ชาระล้างร่างกายและสิ่งสกปรกต่างๆ และน้ายังทาให้เกิดความอุดมสมบูรณ์แก่ สิ่งมีชีวิต
  • 3. คุณสมบัติของน้าที่เป็นประโยชน์สาหรับมนุษย์และสิ่งมีชีวิตมากที่สุดก็คือ น้าบริสุทธิ์ สะอาด ปราศจากเชื้อ โรคและสารพิษเจือปน ในอดีตมนุษย์สามารถนาทรัพยากรน้าจากแหล่งน้าตามธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ได้ต่างจากปัจจุบันที่เกิด ปัญหาด้านคุณภาพของน้า หรือเกิดมลพิษทางน้าจนไม่สามารถนาน้าจากแหล่งน้าตามธรรมชาติมาใช้ได้ซึ่ง ปัญหาเหล่านี้เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ปัญหามลพิษทางน้าในปัจจุบัน ส่วนมากมาจากการระบายน้าเสีย จากอุตสาหกรรม โรงงาน โรงแรม และ เกษตรกรรม รวมถึงกิจกรรมต่างๆจากชุมชนที่ส่งผมต่อแหล่งน้า เช่น การใช้น้าในการทาอาหารและปล่อยน้าเสีย น้ามันจากการทาอาหาร เศษอาหาร ใช้ในการชาระล้าง ร่างกาย และสิ่งของเครื่องใช้แล้วก็ปล่อยน้าเสียลงสู่แม่น้า ซึ่งการกระทาเช่นนี้ส่งผลต่อประชาชนโดยเกิด จากมลพิษทางน้าในลาคลอง โดยไม่มีการกรองหรือการบาบัดก่อนปล่อยลงสู่แม่น้า จึงต้องมีการทา โครงงานนี้ขึ้นมาเพื่อเป็นการช่วยลดมลพิษทางน้าที่มีผลต่อประชากรทั่วประเทศในปัจจุบันนี้ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อทราบสาเหตุ ปัจจัยของปัญหาน้าเน่าเสีย 2.เพื่อทราบลักษณะของน้าเน่าเสีย 3.เพื่อลดปัญหาน้าเน่าเสียภายในชุมชน ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1. สาเหตุของน้าเน่าเสีย 2. อธิบายถึงลักษณะของน้าเน่าเสีย 3. อธิบายถึงสมมูลประชากร 4. ระบบบาบัดน้าเสีย
  • 4. หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) สาเหตุที่ก่อให้เกิดมลพิษทางน้า 1.เกิดจากน้าทิ้งและสิ่งปฏิกูลจากแหล่งชุมชน เช่น น้าที่ใช้ซักฟอกทาความสะอาดซึ่งส่วนใหญ่มี สารอินทรีย์ปะปนมากับน้าทิ้งเหล่านั้นจนทาให้เกิดมลพิษทางน้า 2.น้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมหากโรงงานมีการลักลอบปล่อยน้าเสียลงในแหล่งน้าทาให้น้าเน่าเสียได้ ง่ายเพราะมีปริมาณมากและสารปนเปื้อนมีอัตราสูง 3.น้าเสียที่เกิดจากธรรมชาติ อาจเกิดจากการเน่าเสียเมื่อน้าอยู่ในสภาพนิ่งไม่มีการไหลเวียนถ่ายเท 4.เกิดจากพื้นที่ทาการเกษตร เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่นิยมใช้น้ายาปราบศัตรูพืชกันมากขึ้น จึงทาให้มี สารตกค้างอยู่ตามต้นพืชและพื้นผิวดิน เมื่อฝนตกและพัดพาเอาสารพิษที่ตกค้างลงสู่แม่น้าลาคลองก็ทาให้ เกิดมลพิษทางน้าขึ้นได้น้าเสียชุมชน (Domestic Wastewater) หมายถึง น้าเสียที่เกิดจากกิจกรรมประจาวัน ของประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชน และกิจกรรมที่เป็นอาชีพ ได้แก่ น้าเสียที่เกิดจากการประกอบอาหารและ ชาระล้างสิ่งสกปรกทั้งหลายภายในครัวเรือน และอาคารประเภทต่าง ๆ เป็นต้น ปริมาณน้าเสีย ที่ปล่อยทิ้ง จากบ้านเรือน อาคาร จะมีค่าประมาณร้อยละ 80 ของปริมาณน้าใช้หรืออาจประเมินได้จากจานวนประชากร หรือพื้นที่อาคาร ดังแสดงในตาราง
  • 5. ทีมาโครงการศึกษาเพื่อจัดลาดับความสาคัญการจัดการน้าเสียชุมชน, สานักงานนโยบายและแผน สิ่งแวดล้อม 2538 ลักษณะน้าเสีย เกิดจากบ้านพักอาศัยประกอบไปด้วยน้าเสียจากกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน ซึ่งมีองค์ประกอบต่าง ๆ ดังนี้ 1. สารอินทรีย์ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เช่น เศษข้าว ก๋วยเตี๋ยว น้าแกง เศษใบตอง พืชผัก ชิ้นเนื้อ เป็นต้น ซึ่งสามารถถูกย่อยสลายได้โดยจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ทาให้ระดับออกซิเจนละลายน้า (Dissolved Oxygen) ลดลงเกิดสภาพเน่าเหม็นได้ปริมาณของสารอินทรีย์ในน้านิยมวัดด้วยค่าบีโอดี (BOD) เมื่อค่าบีโอ ดีในน้าสูง แสดงว่ามีสารอินทรีย์ปะปนอยู่มาก และสภาพเน่าเหม็นจะเกิดขึ้นได้ง่าย 2. สารอนินทรีย์ได้แก่ แร่ธาตุต่าง ๆ ที่อาจไม่ทาให้เกิดน้าเน่าเหม็น แต่อาจเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต ได้แก่ คลอไรด์, ซัลเฟอร์ เป็นต้น 3. โลหะหนักและสารพิษ อาจอยู่ในรูปของสารอินทรีย์หรืออนินทรีย์และสามารถสะสมอยู่ในวงจรอาหาร เกิดเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต เช่น ปรอท โครเมียม ทองแดง ปกติจะอยู่ในน้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
  • 6. และสารเคมีที่ใช้ในการกาจัดศัตรูพืชที่ปนมากับน้าทิ้งจากการเกษตร สาหรับในเขตชุมชนอาจมีสารมลพิษนี้ มาจากอุตสาหกรรมในครัวเรือนบางประเภท เช่น ร้านชุบโลหะ อู่ซ่อมรถ และน้าเสียจากโรงพยาบาล เป็น ต้น 4. น้ามันและสารลอยน้าต่าง ๆ เป็นอุปสรรคต่อการสังเคราะห์แสง และกีดขวางการกระจายของออกซิเจน จากอากาศลงสู่น้า นอกจากนั้นยังทาให้เกิดสภาพไม่น่าดู 5. ของแข็ง เมื่อจมตัวสู่ก้นลาน้า ทาให้เกิดสภาพไร้ออกซิเจนที่ท้องน้า ทาให้แหล่งน้าตื้นเขิน มีความขุ่นสูง มีผลกระทบต่อการดารงชีพของสัตว์น้า 6. สารก่อให้เกิดฟอง/สารซักฟอก ได้แก่ ผงซักฟอก สบู่ ฟองจะกีดกันการกระจายของออกซิเจนในอากาศสู่ น้า และอาจเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในน้า 7. จุลินทรีย์น้าเสียจากโรงฟอกหนัง โรงฆ่าสัตว์หรือโรงงานอาหารกระป๋ อง จะมีจุลินทรีย์เป็นจานวนมาก จุลินทรีย์เหล่านี้ใช้ออกซิเจนในการดารงชีวิตสามารถลดระดับของออกซิเจนละลายน้าทาให้เกิดสภาพเน่า เหม็น นอกจากนี้จุลินทรีย์บางชนิดอาจเป็นเชื้อโรคที่เป็นอันตรายต่อประชาชน เช่น จุลินทรีย์ในน้าเสียจาก โรงพยาบาล 8. ธาตุอาหาร ได้แก่ ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส เมื่อมีปริมาณสูงจะทาให้เกิดการเจริญเติบโตและเพิ่ม ปริมาณอย่างรวดเร็วของสาหร่าย (Algae Bloom) ซึ่งเป็นสาเหตุสาคัญทาให้ระดับออกซิเจนในน้าลดลงต่า มากในช่วงกลางคืน อีกทั้งยังทาให้เกิดวัชพืชน้า ซึ่งเป็นปัญหาแก่การสัญจรทางน้า 9. กลิ่น เกิดจากก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ ซึ่งเกิดจากการย่อยสลายของสารอินทรีย์แบบไร้ออกซิเจน หรือกลิ่น อื่น ๆ จากโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น โรงงานทาปลาป่น โรงฆ่าสัตว์เป็นต้น
  • 7. การบาบัดน้าเสีย การเลือกระบบบาบัดน้ําเสียขึ้นกับปัจจัยต่างๆ ได้แก่ ลักษณะของน้ําเสีย ระดับการบาบัดน้ําเสียที่ต้องการ สภาพทั่วไปของท้องถิ่น ค่าลงทุนก่อสร้างและค่า ดาเนินการดูแลและบารุงรักษา และขนาดของที่ดินที่ใช้ใน การ ก่อสร้าง เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อให้ระบบบาบัดน้าเสียที่เลือกมีความเหมาะสมกับแต่ละท้องถิ่น ซึ่งมี สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน โดยทั่วไปการจัดการน้าเสียชุมชนแบ่งรูปแบบการจัดการน้าเสียเป็น 3 แบบคือ ระบบ บาบัดน้าเสียรวม (Central Wastewater Treatment) ระบบบาบัดน้าเสียแบบกลุ่มอาคาร (Cluster Wastewater Treatment) และระบบบาบัดน้าเสียแบบติดกับที่ (Onsite Wastewater Treatment) ระบบบาบัดน้าเสียแบบติดกับที่ (Onsite Wastewater Treatment) หมายถึง ระบบบาบัดน้าเสียที่ติดตั้งเพื่อบาบัดน้า เสียจากอาคารเดี่ยว ๆ เช่น บ้านพักอาศัย อาคารชุด โรงเรียน หรืออาคารสถานที่ทาการ เป็นต้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลด ความสกปรกของน้าเสียก่อนระบาย ออกสู่สิ่งแวดล้อม ระบบ บาบัดน้าเสียแบบติดกับที่สาหรับบ้านพักอาศัยที่นิยมใช้กัน ได้แก่ บ่อดักไขมัน (Grease Trap) ระบบบ่อเกรอะ (Septic Tank) ระบบบ่อกรองไร้อากาศ (Anaerobic Filter) เป็นต้น ระบบบ่อเกรอะ (Septic Tank) บ่อเกรอะมีลักษณะเป็นบ่อปิด ซึ่งน้าซึมไม่ได้และไม่มีการเติมอากาศ ดังนั้นสภาวะในบ่อจึงเป็นแบบไร้ อากาศ (Anaerobic) โดยทั่วไปมักใช้สาหรับการบาบัดน้าเสียจากส้วม แต่จะใช้บาบัดน้าเสียจากครัวหรือน้า เสียอื่นๆ ด้วยก็ได้ถ้าหากสิ่งที่ไหลเข้ามาในบ่อเกรอะมีแต่อุจจาระหรือสารอินทรีย์ที่ย่อยง่าย หลังการย่อย แล้วก็จะกลายเป็นก๊าซกับน้าและกากตะกอน (Septage) ในปริมาณที่น้อยจึงทาให้บ่อไม่เต็มได้ง่าย (อัตรา การเกิดกากตะกอนประมาณ 1 ลิตร/คน/วัน) แต่อาจต้องมีการสูบกากตะกอนในบ่อเกรอะ (Septage)
  • 8. ออกเป็นครั้งคราว (ประมาณปีละหนึ่งครั้ง สาหรับบ่อเกรอะมาตรฐาน) แต่ถ้าหากมีการทิ้งสิ่งที่ย่อยหรือ สลายยาก เช่น พลาสติก ผ้าอนามัย กระดาษชาระ สิ่งเหล่านี้จะยังคงค้างอยู่ในบ่อและทาให้บ่อเต็มก่อนเวลา อันสมควร เพื่อให้บ่อเกรอะสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากประสิทธิภาพในการบาบัดน้า เสียของบ่อเกรอะไม่สูงนัก คือประมาณร้อยละ 40 - 60 ทาให้น้าทิ้งจากบ่อเกรอะยังคงมีค่าบีโอดีสูงเกินค่า มาตรฐานที่กฎหมายกาหนดไว้จึงไม่สามารถปล่อยทิ้งแหล่งน้าธรรมชาติหรือท่อระบายน้าสาธารณะได้จึง จาเป็นจะต้องผ่านระบบบาบัดขั้นสองเพื่อลดค่าบีโอดีต่อไป ลักษณะของบ่อเกรอะ ลักษณะที่สาคัญของบ่อ เกรอะ คือ ต้องป้องกันตะกอนลอย (ฝ้าไข: Scum) และตะกอนจมไม่ให้ไหลไปยังบ่อเกรอะขั้นสอง เช่น ใช้ แผ่นกั้นขวาง หรือท่อรูปตัวที (สามทาง) บ่อเกรอะมีใช้อยู่ตามอาคารสถานที่ทั่วไปจะสร้างเป็นบ่อคอนกรีต ในที่ หรือถ้าเป็นอาคารขนาดเล็กหรือบ้านพักอาศัยก็มักนิยมสร้างโดยใช้วงขอบซีเมนต์ซึ่งมีจาหน่ายตาม ร้านค้าวัสดุก่อสร้างทั่วไป แต่ปัจจุบันมีการสร้างถังเกรอะสาเร็จรูป จาหน่ายโดยใช้หลักการเดียวกัน เกณฑ์ การออกแบบ บ่อเกรอะที่รับน้าเสียเฉพาะน้าเสียจากส้วมของบ้านพักอาศัย ซึ่งหาขนาดได้จากสูตร 1. กรณีจานวนคนน้อยกว่า 5 คน ให้ใช้ปริมาตรบ่อขนาดตั้งแต่ 1.5 ลูกบาศก์เมตรขึ้นไป 2. กรณีจานวนคนตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป ปริมาตรบ่อ (ลูกบาศก์เมตร) = 1.5 + 0.1 คูณด้วย (จานวน -5) การใช้งานและการดูแลรักษา 1. ห้ามเทสารที่เป็นพิษต่อจุลินทรีย์ลงในบ่อเกรอะ เช่นน้ากรดหรือด่างเข้มข้น น้ายาล้างห้องน้าเข้มข้น คลอรีนเข้มข้น ฯลฯ เพราะจะทาให้ประสิทธิภาพในการทางานของบ่อเกรอะลดลง เพราะน้าทิ้งไม่ได้ คุณภาพตามต้องการ 2. ห้ามทิ้งสารอนินทรีย์หรือสารย่อยยาก เช่น พลาสติก ผ้าอนามัย ฯลฯ ซึ่งนอกจากมีผลทาให้ส้วมเต็มก่อน กาหนดแล้วยังอาจเกิดการอุดตันในท่อระบายได้
  • 9. 3. ในกรณีน้าในบ่อเกรอะสูงและราดส้วมไม่ลง ให้ตรวจดูการระบายของบ่อซึม (ถ้ามี) ว่ามีการซึมออกดี หรือไม่ ถ้าไม่มีบ่อซึม ปัญหาอาจมาจากน้าภายนอกไหลท่วมเข้ามาในถัง ต้องแก้ไขโดยการยกถังขึ้นสูง ใน กรณีใช้บ่อเกรอะสาเร็จรูป ให้ติดต่อผู้แทนจาหน่ายเพื่อตรวจสอบและแก้ไขต่อไป เนื่องจากประสิทธิภาพใน การบาบัดน้าเสียของบ่อเกรอะไม่สูงนัก คือประมาณร้อยละ 40 - 60 ทาให้น้าทิ้ง จากบ่อเกรอะยังคงมีค่าบีโอ ดีสูงเกินค่ามาตรฐานที่กฎหมายกาหนดไว้จึงไม่สามารถปล่อยทิ้งแหลงน้าธรรมชาติหรือ ท่อระบายน้า สาธารณะได้จึงจาเป็นจะต้องผ่านระบบบาบัดขั้นสองเพื่อลดค่าบีโอดีต่อไป ลักษณะของบ่อเกรอะ ลักษณะ ที่สาคัญของบ่อเกรอะ คือ ต้องป้องกันตะกอนลอย (ฝ้าไข: Scum) และตะกอนจมไม่ให้ไหลไปยัง บ่อเกรอะ ขั้นสอง เช่น ใช้แผ่นกั้นขวาง หรือท่อรูปตัวที (สามทาง) บ่อเกรอะมีใช้อยู่ตามอาคารสถานที่ทั่วไปจะสร้าง เป็นบ่อคอนกรีตในที่ หรือถ้าเป็นอาคารขนาดเล็กหรือบ้านพักอาศัยก็มักนิยมสร้างโดยใช้วงขอบซีเมนต์ซึ่งมี จาหน่ายตามร้านค้าวัสดุก่อสร้างทั่วไป แต่ปัจจุบันมีการสร้างถังเกรอะสาเร็จรูป จาหน่ายโดยใช้หลักการ เดียวกัน เกณฑ์การออกแบบ บ่อเกรอะที่รับน้าเสียเฉพาะน้าเสียจากส้วมของบ้านพักอาศัย ซึ่งหาขนาดได้จากสูตร 1กรณีจานวนคนน้อยกว่า 5 คน ให้ใช้ปริมาตรบ่อขนาดตั้งแต่ 1.5 ลูกบาศก์เมตรขึ้น ไป 2. กรณีจานวนคนตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป ปริมาตรบ่อ (ลูกบาศก์เมตร) = 1.5 + 0.1 คูณด้วย (จานวน -5) วิธีดาเนินงาน -หาหัวข้อที่จะศึกษา -นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน -ศึกษารวบรวมข้อมูล -จัดทารายงาน -นาเสนอครูผู้สอน -ปรับปรุงและแก้ไข
  • 10. เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -อินเตอร์เน็ต -หนังสือที่เกี่ยวข้อง -คอมพิวเตอร์ -โทรศัพท์ งบประมาณ 0 บาท ขั้นตอนและแผน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน ฐิติพร 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ฐิติพร 3 จัดทาโครงร่าง ฐิติพร 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน ฐิติพร 5 ปรับปรุงทดสอบ ฐิติพร 6 การทาเอกสารรายงาน ฐิติพร 7 ประเมินผลงาน ฐิติพร 8 นาเสนอโครงงาน ฐิติพร
  • 11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น 2.ผู้จัดทาสามารถทราบลักษณะของน้าเน่าเสีย 3.สามารถระบุระบบบาบัดน้าเสียได้ สถานที่ดาเนินการ 1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 2.ห้องสมุด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 3.กลุ่มสาระการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) บริษัทลุกซ์ รอยัล(2558).สาเหตุและผลกระทบ จากมลพิษทางน้า, สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2562. (ออนไลน์) จาก. https://www.lux.co.th/cpt_blog/cause-and-impact-of-water-pollution/ บริษัท ไฮโดรเท็ค จากัด (มหาชน) (2558).ระบบบาบัดน้าเสีย, สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2562. (ออนไลน์)จาก. https://www.hydrotek.co.th/wastwater-treatment-plant/