SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 18
Descargar para leer sin conexión
 
                     




          กิจกรรมที่ 2 บุกเบิก


       การผูกเงื่อนและการผูกแนน
          ลูกเสือสามัญรุนใหญ

                     
                     
                     
                     
                     

                      
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา 
                     
                     
                     
                     
เงื่อนลูกเสือสามัญรุนใหญ 
                                                          
เงื่อนลูกเสือ - เนตรนารีสามัญรุนใหญ เปนวิชาหนึ่งของเครื่องหมายลูกเสือโลก ทุกคนตองปฏิบัตการผูกเงื่อน
                                                                                           ิ
ทั่วไป และเงื่อนผูกแนนไดเพือนําความรูทกษะการผูกเงือนไปใชทํากิจกรรมในการสรางคายพักแรม การปฏิบัติ
                             ่           ั            ่
กิจกรรมอื่น ๆ และการบําเพ็ญประโยชน 
ชนิดของเชือก 
๑. เชือกกาบมะพราว ทําจากกาบมะพราว มีน้ําหนักเบา ลอยน้ําไดเหมาะหรับใชในน้ํา ไมอมน้า นิยมใชโยงเรือ
                                                                                      ํ
กําลังงานนอยกวาเชือกมนิลาที่มีขนาดเทากัน 

๒. เชือกปาน ทําจากตนเฮมม สีเหลือง เสนใยหยาบ แข็ง ผูกงายไมเหมาะสําหรับงานเกียวกับน้า นิยมชุบ
                                                                                 ่      ํ
น้ํามันจึงเรียกวา เชือกน้ํามัน เมื่อชุบน้าแลวกําลังงานจะนอยลงกวาเดิม 
                                          ํ

๓. เชือกมนิลา ทําจากตนมนิลามีมากในประเทศฟลิปปนส สีคอนขางขาว ออนตัวดี มีกําลังมากกวาเชือกปาน
นิยมใชเปนเชือกรอก ทําฐานผจญภัย และในการบุกเบิก ถาใชในที่แหงจะทนดี แตถาเปยกน้าบอย ๆ จะขาด
                                                                                    ํ
งาย 

๔. เชือกปอ เปนเชือกทําจากปอกระเจาในประเทศไทย เหมาะสําหรับใชงานชั่วคราวบนบก เชน ขันชะเนาะ
นั่งรานเปนตน ตองเก็บรักษาใหดี ระวังทิ้งไว มอด และปลวกกัดกินทําใหขาดงาย  

๕. เชือกดาย เปนเชือกที่ทาจากดายดิบ มีสขาวสะอาด ออนนิ่ม ขดมวนงาย ไมมีมอด หรือปลวกอาศัย ใชทํา
                          ํ              ี
แห หรือใชงานในรมไมถกแดด 
                       ู

๖. เชือกไนลอน เปนเชือกทีทําจากสารสังเคราะห มีความทนทานและเหนียวมาก มีความยืดหยุนมากกวาเชือก
                         ่                                                              
ชนิดอื่น ๆ ผูกยากเพราะคลายตัวงาย ถาดึงมากเชือกยืดได เหมาะใชงานในน้ํา หามอยูใกลความรอน หรือใกล
ไฟ  

๗. เชือกลวดหรือลวดสลิง ลักษณะคลายเชือก แตทําจากเหล็กกลาเคลือบสังกะสีควั่นเปนเกลียวมีน้ําหนังและ
กําลังมาก มีราคาแพงและเกิดสนิมไดงาย เหมาะสําหรับยึดเกาะโครงสรางสูงเชน ใชยึดทําฐานผจญภัยถาวร
                                   
ยึดเสาโทรทัศน หรือหอคอย เปนตน มีหลายขนาดใหเลือก 

 
ขนาดของเชือก 
เชือกมีหลายขนาด ใหวัดตามความยาวของเสนรอบวง เชน ถาวัดความยาวของเสนรอบวงได ๑ นิว ก็เปนเชือก
                                                                                   ้
ขนาด ๑ นิ้ว เปนตน 

 
การระวังรักษาเชือก 
๑. เมื่อซื้อเชือกมาแลวใหพนหัวเชือกใหเรียบรอย กันเกลียวเชือกคลายตัว 
                           ั

๒. ขณะใชเชือกพยายามอยาใหเชือกเปยกน้ํา (ยกเวนเชือกที่ผูกหรือใชในน้า) 
                                                                       ํ

๓. ใหใชผาเการองรับระหวางเชือกกับเชือก หรือระหวางเชือกกับวัตถุอื่น ที่จุด ผูกหรือจุดเสียดสี 
          

๔. หลังจากใชเชือกแลว ควรตรวจเชือกใหละเอียด ถามีจุดชํารุดตองซอม หากเชือกเปยกชืน ตองผึงลมใหแหง
                                                                                    ้       ่
สนิทกอนเก็บ และถาเปน ไปได ควรแขวนไว 

การเก็บเชือก    หลังจากใชเชือกแลวใหเก็บเชือกรอยไวที่เข็มขัด หอยมวนเชือกลงดานขางตัว เพื่อความ
เรียบรอยสวยงาม 

๑. ทบเชือก ๓ ครั้ง เพื่อแบงเปน ๘ สวน ถือไวดวยมือซาย ๓ สวน อีก ๕ สวนที่เหลือปลอยลงเอาไวสําหรับพัน
รอบ 

๒. เอาเชือกสวนยาวที่เหลือ ๕ สวน พันรอบเชือกทีถือไวดวยมือซาย โดยเริ่มพันถัดจากบวงหัวประมาณ ๑ นิ้ว
                                               ่
รูป ๒ พันใหแนนจนตลอดจะเหลือปลายเชือก ใหสอดปลายเชือกนันเขาไปในบวงทาย รูป  
                                                               ้

๓.ขั้นสุดทาย ดึงบวงหัว จนบวงทายรัดปลายเชือกที่สอดไวแนน 
 


ชนิดและประโยชนของเงือน 
                     ่
เงื่อน คือ การผูกเชือกกับเชือก หรือเชือกกับวัตถุอน หรือทําใหเกิดบวงหรือปมในเชือกเสนเดียวกัน เงื่อนแบง
                                                 ื่
ออกเปนหลายประเภทตามลักษณะ เพื่อใชประโยชนอยางใดก็ได และสามารถแยกเงื่อนตามประเภทการใช
งานไดดังนี ้

๑. ประเภทตอเชือกเขาดวยกัน เพื่อใชประโยชนในการตอเชือกใหยาวขึ้น คือ เงื่อนพิรอด เงื่อนขัดสมาธิ เงื่อน
ประมง เงื่อนยายแก เงื่อนนายพราน ฯ 

๒. ประเภททําบวง เพื่อใชประโยชนสําหรับคลองหรือสวมกับหลัก เสา สัตว หรือคน คือ เงื่อนเกาอี้ เงื่อนคนลาก
เงื่อนสายนกหวีด ฯ 

๓. ประเภท ผูกกับวัตถุ เพื่อใชประโยชนสาหรับผูกใหแนน ใชร้งใหตงหรือดึงใหแนน คือเงื่อนผูกซุง เงื่อนตะกรุด
                                          ํ                 ั ึ
เบ็ด เงื่อนกระหวัดไม เงื่อนผูกประกบ เงื่อนผูกทแยง เงือนกากบาท เงื่อนเงื่อนผูกรั้ง ฯ 
                                                      ่

๔. ประเภทใชถักและแทง ไดแก ถักสายนกหวีด ถักลูกโซหลายชั้น ถักเกลียวกลม แทงบวง ถักวอกเกิล 
เงื่อนลูกเสือสามัญรุนใหญ 
๑.เงื่อนพิรอด ( Reef Knot หรือ Square Knot) 
เปนเงื่อนที่มีประโยชนมากในชีวิตประจําวันของเรา โดยเฉพาะการตอปลายเชือก ๒ขางเขาดวยกันดวยเงื่อนนี้
จะแนนมากแตก็แกออกไดงาย เงื่อนเมื่อตอแลวปมจะไมนูนจนเกินไป ผูกไดหลายวิธี เชือกที่ผกตองเปนเสน
                                                                                       ู
เชือกที่มีขนาดเทากันมีความเหนียวเทากัน 

 
 
 
 
 
 
 
 
  
ประโยชน 

๑. ใชเชือกตอ ๒ เสน มีขนาดเทากัน และเหนียวเทากัน  
                                           ่

๒. ใชผูกปลายเชือกเสนเดียวกัน เพื่อผูกมัดหอสิ่งของและวัสดุตางๆ 

๓. ใชผูกเชือกผูกรองเทา (ผูกเงื่อนพิรอด กระตุกปลาย ๒ ขาง) 

๔. ใชในการปฐมพยาบาล เชน ผูกชายผาพันแผล ผูกชายผาทําสลิงคลองคอ ใชผูกปลายเชือกกากบาทญี่ปุน  

๕. ใชตอผาเพือใหความยาวตามตองการในกรณีที่ไมมเี ชือก เชน ตอผาปูทนอน ใชชวยคนในยามฉุกเฉินเมื่อ
               ่                                                       ี่      
เวลาเกิดเพลิงไหม และใชผาพันคอลูกเสือตอกัน เพื่อชวยคนที่ตดอยูบนที่สง และใชผูกโบ เปนตน
                                                           ิ            ู                    

 
 
 
๒.เงื่อนขัดสมาธิ ( Sheet Bend ) 
เปนเงื่อนที่ใชประโยชนตอเชือกที่มีขนาดตางกันโดยใชเสนใหญเปนบวง สวนเสนเล็กเปนเสนพันขัด 

 
 
 
 
 
 
 
 
 
  
ประโยชน  

     ๑. ใชตอเชือกขนาดตางกัน หรือขนาดเดียวกันก็ได 

      ๒. ใชตอเชือกแข็งกับเชือกออน (เสนออนเปนเสนพันขัด) 
             

      ๓. ใชตอเชือกที่คอนขางแข็ง เชน เถาวัลย 
             

      ๔. ใชผกเชือกกับสิงทีมีลกษณะเปนขอหรือหูอยูแลว เชน ธงชาติ 
             ู          ่ ่ ั

      ๕. ใชตอเสนดาย เสนไหมทอผา 
             

 
 
 
 
 
 
๓.เงื่อนกระหวัดไม ( Half Hitch ) 
 
 
 
 
 
 
 
 
ประโยชน 
๑. ใชสาหรับผูกเรือ ผูกแพไวกับหลัก แตไมสามารถหมุนรอบไดเหมือน เงื่อนบวงสายธนู เงื่อนกระหวัดไมนี้ถา
          ํ
ยิ่งดึงยิ่งแนนขึน 
                 ้

๒. ใชสําหรับผูกรอกตาง ๆ 

๓. ใชเปนเงื่อนแรกในเงื่อนผูกซุง 

๔. ใชเปนเงื่อนบุกเบิก 

         
 
 
 
 
 
 
 
 
 
๔.เงื่อนบวงสายธนู ( Bowline ) 
เปนเงื่อนที่ไมรูด ไมเลื่อนเขาไปรัดกับสิ่งทีผูก ตัวบวงจะคงที 
                                               ่                ่

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ประโยชน 
๑. ใชผกสัตวไวกับหลักหรือตนไม เปนเงื่อนที่ไมรูดและไมเลื่อนเขารัดกับหลัก เหมาะสําหรับการผูกลาม เพราะ
       ู
สามารถหมุนรอบได 

๒. ใชเปนบวงคลองชวยคนตกน้ํา เพราะเงื่อนชนิดนี้จะไมรูดเขาหาตัวคนที่เราชวย 

๓. ใชคลองคนใหหยอนตัวจากที่สงลงสูทต่ําแทนเงื่อนเกาอี้ได 
                               ู      ี่

๔. ใชคลองคันธนูเพื่อโกงคันธนู 

๕.ใชผูกเรือกับหลัก เมื่อเวลาน้าขึ้นหรือน้ําลงบวงจะเลื่อนขึ้นลงไดเอง 
                               ํ

 
 
 
 
 
๕.เงื่อนตะกรุดเบ็ด ( Cleve Hitch ) 
เปนเงื่อนผูกแนนแตแกงาย ใชในการผูกของ ผูกเสารั้ว ผูกหลัก ผูกตอมอ ในการสรางสะพาน ทําหอคอย
                        
ผูกเบ็ด  

 




                                                                            
 
ประโยชน 
๑. ใชแขวนรอก 

๒. ผูกเชือกกับสมอเรือ 

๓. ใชผกขอเบ็ดตกปลา 
       ู

๔. ใชผกเชือกกับเสาหรือหลักเพื่อลามสัตวเลี้ยงหรือแพ 
       ู

๕. ใชผกบันใดเชือก บันใดลิง 
       ู

๖. ใชในการผูกแนน เชน ผูกประกบ ผูกกากบาท  

 
 
 
 
 
๖.เงื่อนประมง ( Fisherman's Knot ) 
เปนเงื่อนที่ใชสําหรับตอเชือกที่มขนาดเดียวกัน ซึงเปนที่รูจักกันอีกชือหนึงวา เงื่อนหัวลานชนกัน  
                                   ี              ่                     ่ ่

 
 
 
 
 
 
 
 
ประโยชน 
๑. ใชตอเชือกที่มีขนาดเล็ก  

๒. ใชตอเชือกสองเสนที่มีขนาดเดียวกัน 

๓. ผูกคอขวดแยมสําหรับเปนทีถือหิว (คอขวดที่มีขอบขวด) 
                           ่ ้

๔. ใชตอเชือกที่มีขนาดใหญที่ลากจูง 

๕. ใชตอเชือกดาย ดายทอ สายเบ็ด ใชตอเชือกกันเปนเกลียว 
                                      

๖. ใชตอสายไฟฟา 

 
 
 
 
  
 
๗.เงื่อนผูกซุง ( A Timber Hitch ) 
เปนเงื่อนที่ใชสําหรับผูกสิงของตาง ๆ ใหแนน เปนเงื่อนที่มีลักษณะพิเศษคือผูกงาย แตเปนเงื่อนทียิ่งดึงยิ่งแนน
                            ่                                                                      ่
ยิ่งดึงแรงมากเทาไรก็ยงแนนมากขึ้นเทานัน 
                         ิ่                ้

 
 
 
 
 
 
 
 
 
ประโยชน  
๑. ใชผกกับวัตถุท่เปนทอนยาว ๆ เชน ทอนซุง เสา เพือใชลาก 
       ู          ี                                 ่

๒. ใชผูกกับหินแทนสมอเรือ หรือใชผูกหินแทนสมอบกก็ได 

๓. ใชเปนเชือกเริ่มตนในการผูกทแยง 

๔. ใชผูกกับหินเพื่อใชแทนสมอเรือ 

๕. ใชผูกสัตว เรือ แพไวกับทาหรือเสาหรือรั้ว ตนไม 

๖. เปนเงื่อนทีผูกงาย แกยาก 
               ่

 
 
 
  
 
๘.เงื่อนผูกรั้ง ( Tarbuck Knot ) 
ใชผกแทนสายเต็นทยึดเสาธงเพื่อกันลม ใชรั้งตนไม เปนเงื่อนเลื่อนใหตึงและหยอนไดตามตองการ 
    ู

 
 
 
 
 
 
 
 
 
ประโยชน 
๑. ใชยึดเสาเต็นท เสาธง สมอบก 

๒. ใชผูกกับหวงตาง ๆ  

๓. เปนเงื่อนเลื่อนใหตึงหรือหยอนตามความตองการ 

 
 
 
 
 
 
 
 
 
๙.เงื่อนปมตาไก ( A Fingere of Einght Knot ) 
ใชขมวดหัวเชือกที่ไมใหญนก ถาตองการใหปมใหญก็ขมวดหลายครั้งมีชื่อเรียกวาปมไก 
                          ั

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ประโยชน 
๑. ใชผกปลายเชือกใหเปนปมเพื่อที่จะไดถือ หรือหิ้วไดถนัด 
       ู

๒. ใชผูกแทนกันหัวเชือกชั่วคราว 

๓. ใชผูกรอยหูเต็นท 

๔. ทําปมบันไดเชือก 

         
 
 
 
 
 
 
๑๐.การผูกทแยง ( Diagonal Lashing ) 

การผูกทแยงเปนการผูกทอนไมที่ไขวกนอยูใหติดแนนเขาดวยกัน เชน ใชผูกนั่งรานในการกอสราง ใชผูกตอมอ
                                   ั
สะพาน การสรางทีพักอาศัยของชาวบานดวยไมไผ 
                ่

*สวนมากใชผกไมที่มีลกษณะไขวกันที่ไมเปนมุมฉากกัน ( กากบาท ) 
            ู         ั
วิธีการผูก 
๑.ขึ้นตนดวยเงื่อนผูกซุง โดยควบไมทง ๒ ทอน 
                                    ั้

๒.พันขวางไมทั้ง ๒ ดาน 

๓.พันหักคอไก 

๔.ลงทายดวยเงื่อนตะกรุดเบ็ด 

               
 
 
 
 
 
ประโยชน  
๑. ใชในงานกอสราง 

๒. ใชผกเสาหรือไมค้ํายัน ปองกันลม 
       ู

๓. ใชทาตอมอสะพาน
       ํ

 
 
 
 
๑๑.การผูกประกบ ( Sheer Lashing หรือ Round Lashing )

        การผูกประกบเปนการผูกไมดวยวิธีจับไม ๒ ทอนมาเขาคูกัน แลวผูกเขาดวยกันใหแนน ซึ่งอาจพูด
                                                              
ไดหลายวิธี วิธีที่นิยมใชกันมาก ไดแก การผูกประกบ ๒ ทอน และการผูกประกบ ๓ ทอน
ประโยชน
     ๑. ใชตอไมหลายๆทอนใหยาวออกไป
     ๒. ใชผูกตอไมในการกอสราง
     ๓. ใชผูกตอพลองทําเสาธงลอย
วิธีผูกประกบ(โดยละเอียด)
     ๑. เอาไมที่จะตอมาวางซอนใหขนานกันตรงปลายที่จะตอ การวางซอนควรใหซอนกันประมาณ ๑ ใน ๒
         ของความยาวของไมหรือเสา
     ๒. เริ่มตนผูกการผูกกับตนไม แลวบิดพันปลายเชือกเขากับตัวเชือก (หรือเรียกวา แตงงานกัน)ใช
         ลิ่มยัดเสา
     ๓. พันเชือกรอบเสา ๒ ตนเรียงกัน ความหนาของเชือกมีพันขนาดกวาง
     ๔. สอดเชือกเขาตรงกลางระหวางไมทั้ง ๒ แลวเอาปลายเชือกพันคอไก(พันรอบเสนเชือกชวงที่อยู
         ระหวางไม ๒ - ๓ รอบ และดึงใหแนน )
     ๕. ผูกปลายเชือกดวยเงื่อนตะกรุดเบ็ดบนไมตนที่นํามาตอ หรือบนไมอีกตนหนึ่งที่ไมใชอันที่เริ่มตนผูก
       
วิธีการผูก 
๑.เริ่มตนดวยเงื่อนตะกรุดเบ็ด แลวแตงงานเชือก 

๒.พันรอบไมทตองการผูกแบบเรียงเสน 
            ี่

๓.พันหักคอไก 

๔.ลงทายดวยเงื่อนตะกรุดเบ็ด 

 
 
 
 
 
 
 
๑. การผูกประกบสอง 
        
        
 
 
 
 
 
ประโยชน  
๑.ใชตอเสาหรือไมสองทอนเขาดวยกัน 

๒.ตอไมใหยาว 
๒. ผูกประกบสาม 
            
 
 
 
 
 
ประโยชน  
๑.ใชตอเสาทําเสาธงลอย 
      

๒.เพื่อทําขาหยั่ง 

๓.ใชตอเสาหรือตอไมใหยาวขึ้น 

๔.ใชทาขาตั้งวางอางลางหนา ลางมือ เวลาอยูคายพักแรม 
      ํ

๕.ใชทาสามเสาในงานกอสราง 
      ํ
๑๒.ผูกกากบาท ( Square Lashing ) 
      ขึนตนดวยเงื่อนตะกรุกเบ็ดที่ไมตวใดตัวหนึง และหักคอลงดวยเงื่อนตะกรุดเบ็ดที่ไมอีกตัวหนึง การวาง
        ้                              ั        ่                                              ่
ใหวางพาด ตังฉากกัน 
            ้

 
 
 
 
 
 
 
 
ประโยชน 
๑.      ใชผูกนั่งรานในการกอสราง 

๒.      ใชผูกสรางคายพักแรมและอุปกรณคายพักแรม 

๓.      ใชทํารัวหรือคอกสัตว 
                ้

๔.      ใชผูกตอมอสะพาน 
วิธีผูก 
๑. นําไมมาวางพาดตั้งฉากกันเปนรูปกากบาท 

๒. นําเชือกมาผูกเงื่อนตะกรุดเบ็ดที่ไมอันตั้ง เพื่อปองกันไมใหไมอันนอนเลื่อนลง แลวนําปลายเชือกพันกันให
เรียบรอย 

๓. ใชเชือกพันรอบไมท้งสองอันดึงเชือกทับไมอันนอนอีกครั้งแลวสอดไปใตไมอันตั้งอีกครั้งหนึ่งพันเชือกเรียง
                      ั
กันไปอยาใหเชือกทับกัน พยายามดึงเชือกใหแนน ประมาณ ๓ ‐ ๔ รอบ 

๔. พันเชือกหักคอไก สัก ๒ ‐ ๓ รอบ ดึงเชือกใหแนนปองกันไมใหไมรูด 

๕. ผูกตะกรุดเบ็ดกับไมอันนอน ดึงใหแนน 
แผนการฝกกิจกรรมการผูกเงื่อน 
                        การอยูคายพักแรมลูกเสือ-เนตรนารี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 

                                 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลกลูกกา 

 ผูกํากับที่ดูแล 1. นางโสภา โพธิ์ศรี 

                  2. นายวุฒธิชย จันทรศิริ
                              ั

                  3. นางสาวอรพรรณ ควรขุนทด

ฐานที่                      ชื่อฐาน                             ผูกํากับประจําฐาน      หมายเหตุ

  1      เงื่อนพิรอด ( Reef Knot หรือ Square Knot)     นางวรลักษณ วุฒิปราณี
         เงื่อนปมตาไก ( A Fingere of Einght Knot )    นายณัฐพล บัวอุไร
                                                       นางสาวชุติรัตน การญจนธนชัย
                                                       นางสาวนันทิดา นบกลาง

  2      เงื่อนขัดสมาธิ ( Sheet Bend )                 นายวุฒิชย มังคลาด
                                                               ั
                                                       นางสาวเยาวลักษณ บุตรศรี
                                                       นางสาวสาวิตรี แยมพินิจ
                                                       นางนงลักษณ ทองสิน

  3      เงื่อนกระหวัดไม ( Half Hitch )               นางสาวนิตยา พูลภาค
                                                       นางสาวปริศนา ปองปน
                                                       นายสัญชัย สนเขียว
                                                       นางจิราภรณ หางแกว

  4      เงื่อนบวงสายธนู ( Bowline )                  นายศิริชัย อ่าบุญชู
                                                                    ํ
                                                       นางสาวอนงค อาจจงทอง
                                                       นางสาวกมลา กัลยาณพงศ

  5      เงื่อนตะกรุดเบ็ด ( Cleve Hitch )              นางกนกวรรณ ศศิธร
                                                       นางสาวธัญญพัสตร แยมพินิจ
                                                       นายธวัชย สัสดีทอง
                                                              ั
ฐานที่                      ชื่อฐาน                      ผูกํากับประจําฐาน        หมายเหตุ

  6       เงื่อนประมง ( Fisherman's Knot )      นางสาวกนกกาญจน โพธอวุฒนกูล
                                                                          ิ ุ
                                                นางสาวอุมารอนทร แสนเพ็งเคน
                                                นายปารเมศ วรรณทอง
                                                นางสาวญาติกา อิ่มหิรัญ

  7       เงื่อนผูกซุง ( A Timber Hitch )       นางสาวลําเพย อุเทยโย
                                                นางสาวเพียงฤทัย โรจนสโรจน
                                                นายวรวุฒิ สะเดา
                                                นางอัญฑิกา โพธิ์ชัยยอย

  8       เงื่อนผูกรั้ง ( Tarbuck Knot )        พ.อ.อ.เจริญ การสมวรรณ
                                                นายพิศนุพงษ จิรรัตนตรัย
                                                นางสาวนาตยา เกาบริบูรณ
                                                นางสาวศิริรัตน แวงดา

  9       การผูกทแยง ( Diagonal Lashing )       นายสุวทย ดาวังปา
                                                         ิ
                                                นายณัฐพล บุญภิละ
                                                นางสาวบุษยา ออนทรัพย
                                                วาที่รอยตรีหญิงประอร ผองใส

 10       การผูกประกบ                           นายสัมพันธ เผือกแตงพันษ
                                                นายสุนทร พริกจํารูญ
          (Sheer Lashing หรือ Round Lashing )
                                                นางสาวพชรภรณ เชียงสิน
                                                วาที่รอยตรีหญิงนพมาศ อังศุภนิช

 11       ผูกกากบาท ( Square Lashing )          นายจิราวัฒนา ศรีสวาง
                                                นายอภิชาต รักประสงค
                                                นางสาวกนิษฐา กสิผล
                                                นางสาวนาตอนงค บานกรด

         *รวมผูกํากับ จํานวน 45 คน 

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
Sopa
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
Ngamsiri Prasertkul
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
Wareerut Hunter
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
dnavaroj
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
kanjana2536
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
dnavaroj
 
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docxSlแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
krupornpana55
 

La actualidad más candente (20)

เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกลเล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docxSlแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 

Destacado

คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
Noppadon Khongchana
 
เงื่อนลูกเสือ
เงื่อนลูกเสือเงื่อนลูกเสือ
เงื่อนลูกเสือ
23250945
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
thnaporn999
 
แบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรมแบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรม
Phajon Kamta
 
บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์
บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์
บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์
watdang
 
วิชาเข็มทิศ ลูกเสือกองที่ 1 หมู่ที่
วิชาเข็มทิศ   ลูกเสือกองที่ 1  หมู่ที่วิชาเข็มทิศ   ลูกเสือกองที่ 1  หมู่ที่
วิชาเข็มทิศ ลูกเสือกองที่ 1 หมู่ที่
krunum2554
 
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
mungmat
 
โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52
Dmath Danai
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
Dhanee Chant
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอน
Nan NaJa
 
ลูกเสือ
ลูกเสือลูกเสือ
ลูกเสือ
CJnungruethai
 

Destacado (20)

สมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือสมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือ
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
 
กิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานกิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐาน
 
เงื่อนลูกเสือ
เงื่อนลูกเสือเงื่อนลูกเสือ
เงื่อนลูกเสือ
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
 
005 บทที่ 5 วิชาชาวค่าย
005 บทที่ 5 วิชาชาวค่าย005 บทที่ 5 วิชาชาวค่าย
005 บทที่ 5 วิชาชาวค่าย
 
แบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรมแบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรม
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์
บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์
บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์
 
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯงานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
 
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯงานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
 
วิชาเข็มทิศ ลูกเสือกองที่ 1 หมู่ที่
วิชาเข็มทิศ   ลูกเสือกองที่ 1  หมู่ที่วิชาเข็มทิศ   ลูกเสือกองที่ 1  หมู่ที่
วิชาเข็มทิศ ลูกเสือกองที่ 1 หมู่ที่
 
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
 
โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอน
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
ลูกเสือ
ลูกเสือลูกเสือ
ลูกเสือ
 
เงื่อนพื้นฐานและประโยชน์ใช้สอย
เงื่อนพื้นฐานและประโยชน์ใช้สอย เงื่อนพื้นฐานและประโยชน์ใช้สอย
เงื่อนพื้นฐานและประโยชน์ใช้สอย
 
คู่มือฝึกระเบียบแถว (การใช้ไม้ถือของผู้บังคับบัญชาลูกเสือ)
คู่มือฝึกระเบียบแถว (การใช้ไม้ถือของผู้บังคับบัญชาลูกเสือ)คู่มือฝึกระเบียบแถว (การใช้ไม้ถือของผู้บังคับบัญชาลูกเสือ)
คู่มือฝึกระเบียบแถว (การใช้ไม้ถือของผู้บังคับบัญชาลูกเสือ)
 

Similar a เงื่อน

ใบงานที่11
ใบงานที่11ใบงานที่11
ใบงานที่11
43631
 
สำนวนไทย สุภาษิต และคำพังเพย
สำนวนไทย  สุภาษิต  และคำพังเพยสำนวนไทย  สุภาษิต  และคำพังเพย
สำนวนไทย สุภาษิต และคำพังเพย
kaisuy2496
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
ningjaa
 
การร้อยอุบะ
การร้อยอุบะการร้อยอุบะ
การร้อยอุบะ
Patcharee Kongpun
 
แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]
Janesita Sinpiang
 
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหารบทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
watdang
 
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหารบทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
watdang
 

Similar a เงื่อน (10)

ใบงานที่11
ใบงานที่11ใบงานที่11
ใบงานที่11
 
สำนวนไทย สุภาษิต และคำพังเพย
สำนวนไทย  สุภาษิต  และคำพังเพยสำนวนไทย  สุภาษิต  และคำพังเพย
สำนวนไทย สุภาษิต และคำพังเพย
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
Airdetectiveshandbook
AirdetectiveshandbookAirdetectiveshandbook
Airdetectiveshandbook
 
การร้อยอุบะ
การร้อยอุบะการร้อยอุบะ
การร้อยอุบะ
 
แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]
 
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหารบทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
 
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหารบทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
 
การใช้กระบี่
การใช้กระบี่การใช้กระบี่
การใช้กระบี่
 

เงื่อน

  • 1.     กิจกรรมที่ 2 บุกเบิก การผูกเงื่อนและการผูกแนน ลูกเสือสามัญรุนใหญ             โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา         
  • 2. เงื่อนลูกเสือสามัญรุนใหญ   เงื่อนลูกเสือ - เนตรนารีสามัญรุนใหญ เปนวิชาหนึ่งของเครื่องหมายลูกเสือโลก ทุกคนตองปฏิบัตการผูกเงื่อน ิ ทั่วไป และเงื่อนผูกแนนไดเพือนําความรูทกษะการผูกเงือนไปใชทํากิจกรรมในการสรางคายพักแรม การปฏิบัติ ่ ั ่ กิจกรรมอื่น ๆ และการบําเพ็ญประโยชน  ชนิดของเชือก  ๑. เชือกกาบมะพราว ทําจากกาบมะพราว มีน้ําหนักเบา ลอยน้ําไดเหมาะหรับใชในน้ํา ไมอมน้า นิยมใชโยงเรือ ํ กําลังงานนอยกวาเชือกมนิลาที่มีขนาดเทากัน  ๒. เชือกปาน ทําจากตนเฮมม สีเหลือง เสนใยหยาบ แข็ง ผูกงายไมเหมาะสําหรับงานเกียวกับน้า นิยมชุบ ่ ํ น้ํามันจึงเรียกวา เชือกน้ํามัน เมื่อชุบน้าแลวกําลังงานจะนอยลงกวาเดิม  ํ ๓. เชือกมนิลา ทําจากตนมนิลามีมากในประเทศฟลิปปนส สีคอนขางขาว ออนตัวดี มีกําลังมากกวาเชือกปาน นิยมใชเปนเชือกรอก ทําฐานผจญภัย และในการบุกเบิก ถาใชในที่แหงจะทนดี แตถาเปยกน้าบอย ๆ จะขาด ํ งาย  ๔. เชือกปอ เปนเชือกทําจากปอกระเจาในประเทศไทย เหมาะสําหรับใชงานชั่วคราวบนบก เชน ขันชะเนาะ นั่งรานเปนตน ตองเก็บรักษาใหดี ระวังทิ้งไว มอด และปลวกกัดกินทําใหขาดงาย   ๕. เชือกดาย เปนเชือกที่ทาจากดายดิบ มีสขาวสะอาด ออนนิ่ม ขดมวนงาย ไมมีมอด หรือปลวกอาศัย ใชทํา ํ ี แห หรือใชงานในรมไมถกแดด  ู ๖. เชือกไนลอน เปนเชือกทีทําจากสารสังเคราะห มีความทนทานและเหนียวมาก มีความยืดหยุนมากกวาเชือก ่  ชนิดอื่น ๆ ผูกยากเพราะคลายตัวงาย ถาดึงมากเชือกยืดได เหมาะใชงานในน้ํา หามอยูใกลความรอน หรือใกล ไฟ   ๗. เชือกลวดหรือลวดสลิง ลักษณะคลายเชือก แตทําจากเหล็กกลาเคลือบสังกะสีควั่นเปนเกลียวมีน้ําหนังและ กําลังมาก มีราคาแพงและเกิดสนิมไดงาย เหมาะสําหรับยึดเกาะโครงสรางสูงเชน ใชยึดทําฐานผจญภัยถาวร  ยึดเสาโทรทัศน หรือหอคอย เปนตน มีหลายขนาดใหเลือก    ขนาดของเชือก  เชือกมีหลายขนาด ใหวัดตามความยาวของเสนรอบวง เชน ถาวัดความยาวของเสนรอบวงได ๑ นิว ก็เปนเชือก ้ ขนาด ๑ นิ้ว เปนตน   
  • 3. การระวังรักษาเชือก  ๑. เมื่อซื้อเชือกมาแลวใหพนหัวเชือกใหเรียบรอย กันเกลียวเชือกคลายตัว  ั ๒. ขณะใชเชือกพยายามอยาใหเชือกเปยกน้ํา (ยกเวนเชือกที่ผูกหรือใชในน้า)  ํ ๓. ใหใชผาเการองรับระหวางเชือกกับเชือก หรือระหวางเชือกกับวัตถุอื่น ที่จุด ผูกหรือจุดเสียดสี   ๔. หลังจากใชเชือกแลว ควรตรวจเชือกใหละเอียด ถามีจุดชํารุดตองซอม หากเชือกเปยกชืน ตองผึงลมใหแหง ้ ่ สนิทกอนเก็บ และถาเปน ไปได ควรแขวนไว  การเก็บเชือก    หลังจากใชเชือกแลวใหเก็บเชือกรอยไวที่เข็มขัด หอยมวนเชือกลงดานขางตัว เพื่อความ เรียบรอยสวยงาม  ๑. ทบเชือก ๓ ครั้ง เพื่อแบงเปน ๘ สวน ถือไวดวยมือซาย ๓ สวน อีก ๕ สวนที่เหลือปลอยลงเอาไวสําหรับพัน รอบ  ๒. เอาเชือกสวนยาวที่เหลือ ๕ สวน พันรอบเชือกทีถือไวดวยมือซาย โดยเริ่มพันถัดจากบวงหัวประมาณ ๑ นิ้ว ่ รูป ๒ พันใหแนนจนตลอดจะเหลือปลายเชือก ใหสอดปลายเชือกนันเขาไปในบวงทาย รูป   ้ ๓.ขั้นสุดทาย ดึงบวงหัว จนบวงทายรัดปลายเชือกที่สอดไวแนน    ชนิดและประโยชนของเงือน  ่ เงื่อน คือ การผูกเชือกกับเชือก หรือเชือกกับวัตถุอน หรือทําใหเกิดบวงหรือปมในเชือกเสนเดียวกัน เงื่อนแบง ื่ ออกเปนหลายประเภทตามลักษณะ เพื่อใชประโยชนอยางใดก็ได และสามารถแยกเงื่อนตามประเภทการใช งานไดดังนี ้ ๑. ประเภทตอเชือกเขาดวยกัน เพื่อใชประโยชนในการตอเชือกใหยาวขึ้น คือ เงื่อนพิรอด เงื่อนขัดสมาธิ เงื่อน ประมง เงื่อนยายแก เงื่อนนายพราน ฯ  ๒. ประเภททําบวง เพื่อใชประโยชนสําหรับคลองหรือสวมกับหลัก เสา สัตว หรือคน คือ เงื่อนเกาอี้ เงื่อนคนลาก เงื่อนสายนกหวีด ฯ  ๓. ประเภท ผูกกับวัตถุ เพื่อใชประโยชนสาหรับผูกใหแนน ใชร้งใหตงหรือดึงใหแนน คือเงื่อนผูกซุง เงื่อนตะกรุด ํ ั ึ เบ็ด เงื่อนกระหวัดไม เงื่อนผูกประกบ เงื่อนผูกทแยง เงือนกากบาท เงื่อนเงื่อนผูกรั้ง ฯ  ่ ๔. ประเภทใชถักและแทง ไดแก ถักสายนกหวีด ถักลูกโซหลายชั้น ถักเกลียวกลม แทงบวง ถักวอกเกิล 
  • 4. เงื่อนลูกเสือสามัญรุนใหญ  ๑.เงื่อนพิรอด ( Reef Knot หรือ Square Knot)  เปนเงื่อนที่มีประโยชนมากในชีวิตประจําวันของเรา โดยเฉพาะการตอปลายเชือก ๒ขางเขาดวยกันดวยเงื่อนนี้ จะแนนมากแตก็แกออกไดงาย เงื่อนเมื่อตอแลวปมจะไมนูนจนเกินไป ผูกไดหลายวิธี เชือกที่ผกตองเปนเสน  ู เชือกที่มีขนาดเทากันมีความเหนียวเทากัน                     ประโยชน  ๑. ใชเชือกตอ ๒ เสน มีขนาดเทากัน และเหนียวเทากัน   ่ ๒. ใชผูกปลายเชือกเสนเดียวกัน เพื่อผูกมัดหอสิ่งของและวัสดุตางๆ  ๓. ใชผูกเชือกผูกรองเทา (ผูกเงื่อนพิรอด กระตุกปลาย ๒ ขาง)  ๔. ใชในการปฐมพยาบาล เชน ผูกชายผาพันแผล ผูกชายผาทําสลิงคลองคอ ใชผูกปลายเชือกกากบาทญี่ปุน   ๕. ใชตอผาเพือใหความยาวตามตองการในกรณีที่ไมมเี ชือก เชน ตอผาปูทนอน ใชชวยคนในยามฉุกเฉินเมื่อ ่ ี่  เวลาเกิดเพลิงไหม และใชผาพันคอลูกเสือตอกัน เพื่อชวยคนที่ตดอยูบนที่สง และใชผูกโบ เปนตน  ิ  ู        
  • 5. ๒.เงื่อนขัดสมาธิ ( Sheet Bend )  เปนเงื่อนที่ใชประโยชนตอเชือกที่มีขนาดตางกันโดยใชเสนใหญเปนบวง สวนเสนเล็กเปนเสนพันขัด                       ประโยชน   ๑. ใชตอเชือกขนาดตางกัน หรือขนาดเดียวกันก็ได  ๒. ใชตอเชือกแข็งกับเชือกออน (เสนออนเปนเสนพันขัด)   ๓. ใชตอเชือกที่คอนขางแข็ง เชน เถาวัลย   ๔. ใชผกเชือกกับสิงทีมีลกษณะเปนขอหรือหูอยูแลว เชน ธงชาติ  ู ่ ่ ั ๕. ใชตอเสนดาย เสนไหมทอผา              
  • 6. ๓.เงื่อนกระหวัดไม ( Half Hitch )                  ประโยชน  ๑. ใชสาหรับผูกเรือ ผูกแพไวกับหลัก แตไมสามารถหมุนรอบไดเหมือน เงื่อนบวงสายธนู เงื่อนกระหวัดไมนี้ถา ํ ยิ่งดึงยิ่งแนนขึน  ้ ๒. ใชสําหรับผูกรอกตาง ๆ  ๓. ใชเปนเงื่อนแรกในเงื่อนผูกซุง  ๔. ใชเปนเงื่อนบุกเบิก                       
  • 7.   ๔.เงื่อนบวงสายธนู ( Bowline )  เปนเงื่อนที่ไมรูด ไมเลื่อนเขาไปรัดกับสิ่งทีผูก ตัวบวงจะคงที  ่ ่                     ประโยชน  ๑. ใชผกสัตวไวกับหลักหรือตนไม เปนเงื่อนที่ไมรูดและไมเลื่อนเขารัดกับหลัก เหมาะสําหรับการผูกลาม เพราะ ู สามารถหมุนรอบได  ๒. ใชเปนบวงคลองชวยคนตกน้ํา เพราะเงื่อนชนิดนี้จะไมรูดเขาหาตัวคนที่เราชวย  ๓. ใชคลองคนใหหยอนตัวจากที่สงลงสูทต่ําแทนเงื่อนเกาอี้ได  ู ี่ ๔. ใชคลองคันธนูเพื่อโกงคันธนู  ๕.ใชผูกเรือกับหลัก เมื่อเวลาน้าขึ้นหรือน้ําลงบวงจะเลื่อนขึ้นลงไดเอง  ํ        
  • 8.   ๕.เงื่อนตะกรุดเบ็ด ( Cleve Hitch )  เปนเงื่อนผูกแนนแตแกงาย ใชในการผูกของ ผูกเสารั้ว ผูกหลัก ผูกตอมอ ในการสรางสะพาน ทําหอคอย  ผูกเบ็ด         ประโยชน  ๑. ใชแขวนรอก  ๒. ผูกเชือกกับสมอเรือ  ๓. ใชผกขอเบ็ดตกปลา  ู ๔. ใชผกเชือกกับเสาหรือหลักเพื่อลามสัตวเลี้ยงหรือแพ  ู ๕. ใชผกบันใดเชือก บันใดลิง  ู ๖. ใชในการผูกแนน เชน ผูกประกบ ผูกกากบาท          
  • 9.   ๖.เงื่อนประมง ( Fisherman's Knot )  เปนเงื่อนที่ใชสําหรับตอเชือกที่มขนาดเดียวกัน ซึงเปนที่รูจักกันอีกชือหนึงวา เงื่อนหัวลานชนกัน   ี ่ ่ ่                 ประโยชน  ๑. ใชตอเชือกที่มีขนาดเล็ก   ๒. ใชตอเชือกสองเสนที่มีขนาดเดียวกัน  ๓. ผูกคอขวดแยมสําหรับเปนทีถือหิว (คอขวดที่มีขอบขวด)  ่ ้ ๔. ใชตอเชือกที่มีขนาดใหญที่ลากจูง  ๕. ใชตอเชือกดาย ดายทอ สายเบ็ด ใชตอเชือกกันเปนเกลียว   ๖. ใชตอสายไฟฟา            
  • 10.   ๗.เงื่อนผูกซุง ( A Timber Hitch )  เปนเงื่อนที่ใชสําหรับผูกสิงของตาง ๆ ใหแนน เปนเงื่อนที่มีลักษณะพิเศษคือผูกงาย แตเปนเงื่อนทียิ่งดึงยิ่งแนน ่ ่ ยิ่งดึงแรงมากเทาไรก็ยงแนนมากขึ้นเทานัน  ิ่ ้                   ประโยชน   ๑. ใชผกกับวัตถุท่เปนทอนยาว ๆ เชน ทอนซุง เสา เพือใชลาก  ู ี ่ ๒. ใชผูกกับหินแทนสมอเรือ หรือใชผูกหินแทนสมอบกก็ได  ๓. ใชเปนเชือกเริ่มตนในการผูกทแยง  ๔. ใชผูกกับหินเพื่อใชแทนสมอเรือ  ๕. ใชผูกสัตว เรือ แพไวกับทาหรือเสาหรือรั้ว ตนไม  ๖. เปนเงื่อนทีผูกงาย แกยาก  ่         
  • 11.   ๘.เงื่อนผูกรั้ง ( Tarbuck Knot )  ใชผกแทนสายเต็นทยึดเสาธงเพื่อกันลม ใชรั้งตนไม เปนเงื่อนเลื่อนใหตึงและหยอนไดตามตองการ  ู                   ประโยชน  ๑. ใชยึดเสาเต็นท เสาธง สมอบก  ๒. ใชผูกกับหวงตาง ๆ   ๓. เปนเงื่อนเลื่อนใหตึงหรือหยอนตามความตองการ                 
  • 12.   ๙.เงื่อนปมตาไก ( A Fingere of Einght Knot )  ใชขมวดหัวเชือกที่ไมใหญนก ถาตองการใหปมใหญก็ขมวดหลายครั้งมีชื่อเรียกวาปมไก  ั                     ประโยชน  ๑. ใชผกปลายเชือกใหเปนปมเพื่อที่จะไดถือ หรือหิ้วไดถนัด  ู ๒. ใชผูกแทนกันหัวเชือกชั่วคราว  ๓. ใชผูกรอยหูเต็นท  ๔. ทําปมบันไดเชือก                     
  • 13.   ๑๐.การผูกทแยง ( Diagonal Lashing )  การผูกทแยงเปนการผูกทอนไมที่ไขวกนอยูใหติดแนนเขาดวยกัน เชน ใชผูกนั่งรานในการกอสราง ใชผูกตอมอ ั สะพาน การสรางทีพักอาศัยของชาวบานดวยไมไผ  ่ *สวนมากใชผกไมที่มีลกษณะไขวกันที่ไมเปนมุมฉากกัน ( กากบาท )  ู ั วิธีการผูก  ๑.ขึ้นตนดวยเงื่อนผูกซุง โดยควบไมทง ๒ ทอน  ั้ ๒.พันขวางไมทั้ง ๒ ดาน  ๓.พันหักคอไก  ๔.ลงทายดวยเงื่อนตะกรุดเบ็ด              ประโยชน   ๑. ใชในงานกอสราง  ๒. ใชผกเสาหรือไมค้ํายัน ปองกันลม  ู ๓. ใชทาตอมอสะพาน ํ        
  • 14. ๑๑.การผูกประกบ ( Sheer Lashing หรือ Round Lashing ) การผูกประกบเปนการผูกไมดวยวิธีจับไม ๒ ทอนมาเขาคูกัน แลวผูกเขาดวยกันใหแนน ซึ่งอาจพูด  ไดหลายวิธี วิธีที่นิยมใชกันมาก ไดแก การผูกประกบ ๒ ทอน และการผูกประกบ ๓ ทอน ประโยชน ๑. ใชตอไมหลายๆทอนใหยาวออกไป ๒. ใชผูกตอไมในการกอสราง ๓. ใชผูกตอพลองทําเสาธงลอย วิธีผูกประกบ(โดยละเอียด) ๑. เอาไมที่จะตอมาวางซอนใหขนานกันตรงปลายที่จะตอ การวางซอนควรใหซอนกันประมาณ ๑ ใน ๒ ของความยาวของไมหรือเสา ๒. เริ่มตนผูกการผูกกับตนไม แลวบิดพันปลายเชือกเขากับตัวเชือก (หรือเรียกวา แตงงานกัน)ใช ลิ่มยัดเสา ๓. พันเชือกรอบเสา ๒ ตนเรียงกัน ความหนาของเชือกมีพันขนาดกวาง ๔. สอดเชือกเขาตรงกลางระหวางไมทั้ง ๒ แลวเอาปลายเชือกพันคอไก(พันรอบเสนเชือกชวงที่อยู ระหวางไม ๒ - ๓ รอบ และดึงใหแนน ) ๕. ผูกปลายเชือกดวยเงื่อนตะกรุดเบ็ดบนไมตนที่นํามาตอ หรือบนไมอีกตนหนึ่งที่ไมใชอันที่เริ่มตนผูก   วิธีการผูก  ๑.เริ่มตนดวยเงื่อนตะกรุดเบ็ด แลวแตงงานเชือก  ๒.พันรอบไมทตองการผูกแบบเรียงเสน  ี่ ๓.พันหักคอไก  ๔.ลงทายดวยเงื่อนตะกรุดเบ็ด               
  • 15. ๑. การผูกประกบสอง                ประโยชน   ๑.ใชตอเสาหรือไมสองทอนเขาดวยกัน  ๒.ตอไมใหยาว  ๒. ผูกประกบสาม              ประโยชน   ๑.ใชตอเสาทําเสาธงลอย   ๒.เพื่อทําขาหยั่ง  ๓.ใชตอเสาหรือตอไมใหยาวขึ้น  ๔.ใชทาขาตั้งวางอางลางหนา ลางมือ เวลาอยูคายพักแรม  ํ ๕.ใชทาสามเสาในงานกอสราง  ํ
  • 16. ๑๒.ผูกกากบาท ( Square Lashing )  ขึนตนดวยเงื่อนตะกรุกเบ็ดที่ไมตวใดตัวหนึง และหักคอลงดวยเงื่อนตะกรุดเบ็ดที่ไมอีกตัวหนึง การวาง ้ ั ่ ่ ใหวางพาด ตังฉากกัน  ้                 ประโยชน  ๑.      ใชผูกนั่งรานในการกอสราง  ๒.      ใชผูกสรางคายพักแรมและอุปกรณคายพักแรม  ๓.      ใชทํารัวหรือคอกสัตว  ้ ๔.      ใชผูกตอมอสะพาน  วิธีผูก  ๑. นําไมมาวางพาดตั้งฉากกันเปนรูปกากบาท  ๒. นําเชือกมาผูกเงื่อนตะกรุดเบ็ดที่ไมอันตั้ง เพื่อปองกันไมใหไมอันนอนเลื่อนลง แลวนําปลายเชือกพันกันให เรียบรอย  ๓. ใชเชือกพันรอบไมท้งสองอันดึงเชือกทับไมอันนอนอีกครั้งแลวสอดไปใตไมอันตั้งอีกครั้งหนึ่งพันเชือกเรียง ั กันไปอยาใหเชือกทับกัน พยายามดึงเชือกใหแนน ประมาณ ๓ ‐ ๔ รอบ  ๔. พันเชือกหักคอไก สัก ๒ ‐ ๓ รอบ ดึงเชือกใหแนนปองกันไมใหไมรูด  ๕. ผูกตะกรุดเบ็ดกับไมอันนอน ดึงใหแนน 
  • 17. แผนการฝกกิจกรรมการผูกเงื่อน  การอยูคายพักแรมลูกเสือ-เนตรนารี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลกลูกกา  ผูกํากับที่ดูแล 1. นางโสภา โพธิ์ศรี  2. นายวุฒธิชย จันทรศิริ ั 3. นางสาวอรพรรณ ควรขุนทด ฐานที่ ชื่อฐาน ผูกํากับประจําฐาน หมายเหตุ 1 เงื่อนพิรอด ( Reef Knot หรือ Square Knot) นางวรลักษณ วุฒิปราณี เงื่อนปมตาไก ( A Fingere of Einght Knot ) นายณัฐพล บัวอุไร นางสาวชุติรัตน การญจนธนชัย นางสาวนันทิดา นบกลาง 2 เงื่อนขัดสมาธิ ( Sheet Bend ) นายวุฒิชย มังคลาด ั นางสาวเยาวลักษณ บุตรศรี นางสาวสาวิตรี แยมพินิจ นางนงลักษณ ทองสิน 3 เงื่อนกระหวัดไม ( Half Hitch ) นางสาวนิตยา พูลภาค นางสาวปริศนา ปองปน นายสัญชัย สนเขียว นางจิราภรณ หางแกว 4 เงื่อนบวงสายธนู ( Bowline ) นายศิริชัย อ่าบุญชู ํ นางสาวอนงค อาจจงทอง นางสาวกมลา กัลยาณพงศ 5 เงื่อนตะกรุดเบ็ด ( Cleve Hitch ) นางกนกวรรณ ศศิธร นางสาวธัญญพัสตร แยมพินิจ นายธวัชย สัสดีทอง ั
  • 18. ฐานที่ ชื่อฐาน ผูกํากับประจําฐาน หมายเหตุ 6 เงื่อนประมง ( Fisherman's Knot ) นางสาวกนกกาญจน โพธอวุฒนกูล ิ ุ นางสาวอุมารอนทร แสนเพ็งเคน นายปารเมศ วรรณทอง นางสาวญาติกา อิ่มหิรัญ 7 เงื่อนผูกซุง ( A Timber Hitch ) นางสาวลําเพย อุเทยโย นางสาวเพียงฤทัย โรจนสโรจน นายวรวุฒิ สะเดา นางอัญฑิกา โพธิ์ชัยยอย 8 เงื่อนผูกรั้ง ( Tarbuck Knot ) พ.อ.อ.เจริญ การสมวรรณ นายพิศนุพงษ จิรรัตนตรัย นางสาวนาตยา เกาบริบูรณ นางสาวศิริรัตน แวงดา 9 การผูกทแยง ( Diagonal Lashing ) นายสุวทย ดาวังปา ิ นายณัฐพล บุญภิละ นางสาวบุษยา ออนทรัพย วาที่รอยตรีหญิงประอร ผองใส 10 การผูกประกบ นายสัมพันธ เผือกแตงพันษ นายสุนทร พริกจํารูญ (Sheer Lashing หรือ Round Lashing ) นางสาวพชรภรณ เชียงสิน วาที่รอยตรีหญิงนพมาศ อังศุภนิช 11 ผูกกากบาท ( Square Lashing ) นายจิราวัฒนา ศรีสวาง นายอภิชาต รักประสงค นางสาวกนิษฐา กสิผล นางสาวนาตอนงค บานกรด *รวมผูกํากับ จํานวน 45 คน