SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 3
Descargar para leer sin conexión
R&D Newsletter
17
ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2556
วารสารเพื่อการวิจัยและพัฒนา องค์การเภสัชกรรม
เหตุเกิดจากที่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEANEconomic
Community) หรือ AEC ซึ่งก�ำลังจะรวมตัวจริงจังในปี พ.ศ.
2558 หรืออีกประมาณ 2 ปีข้างหน้า ผู้น�ำทางอุตสาหกรรม รวมถึง
แวดวงต่าง ๆ ก็มีความเคลื่อนไหวปรับตัวเพื่อตั้งรับต่าง ๆ นานา
แล้ววงการทางสุขภาพ รวมทั้งทางเภสัชศาสตร์ พร้อมแล้วหรือ
ยังกับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ มาเตรียมตัวต้อนรับ AEC ด้วย
เนื้อหาภาษาอังกฤษดี ๆ ที่อยากจะแนะน�ำให้เป็นแนวทางส�ำหรับ
บุคลากรทางการแพทย์ โดยเฉพาะเภสัชกร ในที่นี้จะแนะน�ำ 2
ทักษะส�ำคัญที่เภสัชกรต้องเข้าไปมีบทบาทกับผู้ที่มารับบริการ
ทางสุขภาพ นั่นก็คือ การสอบถามอาการและการจ่ายยา
การสอบถามอาการ
หากจะต้องสื่อสารกับผู้ป่วยในร้านยา เพื่อหาข้อมูล
ความเจ็บป่วย ประวัติการแพ้ และข้อมูลการใช้ยาทั่วไปในผู้ป่วย
มีแนวทางการซักประวัติได้ดังนี้
เริ่มต้นบทสนทนาด้วยประโยคค�ำถามต่อไปนี้ ซึ่งเป็น
การถามในท�ำนองว่า มีอะไรให้ช่วยไหม มีปัญหาอะไรครับ/คะ
“May I help you?”
“How can I help you?”
“What seems to be the problem?”
“What can I do for you today?”
หากจะถามอาการเบื้องต้น อาจถามค�ำถามกว้าง ๆ
ให้ผู้ป่วยได้อธิบาย เช่น “Tell me about your problem” หรือ
ต้อนรับ AEC...
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์
ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
กลุ่มวิจัยเภสัชเคมีวิเคราะห์
“Can you give more details on the symptom?”
เมื่ออยากรู้ว่าผู้ป่วยเริ่มมีอาการมานานเท่าไร สามารถ
กล่าวได้ว่า “How long have you been ชื่ออาการ?” สามารถ
เติมอาการของโรคตรง “ชื่ออาการ” เช่น ill, sick, having sore
throat เป็นต้น หรือจะถามว่ามีอาการตั้งแต่เมื่อไร อาจพูดได้ว่า
“When did you get sick?” เป็นต้น
ส่วนประโยคที่ว่า “Have you ever had ชื่ออาการ?”
เป็นการตั้งค�ำถามในท�ำนองว่า เคยมีอาการ “ชื่ออาการ”
มาก่อนหรือไม่ ตัวอย่างเช่น “Have you ever had this symptom
before?” เป็นต้น
หากจะสอบถามผู้ป่วยถึงยาที่ใช้อยู่ในขณะนี้ สามารถ
ถามได้ว่า
“Have you taken any medicines recently?” (ช่วงนี้
คุณได้รับยาอะไรอยู่หรือไม่)
“Do you take any medicine regularly?” (คุณได้กิน
ยาอะไรเป็นประจ�ำหรือไม่)
หรือหากต้องการถามในท�ำนองว่าได้ใช้ยาเพื่อบรรเทา
อาการมาก่อนหรือไม่ ตัวอย่างประโยค เช่น “Are you taking
any medications?” (คุณก�ำลังรับประทานยาอะไรอยู่หรือไม่)
ที่ส�ำคัญและไม่ควรลืม ก่อนจะจ่ายยาให้กับผู้ป่วย
ต้องสอบถามถึงประวัติการแพ้ยา ว่าคุณมีอาการแพ้ยาอะไรหรือไม่
โดยพูดว่า “Are you allergic to any medication?” แล้วมีอาการ
แพ้อย่างไร สามารถพูดได้ว่า “What reaction do you have?”
R&D Newsletter
18
วารสารเพื่อการวิจัยและพัฒนา องค์การเภสัชกรรม
ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2556
ค�ำถามอื่นๆ ที่ควรรู้ ได้แก่
“Hasanyoneinyourfamily hadthesamesymptom?”
(มีใครในครอบครัวของคุณที่มีอาการเดียวกันนี้หรือไม่)
“Do you smoke/drink?” (คุณสูบบุหรี่/ดื่มเหล้าหรือไม่)
“Are you pregnant?” (คุณก�ำลังตั้งครรภ์หรือไม่)
“Have you had any operations?” (คุณเคยได้รับการ
ผ่าตัดมาก่อนหรือไม่)
จบบทสนทนาด้วยประโยคง่าย ๆ อย่างการขอบคุณ
เช่น
“Thank you, please come again next time.”
(ขอบคุณครับ/ค่ะ โอกาสหน้าเชิญใหม่นะครับ/คะ),
“Thank you. Do you have any questions?”
(ขอบคุณครับ/ค่ะ มีค�ำถามอะไรหรือไม่ครับ/คะ)
การจ่ายยา
เมื่อผู้ป่วยมารับยากับเภสัชกรในโรงพยาบาลหรือ
ร้านยาสามารถสื่อสารกับผู้ป่วยในรูปแบบประโยคที่ว่า“Iwillgive
you ชนิดของยา called ชื่อยา”หรือ “This is ชนิดของยา. It has
ชื่อยา” แล้วตามด้วยวิธีการใช้เป็นภาษาอังกฤษ เช่น “Take
it จ�ำนวนของยา ความถี่ต่อวัน เวลา for จ�ำนวนวัน day (s)”
ค�ำที่แสดงความถี่ที่พบบ่อย เช่น once daily/a day (วันละครั้ง),
twice daily/a day (วันละ 2 ครั้ง), three times daily/a day
(วันละ 3 ครั้ง), every 4-6 hours (ทุก 4 ถึง 6 ชั่วโมง) เป็นต้น
ส่วนเวลาใช้ยาที่พบบ่อย ได้แก่ before meals (ก่อนอาหาร),
with meals (พร้อมอาหาร), after meals (หลังอาหาร),
at bedtime (ก่อนนอน) เป็นต้น ทั้งนี้ประโยคสนทนา
อาจเปลี่ยนแปลงไปตามรูปแบบของยาด้วย
ตัวอย่าง
“I will give you a medicine called paracetamol.
Take it (this medication) 1 to 2 tablets every 4 to 6 hours
as needed for pain.” (ผมจะจ่ายยา paracetamol ให้นะครับ
รับประทานยานี้ 1-2 เม็ด ทุก 4-6 ชั่วโมง เมื่อมีอาการปวด)
“Take it 2 tablespoons twice a day.” (รับประทาน
ยา 2 ช้อนโต๊ะ วันละ 2 ครั้ง)
“Put 2-3 drops in the right eye 3 times daily.”
(หยอด 2-3 หยดที่ตาข้างขวา วันละ 3 ครั้ง)
“Apply externally 2 times a day.” (ทาภายนอก
วันละ 2 ครั้ง)
“Take two puffs 3 times a day.” (พ่น 2 พัฟ วันละ
3 ครั้ง)
“Inject subcutaneously two times a day, 10 units
before breakfast and 7 units before dinner.” (ฉีดใต้ผิวหนัง
วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า 10 ยูนิต ก่อนอาหารเย็น 7 ยูนิต)
“Put it under your tongue” (อมไว้ใต้ลิ้น)
นอกจากนี้ เภสัชกรอาจจ�ำเป็นต้องให้ค�ำแนะน�ำในการ
เก็บรักษายา
ตัวอย่างค�ำแนะน�ำที่พบบ่อย ได้แก่
“Keepoutofthereachofchildren.”(เก็บให้พ้นมือเด็ก)
“Store it at room temperature and away from heat,
sunlight and moisture.” (ควรเก็บยาในอุณหภูมิห้อง และ
หลีกเลี่ยงความร้อน แสงแดด และความชื้น)
หากเป็นยาที่ต้องเก็บในตู้เย็น แต่ห้ามแช่แข็ง เช่น
ยาเหน็บทวารหนัก สามารถแนะน�ำได้ว่า “Keep it in the
refrigerator. Do not use the freezer.” (เก็บยาไว้ในตู้เย็น ห้าม
แช่แข็ง)
ข้อควรระวังส�ำคัญที่จะเพิ่มความปลอดภัยและ
ประสิทธิภาพในการใช้ยาแก่ผู้ป่วย เช่น
หากจ่ายยาที่อาจท�ำให้ง่วงนอน ต้องแนะน�ำว่า “This
medication might make you feel asleep. Do not drive or
operate heavy machinery while taking this medication.”
(ยานี้อาจท�ำให้ง่วงนอน ห้ามขับรถหรือคุมเครื่องจักรขณะ
รับประทานยานี้)
หากเป็นยากลุ่มปฏิชีวนะที่ต้องรับประทานยาทุกวัน
จนหมด อาจพูดได้ว่า “Keep taking antibiotics until finish”
(โปรดรับประทานยาปฏิชีวนะจนยาหมด)
หากเป็นยาที่สามารถเกิดอันตรกิริยากับยาลดกรด
เช่น ยาเม็ดเคลือบเอนเทอริก (enteric-coated tablet) สามารถ
แนะน�ำได้ว่า “Do not take antacids while taking this
medication.”
R&D Newsletter
19
ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2556
วารสารเพื่อการวิจัยและพัฒนา องค์การเภสัชกรรม
ตัวอย่างบทสนทนา
มาลองดูตัวอย่าง โดยให้ A คือเภสัชกร และ B คือผู้รับบริการ
A: Good morning. May I help you? A: สวัสดียามเช้าค่ะ มีอะไรให้ช่วยไหมคะ
B: Yes, I have a terrible headache. B: ดิฉันมีอาการปวดค่ะ
A: Can you please describe the pain to me? A: ช่วยอธิบายอาการปวดให้ฟังหน่อยค่ะ
B: It is a pounding pain, and feels like it will split my head. B: มันปวดเค้นมาก รู้สึกเหมือนหัวจะแยกออกจากกันเลยค่ะ
A: How long have you had the pain? A: ปวดมานานเท่าไรแล้วคะ
B: It started about 30 minutes ago. B: เมื่อประมาณ 30 นาทีที่แล้วค่ะ
A: Do you have these headaches often? A: ปวดอย่างนี้บ่อยไหมคะ
B: I don’t get headaches very often. B: ไม่ค่อยปวดบ่อยค่ะ
A: It sounds like it is probably a stress headache. Here,
take this medicine. It’s an analgesic called paracetamol. It
should help relieve the pain.
A: ลักษณะนี้เหมือนอาการปวดหัวจากความเครียด จึงจ่ายยานี้
นะคะ เป็นยาแก้ปวด ชื่อว่า paracetamol จะช่วยบรรเทาอาการ
ปวดได้ค่ะ
B: How often should I take this medication? B: ดิฉันต้องกินยานี้บ่อยแค่ไหนคะ
A: You should take one tablet every 4 hours as needed if
the pain continues. Do you have any more questions?
A: รับประทานยานี้ 1 เม็ด ทุก 4 ชั่วโมง จนกว่าจะหายปวดค่ะ
มีคำ�ถามอะไรอีกไหมคะ
B: No, thank you! B: ไม่ค่ะ ขอบคุณค่ะ
เอกสารอ้างอิง
1.	Thamolwan Lamai. 2553. Pharmacy English. โรงพิมพ์นพรัตน์.
2.	http://www.skcc.ac.th/elearning/ge0103/?p=111

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
techno UCH
 

La actualidad más candente (20)

ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation present
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
22
2222
22
 
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษา
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยาการให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
 

Destacado

บทบาทสหวิชาชีพ
บทบาทสหวิชาชีพบทบาทสหวิชาชีพ
บทบาทสหวิชาชีพ
trafcord
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Aiman Sadeeyamu
 
Countries and nationalities
Countries and nationalitiesCountries and nationalities
Countries and nationalities
Paulo Santos
 
Countries and nationalities
Countries and nationalitiesCountries and nationalities
Countries and nationalities
vallecita6
 
Countries, nationalities and capitals
Countries, nationalities and capitalsCountries, nationalities and capitals
Countries, nationalities and capitals
Silvia Fernandes
 
Countries and nationalities
Countries and nationalitiesCountries and nationalities
Countries and nationalities
Imma Cisanro
 
Communication skill for the pharmacist
Communication skill for the pharmacistCommunication skill for the pharmacist
Communication skill for the pharmacist
Merin Babu
 
Countries and nationalities
Countries and nationalitiesCountries and nationalities
Countries and nationalities
ravial17
 
patient counseling
patient counselingpatient counseling
patient counseling
Abhinab1234
 
Countries And Nationalities Vocabulary List
Countries And Nationalities   Vocabulary ListCountries And Nationalities   Vocabulary List
Countries And Nationalities Vocabulary List
Gisele Alves
 

Destacado (20)

คู่มือการสื่อสารกับคนไข้ต่างชาติ
คู่มือการสื่อสารกับคนไข้ต่างชาติคู่มือการสื่อสารกับคนไข้ต่างชาติ
คู่มือการสื่อสารกับคนไข้ต่างชาติ
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
 
Communication book for pharmacist
Communication book for pharmacist Communication book for pharmacist
Communication book for pharmacist
 
English conversation for pharmacist
English conversation for pharmacistEnglish conversation for pharmacist
English conversation for pharmacist
 
คู่มือ การสื่อสารกับผู้ป่วยชาวต่างชาติ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
คู่มือ การสื่อสารกับผู้ป่วยชาวต่างชาติ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานีคู่มือ การสื่อสารกับผู้ป่วยชาวต่างชาติ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
คู่มือ การสื่อสารกับผู้ป่วยชาวต่างชาติ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
 
บทบาทสหวิชาชีพ
บทบาทสหวิชาชีพบทบาทสหวิชาชีพ
บทบาทสหวิชาชีพ
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
 
Countries and nationalities
Countries and nationalitiesCountries and nationalities
Countries and nationalities
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
Countries and nationalities
Countries and nationalitiesCountries and nationalities
Countries and nationalities
 
Countries, nationalities and capitals
Countries, nationalities and capitalsCountries, nationalities and capitals
Countries, nationalities and capitals
 
Countries and nationalities
Countries and nationalitiesCountries and nationalities
Countries and nationalities
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
 
Countries and nationalities
Countries and nationalitiesCountries and nationalities
Countries and nationalities
 
Communication skill for the pharmacist
Communication skill for the pharmacistCommunication skill for the pharmacist
Communication skill for the pharmacist
 
Countries and nationalities
Countries and nationalitiesCountries and nationalities
Countries and nationalities
 
patient counseling
patient counselingpatient counseling
patient counseling
 
Countries And Nationalities Vocabulary List
Countries And Nationalities   Vocabulary ListCountries And Nationalities   Vocabulary List
Countries And Nationalities Vocabulary List
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
Design in Tech Report 2017
Design in Tech Report 2017Design in Tech Report 2017
Design in Tech Report 2017
 

Similar a ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์

Advertising literacy
Advertising literacyAdvertising literacy
Advertising literacy
atit604
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
Apichat kon
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
taem
 

Similar a ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ (20)

การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptxการใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
 
Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554
 
Cpg osteoarthritis
Cpg osteoarthritisCpg osteoarthritis
Cpg osteoarthritis
 
Home visit palliative care
 Home visit   palliative care Home visit   palliative care
Home visit palliative care
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
 
คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1
 
Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
 
Advertising literacy
Advertising literacyAdvertising literacy
Advertising literacy
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
 
Supplementary food
Supplementary foodSupplementary food
Supplementary food
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 1
 

Más de Utai Sukviwatsirikul

Más de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์

  • 1. R&D Newsletter 17 ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2556 วารสารเพื่อการวิจัยและพัฒนา องค์การเภสัชกรรม เหตุเกิดจากที่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEANEconomic Community) หรือ AEC ซึ่งก�ำลังจะรวมตัวจริงจังในปี พ.ศ. 2558 หรืออีกประมาณ 2 ปีข้างหน้า ผู้น�ำทางอุตสาหกรรม รวมถึง แวดวงต่าง ๆ ก็มีความเคลื่อนไหวปรับตัวเพื่อตั้งรับต่าง ๆ นานา แล้ววงการทางสุขภาพ รวมทั้งทางเภสัชศาสตร์ พร้อมแล้วหรือ ยังกับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ มาเตรียมตัวต้อนรับ AEC ด้วย เนื้อหาภาษาอังกฤษดี ๆ ที่อยากจะแนะน�ำให้เป็นแนวทางส�ำหรับ บุคลากรทางการแพทย์ โดยเฉพาะเภสัชกร ในที่นี้จะแนะน�ำ 2 ทักษะส�ำคัญที่เภสัชกรต้องเข้าไปมีบทบาทกับผู้ที่มารับบริการ ทางสุขภาพ นั่นก็คือ การสอบถามอาการและการจ่ายยา การสอบถามอาการ หากจะต้องสื่อสารกับผู้ป่วยในร้านยา เพื่อหาข้อมูล ความเจ็บป่วย ประวัติการแพ้ และข้อมูลการใช้ยาทั่วไปในผู้ป่วย มีแนวทางการซักประวัติได้ดังนี้ เริ่มต้นบทสนทนาด้วยประโยคค�ำถามต่อไปนี้ ซึ่งเป็น การถามในท�ำนองว่า มีอะไรให้ช่วยไหม มีปัญหาอะไรครับ/คะ “May I help you?” “How can I help you?” “What seems to be the problem?” “What can I do for you today?” หากจะถามอาการเบื้องต้น อาจถามค�ำถามกว้าง ๆ ให้ผู้ป่วยได้อธิบาย เช่น “Tell me about your problem” หรือ ต้อนรับ AEC... ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์ ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ กลุ่มวิจัยเภสัชเคมีวิเคราะห์ “Can you give more details on the symptom?” เมื่ออยากรู้ว่าผู้ป่วยเริ่มมีอาการมานานเท่าไร สามารถ กล่าวได้ว่า “How long have you been ชื่ออาการ?” สามารถ เติมอาการของโรคตรง “ชื่ออาการ” เช่น ill, sick, having sore throat เป็นต้น หรือจะถามว่ามีอาการตั้งแต่เมื่อไร อาจพูดได้ว่า “When did you get sick?” เป็นต้น ส่วนประโยคที่ว่า “Have you ever had ชื่ออาการ?” เป็นการตั้งค�ำถามในท�ำนองว่า เคยมีอาการ “ชื่ออาการ” มาก่อนหรือไม่ ตัวอย่างเช่น “Have you ever had this symptom before?” เป็นต้น หากจะสอบถามผู้ป่วยถึงยาที่ใช้อยู่ในขณะนี้ สามารถ ถามได้ว่า “Have you taken any medicines recently?” (ช่วงนี้ คุณได้รับยาอะไรอยู่หรือไม่) “Do you take any medicine regularly?” (คุณได้กิน ยาอะไรเป็นประจ�ำหรือไม่) หรือหากต้องการถามในท�ำนองว่าได้ใช้ยาเพื่อบรรเทา อาการมาก่อนหรือไม่ ตัวอย่างประโยค เช่น “Are you taking any medications?” (คุณก�ำลังรับประทานยาอะไรอยู่หรือไม่) ที่ส�ำคัญและไม่ควรลืม ก่อนจะจ่ายยาให้กับผู้ป่วย ต้องสอบถามถึงประวัติการแพ้ยา ว่าคุณมีอาการแพ้ยาอะไรหรือไม่ โดยพูดว่า “Are you allergic to any medication?” แล้วมีอาการ แพ้อย่างไร สามารถพูดได้ว่า “What reaction do you have?”
  • 2. R&D Newsletter 18 วารสารเพื่อการวิจัยและพัฒนา องค์การเภสัชกรรม ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2556 ค�ำถามอื่นๆ ที่ควรรู้ ได้แก่ “Hasanyoneinyourfamily hadthesamesymptom?” (มีใครในครอบครัวของคุณที่มีอาการเดียวกันนี้หรือไม่) “Do you smoke/drink?” (คุณสูบบุหรี่/ดื่มเหล้าหรือไม่) “Are you pregnant?” (คุณก�ำลังตั้งครรภ์หรือไม่) “Have you had any operations?” (คุณเคยได้รับการ ผ่าตัดมาก่อนหรือไม่) จบบทสนทนาด้วยประโยคง่าย ๆ อย่างการขอบคุณ เช่น “Thank you, please come again next time.” (ขอบคุณครับ/ค่ะ โอกาสหน้าเชิญใหม่นะครับ/คะ), “Thank you. Do you have any questions?” (ขอบคุณครับ/ค่ะ มีค�ำถามอะไรหรือไม่ครับ/คะ) การจ่ายยา เมื่อผู้ป่วยมารับยากับเภสัชกรในโรงพยาบาลหรือ ร้านยาสามารถสื่อสารกับผู้ป่วยในรูปแบบประโยคที่ว่า“Iwillgive you ชนิดของยา called ชื่อยา”หรือ “This is ชนิดของยา. It has ชื่อยา” แล้วตามด้วยวิธีการใช้เป็นภาษาอังกฤษ เช่น “Take it จ�ำนวนของยา ความถี่ต่อวัน เวลา for จ�ำนวนวัน day (s)” ค�ำที่แสดงความถี่ที่พบบ่อย เช่น once daily/a day (วันละครั้ง), twice daily/a day (วันละ 2 ครั้ง), three times daily/a day (วันละ 3 ครั้ง), every 4-6 hours (ทุก 4 ถึง 6 ชั่วโมง) เป็นต้น ส่วนเวลาใช้ยาที่พบบ่อย ได้แก่ before meals (ก่อนอาหาร), with meals (พร้อมอาหาร), after meals (หลังอาหาร), at bedtime (ก่อนนอน) เป็นต้น ทั้งนี้ประโยคสนทนา อาจเปลี่ยนแปลงไปตามรูปแบบของยาด้วย ตัวอย่าง “I will give you a medicine called paracetamol. Take it (this medication) 1 to 2 tablets every 4 to 6 hours as needed for pain.” (ผมจะจ่ายยา paracetamol ให้นะครับ รับประทานยานี้ 1-2 เม็ด ทุก 4-6 ชั่วโมง เมื่อมีอาการปวด) “Take it 2 tablespoons twice a day.” (รับประทาน ยา 2 ช้อนโต๊ะ วันละ 2 ครั้ง) “Put 2-3 drops in the right eye 3 times daily.” (หยอด 2-3 หยดที่ตาข้างขวา วันละ 3 ครั้ง) “Apply externally 2 times a day.” (ทาภายนอก วันละ 2 ครั้ง) “Take two puffs 3 times a day.” (พ่น 2 พัฟ วันละ 3 ครั้ง) “Inject subcutaneously two times a day, 10 units before breakfast and 7 units before dinner.” (ฉีดใต้ผิวหนัง วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า 10 ยูนิต ก่อนอาหารเย็น 7 ยูนิต) “Put it under your tongue” (อมไว้ใต้ลิ้น) นอกจากนี้ เภสัชกรอาจจ�ำเป็นต้องให้ค�ำแนะน�ำในการ เก็บรักษายา ตัวอย่างค�ำแนะน�ำที่พบบ่อย ได้แก่ “Keepoutofthereachofchildren.”(เก็บให้พ้นมือเด็ก) “Store it at room temperature and away from heat, sunlight and moisture.” (ควรเก็บยาในอุณหภูมิห้อง และ หลีกเลี่ยงความร้อน แสงแดด และความชื้น) หากเป็นยาที่ต้องเก็บในตู้เย็น แต่ห้ามแช่แข็ง เช่น ยาเหน็บทวารหนัก สามารถแนะน�ำได้ว่า “Keep it in the refrigerator. Do not use the freezer.” (เก็บยาไว้ในตู้เย็น ห้าม แช่แข็ง) ข้อควรระวังส�ำคัญที่จะเพิ่มความปลอดภัยและ ประสิทธิภาพในการใช้ยาแก่ผู้ป่วย เช่น หากจ่ายยาที่อาจท�ำให้ง่วงนอน ต้องแนะน�ำว่า “This medication might make you feel asleep. Do not drive or operate heavy machinery while taking this medication.” (ยานี้อาจท�ำให้ง่วงนอน ห้ามขับรถหรือคุมเครื่องจักรขณะ รับประทานยานี้) หากเป็นยากลุ่มปฏิชีวนะที่ต้องรับประทานยาทุกวัน จนหมด อาจพูดได้ว่า “Keep taking antibiotics until finish” (โปรดรับประทานยาปฏิชีวนะจนยาหมด) หากเป็นยาที่สามารถเกิดอันตรกิริยากับยาลดกรด เช่น ยาเม็ดเคลือบเอนเทอริก (enteric-coated tablet) สามารถ แนะน�ำได้ว่า “Do not take antacids while taking this medication.”
  • 3. R&D Newsletter 19 ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2556 วารสารเพื่อการวิจัยและพัฒนา องค์การเภสัชกรรม ตัวอย่างบทสนทนา มาลองดูตัวอย่าง โดยให้ A คือเภสัชกร และ B คือผู้รับบริการ A: Good morning. May I help you? A: สวัสดียามเช้าค่ะ มีอะไรให้ช่วยไหมคะ B: Yes, I have a terrible headache. B: ดิฉันมีอาการปวดค่ะ A: Can you please describe the pain to me? A: ช่วยอธิบายอาการปวดให้ฟังหน่อยค่ะ B: It is a pounding pain, and feels like it will split my head. B: มันปวดเค้นมาก รู้สึกเหมือนหัวจะแยกออกจากกันเลยค่ะ A: How long have you had the pain? A: ปวดมานานเท่าไรแล้วคะ B: It started about 30 minutes ago. B: เมื่อประมาณ 30 นาทีที่แล้วค่ะ A: Do you have these headaches often? A: ปวดอย่างนี้บ่อยไหมคะ B: I don’t get headaches very often. B: ไม่ค่อยปวดบ่อยค่ะ A: It sounds like it is probably a stress headache. Here, take this medicine. It’s an analgesic called paracetamol. It should help relieve the pain. A: ลักษณะนี้เหมือนอาการปวดหัวจากความเครียด จึงจ่ายยานี้ นะคะ เป็นยาแก้ปวด ชื่อว่า paracetamol จะช่วยบรรเทาอาการ ปวดได้ค่ะ B: How often should I take this medication? B: ดิฉันต้องกินยานี้บ่อยแค่ไหนคะ A: You should take one tablet every 4 hours as needed if the pain continues. Do you have any more questions? A: รับประทานยานี้ 1 เม็ด ทุก 4 ชั่วโมง จนกว่าจะหายปวดค่ะ มีคำ�ถามอะไรอีกไหมคะ B: No, thank you! B: ไม่ค่ะ ขอบคุณค่ะ เอกสารอ้างอิง 1. Thamolwan Lamai. 2553. Pharmacy English. โรงพิมพ์นพรัตน์. 2. http://www.skcc.ac.th/elearning/ge0103/?p=111