SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 7
Descargar para leer sin conexión
กายภาพบําบัดกับโรคปวดหลัง
มนุษย์ร้อยละ 80 มักเคยมีประสบการณ์ปวดหลังหรือปวดเอว อาการปวดมักแตกต่างกันไปเช่นบางคนอาจปวด
เฉพาะบริเวณเอวหรือหลัง หรือกระเบนเหน็บ บางคนอาจปวดหลังร้าวลงขาข้างใดข้างหนึ่ง หรือทั้ง 2 ข้าง อาจมีอาการ
ชาหรือไม่มีก็ได้ บางครั้งอาการรุนแรงมากจนเดินไม่ได้
สาเหตุ
1. การใช้ท่าทางต่าง ๆ ในชีวิตประจําวันไม่ถูกต้อง เช่นยกของหนักผิดท่า นั่งทํางานนาน ๆ ทํางานในลักษณะก้ม ๆ
เงย ๆ ติดต่อกันนาน ๆ ฯลฯ
2. ความเสื่อมของกระดูกและข้อ
3. ขาดการออกกําลังกายที่เหมาะสม
4. ความผิดปกติของกระดูกสันหลังแต่กําเนิด เช่นกระดูกสันหลังคด โก่ง หรือ แอ่น
5. มีการอักเสบหรือติดเชื้อ เช่นวัณโรคของกระดูกสันหลัง
6. การได้รับอุบัติเหตุ เช่นตกจากที่สูง หรืออุบัติเหตุที่มีการกระทบกระเทือนบริเวณกระดูกสันหลังรุนแรง
7. การมีเนื้องอกของประสาทไขสันหลัง หรือมะเร็งที่แพร่กระจายมายังกระดูกสันหลัง
8. อาการปวดร้าวมายังหลังจากโรคของอวัยวะในระบบอื่น ๆ เช่น นิ่วในไต เนื้องอกในอุ้งเชิงกราน
9. ปัญหาที่ทําให้เกิดความตึงเครียด และความวิตกกังวลในชีวิต
การรักษา
1. ในระยะเฉียบพลัน(ภายใน 1-2 วันแรก) ให้ใช้ความเย็นประคบบริเวณที่มีอาการปวด ประมาณ 10-15 นาที วัน
ละ 3-4 ครั้ง หลังจากนั้น 3 วัน จึงเริ่มใช้ความร้อนประคบ ครั้งละ 20 นาที วันละ 1-2 ครั้ง
2. ห้ามบีบนวดหรือดัดเอว เพราะจะทําให้อาการรุนแรงมากขึ้น
3. เมื่ออาการปวดทุเลาให้เริ่มบริหารยืดกล้ามเนื้อ อย่างนุ่มนวลและสม่ําเสมอ
4. ถ้ามีอาการปวดรุนแรงมากขึ้นให้ปรึกษาแพทย์หรือนักกายภาพบําบัด
การป้องกันและลดอาการปวดหลัง
1. ปฏิบัติกิจวัตรประจําวันด้วยท่าทางที่ถูกต้อง
2. หลีกเลี่ยงการอยู่ในท่าใดท่าหนึ่งเป็นเวลานาน ๆ ควรเปลี่ยนท่าทุก ๆ 30 นาที เช่น ขณะนั่งทํางานควรลุก หรือ
ขยับตัวบ้าง หรือขณะยืนทํางานควรนั่งพักบ้าง
3. หลีกเลี่ยงการยกของหนักเกินกําลังหรือการก้มโค้งยกของ
4. ควบคุมน้ําหนักตัวไม่ให้อ้วน
5. ออกกําลังกายสม่ําเสมอ เช่น วิ่ง ว่ายน้ํา รํามวยจีน แต่ควรเลือกให้เหมาะสมกับวัยและไม่ควรหนักเกินไป ควร
ออกกําลังกายอย่างสม่ําเสมอ แม้ไม่มีอาการปวดหลัง เพื่อให้กล้ามเนื้อและข้อต่อมีความแข็งแรง มีความ
ยืดหยุ่นและทนทาน เป็นการป้องกันอาการปวดหลังได้เป็นอย่างดี
6. ควรปรึกษาแพทย์หรือนักกายภาพบําบัดเพื่อรับการรักษาหรือคําแนะนําที่ถูกต้องตั้งแต่เริ่มมีอาการ หรือสังเกต
เห็นถึงความผิดปกติ
7. ท่าทางที่ถูกต้องในการทํากิจวัตรประจําวัน
ท่ายืน
แขม่วท้องอกผายไหล่ผึ่งเอวแอ่นน้อยที่สุด ถ้าต้องยืนเป็นเวลานาน ๆ ควรมีที่พักเท้า การยืนห่อไหล่พุงยื่น จะทํา
ให้เอวแอ่นมากขึ้นและปวดหลังได้
ท่านั่ง
ท่านั่งขับรถ หลังพิงพนัก เข่างอเหนือระดับสะโพก ไม่ควรนั่งห่างจนเกินไปจนเข่าเหยียด ซึ่งจะทําให้กระดูกสันหลังตึง
การนั่งทํางานให้นั่งโดยกระดูกสันหลังตรง พิงพนัก เก้าอี้สูงพอดี และควรมีที่พักแขน การนั่งห่างจากโต๊ะมากจะทําให้
กล้ามเนื้อหลังทํางานหนักมาก
ท่ายกของ
ควรย่อเข่าลง ยกของให้ชิดกับลําตัว แล้วลุกด้วยกําลังขา การก้มหยิบของในท่าเข่าเหยียดตรงจะทําให้ปวดหลังได้
ท่าถือของ
ควรถือให้ชิดลําตัวมากที่สุด ถ้าถือห่างจากลําตัวจะทําให้หลังทํางานหนัก ถ้าเป็นของหนักควรหาผู้ช่วยถือ
ท่านอน
ที่นอนควรจะแน่น ยุบตัวน้อยที่สุด ไม่ควรใช้ฟูกฟองน้ํา ที่นิ่มมากเมื่อนอนที่นอนจะยุบตัวลง หลังจะงอและปวดหลังได้
หลีกเลี่ยงการนอนคว่ําซึ่งจะทําให้กระดูกสันหลังแอ่นมาก ในขณะนอนหงายควรใช้หมอนข้างหนุนใต้โคนขา จะช่วยให้
กระดูกสันหลังไม่แอ่น
ท่านอนตะแคงเป็นท่าที่ดีที่สุด ควรให้ขาที่อยู่ด้านล่างเหยียดตรง ขาด้านบนขอเข่า งอสะโพก ก่ายหมอนข้าง
บริหารร่างกายเพื่อป้องกันและลดอาการปวดหลัง
ท่าที่ 1 ท่ายืดกล้ามเนื้อหลัง
นอนหงายชันเข่าขึ้นทั้งสองข้าง เอามือกอดเข่าเข้ามาให้ชิดอก ยกศีรษะเล็กน้อย ให้คางชิดเข่า ทําค้างไว้นับ 1-10 แล้ว
คลายออก พักสักครู่แล้วเริ่มทําใหม่ ทํา 10 ครั้งต่อรอบ ทําวันละ 3-4 รอบ
ท่าที่ 2 ท่ายืดกล้ามเนื้อสะโพก
นอนหงายเอามือกอดเข่าข้างหนึ่งเข้ามาให้ชิดอก พร้อมกับขาอีกข้างหนึ่งเหยียดตรง เกร็งแนบกับพื้น ทําค้างไว้นับ 1-
10 แล้วคลายทํา 10 ครั้ง แล้วจึงสลับบริหารขาอีกข้างหนึ่งในลักษณะเดียวกัน ทําวันละ 3-4 รอบ
ท่าที่ 3 ท่ายืดกล้ามเนื้อสีข้าง
นอนหงายชันเข่าข้างหนึ่งขึ้นหันเข้าด้านในของลําตัวพร้อมกับใช้มือกอดเข่าที่ตั้งให้ติดพื้น โดยที่ไหล่ด้านตรงข้ามติดพื้น
ตลอดเวลา ทําค้างไว้นับ 1-10 แล้วคลายออกพักสักครู่ แล้วเริ่มบริหารใหม่ ทํา 10 ครั้ง แล้วจึงสลับบริหารขาอีกข้าง
หนึ่งในลักษณะเดียวกัน
ท่าที่ 4 ท่าเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหน้าท้องและสะโพกและลดความแอ่นของหลัง
นอนหงายตั้งเข่าทั้งสองข้างขึ้น วางเท้าราบกับพื้น หายใจเข้าและออกช้า ๆ พร้อมกับแขม่วหน้าท้อง กดหลังให้ติดแนบ
กับพื้น และเกร็งกล้ามเนื้อก้น(ขณะเกร็งกล้ามเนื้อก้น ก้นจะยกขึ้นเล็กน้อย) ทําค้างไว้นับ 1-5 หรือ 5 วินาที แล้วคลาย
ออกพักสักครู่แล้วเริ่มทําใหม่ ทํา 10 ครั้งต่อรอบ ทําวันละ 3-4 รอบ
ท่าที่ 5 ท่าเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลัง
นอนคว่ําขาเหยียดตรงมีหมอนเล็ก ๆ รองที่หน้าท้อง แล้วยกขาข้างหนึ่งขึ้นประมาณ 30 องศา ค้างไว้ นับ 1-5 แล้ววาง
ลง ทําสลับซ้ายขวาช้า ๆ ให้ได้ข้างละ 10 ครั้งต่อรอบ ทําวันละ 3-4 รอบ
ประโยชน์ของการบริหารร่างกาย
1. ทําให้กล้ามเนื้อคลายตัว ไม่เกร็ง และแข็งแรงอยู่เสมอ
2. กระดูกและข้อเสื่อมช้าลง
หลักการบริหารร่างกาย
1. เป็นการออกกําลังบริหารร่างกาย หรือเพิ่มความแข็งแรงและความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อหน้าท้อง หลัง สะโพก
และต้นขา
2. ควรบริหารด้วยความตั้งใจ มีสมาธิในการออกกําลัง
3. ควรทําสม่ําเสมอทุกวัน วันละ 3-4 รอบ รอบละ 10 ครั้ง
4. ทําช้า ๆ นุ่มนวล การกระชากหรือเหวี่ยง จะทําให้มีอาการมากขึ้นได้
5. ท่าบริหารท่าใดที่ทําแล้วรู้สึกปวดมากขึ้นให้หยุดก่อน แล้วปรึกษานักกายภาพบําบัดอีกครั้ง

Más contenido relacionado

Destacado

Pitfalls Of Migrating to SharePoint 2010
Pitfalls Of Migrating to SharePoint 2010Pitfalls Of Migrating to SharePoint 2010
Pitfalls Of Migrating to SharePoint 2010Scott Hoag
 
SPSVB - To the Cloud! Using IaaS as a Hosting Provider for SharePoint
SPSVB - To the Cloud! Using IaaS as a Hosting Provider for SharePointSPSVB - To the Cloud! Using IaaS as a Hosting Provider for SharePoint
SPSVB - To the Cloud! Using IaaS as a Hosting Provider for SharePointScott Hoag
 
SPS Sydney - To the Cloud! Utilising Azure as a Cloud Hosting Provider for Sh...
SPS Sydney - To the Cloud! Utilising Azure as a Cloud Hosting Provider for Sh...SPS Sydney - To the Cloud! Utilising Azure as a Cloud Hosting Provider for Sh...
SPS Sydney - To the Cloud! Utilising Azure as a Cloud Hosting Provider for Sh...Scott Hoag
 
Pitfalls of Migration to SharePoint 2010
Pitfalls of Migration to SharePoint 2010Pitfalls of Migration to SharePoint 2010
Pitfalls of Migration to SharePoint 2010Scott Hoag
 
Trials and Tribulations of Managed Metadata
Trials and Tribulations of Managed MetadataTrials and Tribulations of Managed Metadata
Trials and Tribulations of Managed MetadataScott Hoag
 
SPS Sydney - Office 365 and Cloud Identity – What does it mean for me?
SPS Sydney - Office 365 and Cloud Identity – What does it mean for me?SPS Sydney - Office 365 and Cloud Identity – What does it mean for me?
SPS Sydney - Office 365 and Cloud Identity – What does it mean for me?Scott Hoag
 

Destacado (6)

Pitfalls Of Migrating to SharePoint 2010
Pitfalls Of Migrating to SharePoint 2010Pitfalls Of Migrating to SharePoint 2010
Pitfalls Of Migrating to SharePoint 2010
 
SPSVB - To the Cloud! Using IaaS as a Hosting Provider for SharePoint
SPSVB - To the Cloud! Using IaaS as a Hosting Provider for SharePointSPSVB - To the Cloud! Using IaaS as a Hosting Provider for SharePoint
SPSVB - To the Cloud! Using IaaS as a Hosting Provider for SharePoint
 
SPS Sydney - To the Cloud! Utilising Azure as a Cloud Hosting Provider for Sh...
SPS Sydney - To the Cloud! Utilising Azure as a Cloud Hosting Provider for Sh...SPS Sydney - To the Cloud! Utilising Azure as a Cloud Hosting Provider for Sh...
SPS Sydney - To the Cloud! Utilising Azure as a Cloud Hosting Provider for Sh...
 
Pitfalls of Migration to SharePoint 2010
Pitfalls of Migration to SharePoint 2010Pitfalls of Migration to SharePoint 2010
Pitfalls of Migration to SharePoint 2010
 
Trials and Tribulations of Managed Metadata
Trials and Tribulations of Managed MetadataTrials and Tribulations of Managed Metadata
Trials and Tribulations of Managed Metadata
 
SPS Sydney - Office 365 and Cloud Identity – What does it mean for me?
SPS Sydney - Office 365 and Cloud Identity – What does it mean for me?SPS Sydney - Office 365 and Cloud Identity – What does it mean for me?
SPS Sydney - Office 365 and Cloud Identity – What does it mean for me?
 

Similar a กายภาพบำบัดกับโรคปวดหลัง

สุทธิดา วิชชุดา
สุทธิดา   วิชชุดาสุทธิดา   วิชชุดา
สุทธิดา วิชชุดาsupphawan
 
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้Press Trade
 
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพpenpun
 
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม พ.ศ. 2553
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม พ.ศ. 2553แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม พ.ศ. 2553
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม พ.ศ. 2553Utai Sukviwatsirikul
 
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553Utai Sukviwatsirikul
 
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa knee guideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa knee guidelineการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa knee guideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa knee guidelineUtai Sukviwatsirikul
 
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa kneeguideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa kneeguidelineการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa kneeguideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa kneeguidelineUtai Sukviwatsirikul
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderlytaem
 
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่guestcfd317
 
แก้อาการสะบักจม
แก้อาการสะบักจมแก้อาการสะบักจม
แก้อาการสะบักจมtommy
 

Similar a กายภาพบำบัดกับโรคปวดหลัง (12)

สุทธิดา วิชชุดา
สุทธิดา   วิชชุดาสุทธิดา   วิชชุดา
สุทธิดา วิชชุดา
 
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
 
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
 
Patella fracture
Patella fracturePatella fracture
Patella fracture
 
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม พ.ศ. 2553
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม พ.ศ. 2553แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม พ.ศ. 2553
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม พ.ศ. 2553
 
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553
 
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa knee guideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa knee guidelineการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa knee guideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa knee guideline
 
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa kneeguideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa kneeguidelineการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa kneeguideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa kneeguideline
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderly
 
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
 
แก้อาการสะบักจม
แก้อาการสะบักจมแก้อาการสะบักจม
แก้อาการสะบักจม
 
Present
PresentPresent
Present
 

Más de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Más de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

กายภาพบำบัดกับโรคปวดหลัง

  • 1. กายภาพบําบัดกับโรคปวดหลัง มนุษย์ร้อยละ 80 มักเคยมีประสบการณ์ปวดหลังหรือปวดเอว อาการปวดมักแตกต่างกันไปเช่นบางคนอาจปวด เฉพาะบริเวณเอวหรือหลัง หรือกระเบนเหน็บ บางคนอาจปวดหลังร้าวลงขาข้างใดข้างหนึ่ง หรือทั้ง 2 ข้าง อาจมีอาการ ชาหรือไม่มีก็ได้ บางครั้งอาการรุนแรงมากจนเดินไม่ได้ สาเหตุ 1. การใช้ท่าทางต่าง ๆ ในชีวิตประจําวันไม่ถูกต้อง เช่นยกของหนักผิดท่า นั่งทํางานนาน ๆ ทํางานในลักษณะก้ม ๆ เงย ๆ ติดต่อกันนาน ๆ ฯลฯ 2. ความเสื่อมของกระดูกและข้อ 3. ขาดการออกกําลังกายที่เหมาะสม 4. ความผิดปกติของกระดูกสันหลังแต่กําเนิด เช่นกระดูกสันหลังคด โก่ง หรือ แอ่น 5. มีการอักเสบหรือติดเชื้อ เช่นวัณโรคของกระดูกสันหลัง 6. การได้รับอุบัติเหตุ เช่นตกจากที่สูง หรืออุบัติเหตุที่มีการกระทบกระเทือนบริเวณกระดูกสันหลังรุนแรง 7. การมีเนื้องอกของประสาทไขสันหลัง หรือมะเร็งที่แพร่กระจายมายังกระดูกสันหลัง 8. อาการปวดร้าวมายังหลังจากโรคของอวัยวะในระบบอื่น ๆ เช่น นิ่วในไต เนื้องอกในอุ้งเชิงกราน 9. ปัญหาที่ทําให้เกิดความตึงเครียด และความวิตกกังวลในชีวิต การรักษา 1. ในระยะเฉียบพลัน(ภายใน 1-2 วันแรก) ให้ใช้ความเย็นประคบบริเวณที่มีอาการปวด ประมาณ 10-15 นาที วัน ละ 3-4 ครั้ง หลังจากนั้น 3 วัน จึงเริ่มใช้ความร้อนประคบ ครั้งละ 20 นาที วันละ 1-2 ครั้ง 2. ห้ามบีบนวดหรือดัดเอว เพราะจะทําให้อาการรุนแรงมากขึ้น 3. เมื่ออาการปวดทุเลาให้เริ่มบริหารยืดกล้ามเนื้อ อย่างนุ่มนวลและสม่ําเสมอ 4. ถ้ามีอาการปวดรุนแรงมากขึ้นให้ปรึกษาแพทย์หรือนักกายภาพบําบัด
  • 2. การป้องกันและลดอาการปวดหลัง 1. ปฏิบัติกิจวัตรประจําวันด้วยท่าทางที่ถูกต้อง 2. หลีกเลี่ยงการอยู่ในท่าใดท่าหนึ่งเป็นเวลานาน ๆ ควรเปลี่ยนท่าทุก ๆ 30 นาที เช่น ขณะนั่งทํางานควรลุก หรือ ขยับตัวบ้าง หรือขณะยืนทํางานควรนั่งพักบ้าง 3. หลีกเลี่ยงการยกของหนักเกินกําลังหรือการก้มโค้งยกของ 4. ควบคุมน้ําหนักตัวไม่ให้อ้วน 5. ออกกําลังกายสม่ําเสมอ เช่น วิ่ง ว่ายน้ํา รํามวยจีน แต่ควรเลือกให้เหมาะสมกับวัยและไม่ควรหนักเกินไป ควร ออกกําลังกายอย่างสม่ําเสมอ แม้ไม่มีอาการปวดหลัง เพื่อให้กล้ามเนื้อและข้อต่อมีความแข็งแรง มีความ ยืดหยุ่นและทนทาน เป็นการป้องกันอาการปวดหลังได้เป็นอย่างดี 6. ควรปรึกษาแพทย์หรือนักกายภาพบําบัดเพื่อรับการรักษาหรือคําแนะนําที่ถูกต้องตั้งแต่เริ่มมีอาการ หรือสังเกต เห็นถึงความผิดปกติ 7. ท่าทางที่ถูกต้องในการทํากิจวัตรประจําวัน ท่ายืน แขม่วท้องอกผายไหล่ผึ่งเอวแอ่นน้อยที่สุด ถ้าต้องยืนเป็นเวลานาน ๆ ควรมีที่พักเท้า การยืนห่อไหล่พุงยื่น จะทํา ให้เอวแอ่นมากขึ้นและปวดหลังได้
  • 3. ท่านั่ง ท่านั่งขับรถ หลังพิงพนัก เข่างอเหนือระดับสะโพก ไม่ควรนั่งห่างจนเกินไปจนเข่าเหยียด ซึ่งจะทําให้กระดูกสันหลังตึง การนั่งทํางานให้นั่งโดยกระดูกสันหลังตรง พิงพนัก เก้าอี้สูงพอดี และควรมีที่พักแขน การนั่งห่างจากโต๊ะมากจะทําให้ กล้ามเนื้อหลังทํางานหนักมาก
  • 4. ท่ายกของ ควรย่อเข่าลง ยกของให้ชิดกับลําตัว แล้วลุกด้วยกําลังขา การก้มหยิบของในท่าเข่าเหยียดตรงจะทําให้ปวดหลังได้ ท่าถือของ ควรถือให้ชิดลําตัวมากที่สุด ถ้าถือห่างจากลําตัวจะทําให้หลังทํางานหนัก ถ้าเป็นของหนักควรหาผู้ช่วยถือ ท่านอน ที่นอนควรจะแน่น ยุบตัวน้อยที่สุด ไม่ควรใช้ฟูกฟองน้ํา ที่นิ่มมากเมื่อนอนที่นอนจะยุบตัวลง หลังจะงอและปวดหลังได้ หลีกเลี่ยงการนอนคว่ําซึ่งจะทําให้กระดูกสันหลังแอ่นมาก ในขณะนอนหงายควรใช้หมอนข้างหนุนใต้โคนขา จะช่วยให้ กระดูกสันหลังไม่แอ่น ท่านอนตะแคงเป็นท่าที่ดีที่สุด ควรให้ขาที่อยู่ด้านล่างเหยียดตรง ขาด้านบนขอเข่า งอสะโพก ก่ายหมอนข้าง
  • 5. บริหารร่างกายเพื่อป้องกันและลดอาการปวดหลัง ท่าที่ 1 ท่ายืดกล้ามเนื้อหลัง นอนหงายชันเข่าขึ้นทั้งสองข้าง เอามือกอดเข่าเข้ามาให้ชิดอก ยกศีรษะเล็กน้อย ให้คางชิดเข่า ทําค้างไว้นับ 1-10 แล้ว คลายออก พักสักครู่แล้วเริ่มทําใหม่ ทํา 10 ครั้งต่อรอบ ทําวันละ 3-4 รอบ ท่าที่ 2 ท่ายืดกล้ามเนื้อสะโพก นอนหงายเอามือกอดเข่าข้างหนึ่งเข้ามาให้ชิดอก พร้อมกับขาอีกข้างหนึ่งเหยียดตรง เกร็งแนบกับพื้น ทําค้างไว้นับ 1- 10 แล้วคลายทํา 10 ครั้ง แล้วจึงสลับบริหารขาอีกข้างหนึ่งในลักษณะเดียวกัน ทําวันละ 3-4 รอบ ท่าที่ 3 ท่ายืดกล้ามเนื้อสีข้าง นอนหงายชันเข่าข้างหนึ่งขึ้นหันเข้าด้านในของลําตัวพร้อมกับใช้มือกอดเข่าที่ตั้งให้ติดพื้น โดยที่ไหล่ด้านตรงข้ามติดพื้น ตลอดเวลา ทําค้างไว้นับ 1-10 แล้วคลายออกพักสักครู่ แล้วเริ่มบริหารใหม่ ทํา 10 ครั้ง แล้วจึงสลับบริหารขาอีกข้าง หนึ่งในลักษณะเดียวกัน
  • 6. ท่าที่ 4 ท่าเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหน้าท้องและสะโพกและลดความแอ่นของหลัง นอนหงายตั้งเข่าทั้งสองข้างขึ้น วางเท้าราบกับพื้น หายใจเข้าและออกช้า ๆ พร้อมกับแขม่วหน้าท้อง กดหลังให้ติดแนบ กับพื้น และเกร็งกล้ามเนื้อก้น(ขณะเกร็งกล้ามเนื้อก้น ก้นจะยกขึ้นเล็กน้อย) ทําค้างไว้นับ 1-5 หรือ 5 วินาที แล้วคลาย ออกพักสักครู่แล้วเริ่มทําใหม่ ทํา 10 ครั้งต่อรอบ ทําวันละ 3-4 รอบ ท่าที่ 5 ท่าเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลัง นอนคว่ําขาเหยียดตรงมีหมอนเล็ก ๆ รองที่หน้าท้อง แล้วยกขาข้างหนึ่งขึ้นประมาณ 30 องศา ค้างไว้ นับ 1-5 แล้ววาง ลง ทําสลับซ้ายขวาช้า ๆ ให้ได้ข้างละ 10 ครั้งต่อรอบ ทําวันละ 3-4 รอบ ประโยชน์ของการบริหารร่างกาย 1. ทําให้กล้ามเนื้อคลายตัว ไม่เกร็ง และแข็งแรงอยู่เสมอ 2. กระดูกและข้อเสื่อมช้าลง
  • 7. หลักการบริหารร่างกาย 1. เป็นการออกกําลังบริหารร่างกาย หรือเพิ่มความแข็งแรงและความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อหน้าท้อง หลัง สะโพก และต้นขา 2. ควรบริหารด้วยความตั้งใจ มีสมาธิในการออกกําลัง 3. ควรทําสม่ําเสมอทุกวัน วันละ 3-4 รอบ รอบละ 10 ครั้ง 4. ทําช้า ๆ นุ่มนวล การกระชากหรือเหวี่ยง จะทําให้มีอาการมากขึ้นได้ 5. ท่าบริหารท่าใดที่ทําแล้วรู้สึกปวดมากขึ้นให้หยุดก่อน แล้วปรึกษานักกายภาพบําบัดอีกครั้ง