Thailand practice hep c guideline 2016

Utai Sukviwatsirikul
Utai SukviwatsirikulPharmacist, Lecturer, en PHARMATREE & 37C PHARMACY

แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559 Thailand Practice Guideline for Management of Chronic Hepatitis C 2016 http://www.thasl.org/files/31.Hep%20C%20Guideline%202016.pdf

แนวทางการดูแลรักษา
ผูปวยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย
ป พ.ศ. 2559
ÊÁÒ¤ÁâäµÑºáË‹§»ÃÐà·Èä·Â
Thailand Practice Guideline for Management
of Chronic Hepatitis C 2016
แนวทางการดูแลรักษา
ผูปวยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย
ป พ.ศ. 2559
ÊÁÒ¤ÁâäµÑºáË‹§»ÃÐà·Èä·Â
Thailand Practice Guideline for Management
of Chronic Hepatitis C 2016
พิมพ์ครั้งที่ 1	 เมษายน 2559	 จ�ำนวน  3,000 เล่ม	มิถุนายน 2558	 จ�ำนวน  
ISBN  978-616-279-833-7  978-616-279-685-2
ผู้จัดพิมพ์เผยแพร่		 สมาคมโรคตับแห่งประเทศไทย
	 	 		 	 เลขที่ 1575/1 ชั้น 4 อาคารชัยสงวน
	 	 		 	 ถ. เพชรบุรีตัดใหม่ มักกะสัน ราชเทวี
	 	 		 	 กรุงเทพมหานคร 10400
		
พิมพ์ที่				 ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ภาพพิมพ์
	 	 		 	 45/12-14, 33 หมู่ 4  ถนนบางกรวย-จงถนอม
	 	 		 	 ต�ำบลบางขนุน อ�ำเภอบางกรวย
	 	 		 	 จังหวัดนนทบุรี 11130
	 	 		 	 โทรศัพท์ 02-879-9154-6  โทรสาร 02-879-9153
	 	 		 	 parbpim@gmail.com
	 	 		 	 www.parbpim.com
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง
ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
Thailand Practice Guideline for Management of
Chronic Hepatitis C 2016
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรัง ได้มีการทบทวนใหม่ ในปี
พ.ศ. 2558 อย่างไรก็ตาม เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงการรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซี
อย่างมากและในปีที่ผ่านมาได้มียาใหม่ๆ ขึ้นทะเบียนส�ำหรับการรักษาไวรัสตับอักเสบซี
ในประเทศไทยหลายชนิด จึงจ�ำเป็นต้องมีการปรับปรุงแนวทางการรักษาผู้ป่วยไวรัสตับ
อักเสบซีขึ้นใหม่ ทั้งนี้แนวทางการรักษาไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรังฉบับนี้ นับเป็นแนวทาง
การรักษาที่มีการปรับปรุงใหม่เร็วที่สุด นับตั้งแต่มีการจัดท�ำแนวทางการรักษาขึ้นมาใน
ประเทศไทย เนื่องจากแนวทางการรักษาฉบับก่อนได้ถูกเผยแพร่ในระยะเวลาไม่ถึงปี
รวมทั้งยังเป็นแนวทางการรักษาที่มีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุด เนื่องจากการรักษาด้วย
ยาชนิดใหม่ๆ  ได้เปลี่ยนจากยาฉีดอินเตอร์เฟอรอนมาเป็นยารับประทานทั้งหมด เพื่อให้
แนวทางการรักษาไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรังในประเทศไทยมีความทันสมัยและเป็นแนวทาง
ที่แพทย์ทั่วไปสามารถน�ำไปปฏิบัติได้ จึงได้จัดท�ำแนวทางการรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ
ซีในประเทศไทย ฉบับปี พ.ศ. 2559 ขึ้นมา
	 ทางสมาคมฯ ต้องขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์นายแพทย์ธีระ พิรัชวิสุทธิ์
และรองศาสตราจารย์นายแพทย์พูลชัยจรัสเจริญวิทยาที่ช่วยเป็นหัวแรงในการปรับปรุง
แนวทางการรักษาฉบับนี้ขึ้นมา โดยแนวทางการรักษามีความกระชับและง่ายต่อการ
ปฏิบัติ ทางสมาคมฯ หวังว่า แนวทางการรักษาไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรังในประเทศไทยปี
พ.ศ. 2559 นี้ จะเป็นประโยชน์กับแพทย์ทั่วไป แพทย์ระบบทางเดินอาหาร และผู้สนใจ
ทุกท่าน ในการน�ำไปเป็นแนวทางปฏิบัติ และรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรังต่อไป
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ทวีศักดิ์ แทนวันดี
นายกสมาคมโรคตับแห่งประเทศไทย
ค�ำน�ำ
Thailand practice hep c guideline 2016
คณะกรรมการสมาคมโรคตับแห่งประเทศไทยวาระบริหารปี พ.ศ. 2558-2559
นายกสมาคม นายแพทย์ทวีศักดิ์ แทนวันดี สาขาวิชาโรคระบบทางเดินอาหาร คณะแพทยศาสตร์
ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
อุปนายก แพทย์หญิงวัฒนา สุขีไพศาลเจริญ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
เลขาธิการ นายแพทย์ชินวัตร์ สุทธิวนา กองอายุรกรรม แผนกทางเดินอาหาร
โรงพยาบาลภูมิพลฯ
ปฏิคม นายแพทย์ทีปวิทย์ วิถีรุ่งโรจน์ หน่วยโรคระบบทางเดินอาหาร ถุงน�้ำดีและตับภาควิชา
อายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา
นครินทร์
เหรัญญิก แพทย์หญิงศิวะพร ไชยนุวัติ สาขาวิชาโรคระบบทางเดินอาหาร คณะแพทยศาสตร์
ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
ประธานฝ่าย
วิชาการและการ
ศึกษาต่อเนื่อง
นายแพทย์ธีระ พีรัชวิสุทธิ์ หน่วยโรคระบบทางเดินอาหาร ถุงน�้ำดีและตับภาควิชา
อายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา
นครินทร์
ประธานฝ่ายวิจัย นายแพทย์พูลชัย จรัสเจริญวิทยา สาขาวิชาโรคระบบทางเดินอาหาร คณะแพทยศาสตร์
ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
ประธานฝ่าย
วารสาร
นายแพทย์ปิยะวัฒน์ โกมลมิศร์ หน่วยทางเดินอาหาร ภาควิชาอายุรศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประธานฝ่าย
จริยธรรม
นายแพทย์ศตวรรษ ทองสวัสดิ์ หน่วยวิชาระบบทางเดินอาหาร ภาควิชาอายุรศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประธานฝ่ายเงิน
ออม
พลตรีนายแพทย์อนุชิต จูฑะพุทธิ หน่วยโรคทางเดินอาหารและตับ กองอายุรกรรม
โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
ประธานฝ่าย
ประชาสัมพันธ์
แพทย์หญิงอาภัสณี โสภณสฤษฎ์สุข หน่วยทางเดินอาหาร ภาควิชาอายุรศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัย
มหิดล
นายทะเบียน นายแพทย์สมบัติ ตรีประเสริฐสุข หน่วยทางเดินอาหาร ภาควิชาอายุรศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กรรมการ นายแพทย์พิสิฐ ตั้งกิจวานิชย์ ภาควิชาเคมี คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กรรมการ นายแพทย์เฉลิมรัฐ บัญชรเทวกุล แผนกทางเดินอาหาร กลุ่มงานอายุรกรรม
โรงพยาบาลราชวิถี
กรรมการ นายแพทย์สุนทร ชลประเสริฐสุข หน่วยทางเดินอาหาร ภาควิชาอายุรศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ที่ปรึกษา นายแพทย์เติมชัย ไชยนุวัติ คลีนิกแพทย์สยาม
ที่ปรึกษา แพทย์หญิงชุติมา ประมูลสินทรัพย์ ศูนย์ระบบทางเดินอาหาร โรงพยาบาลพญาไท 1
ที่ปรึกษา แพทย์หญิงวโรชา มหาชัย หน่วยทางเดินอาหาร ภาควิชาอายุรศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ที่ปรึกษา นายแพทย์ยงยุทธ ศิริวัฒนอักษร ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
มหาวิทยาลัยมหิดล
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง
ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
Thailand Practice Guideline for Management of Chronic
Hepatitis C 2016
การประเมินผู้ป่วยที่ตรวจซีรั่ม anti-HCV ให้ผลบวก
๐	ตรวจปริมาณ HCV RNA ในเลือดเพื่อยืนยันการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี
ด้วยวิธีตรวจที่มีความไวสูง สามารถตรวจพบ HCV RNA ได้อย่างน้อย 15 IU/mL
๐	หากตรวจไม่พบ HCV RNA ให้ตรวจ HCV RNA ซ�้ำอีกครั้งที่ 3-6 เดือน
ถัดมา
•	 ถ้าไม่พบ HCV RNA แสดงว่าเป็นภาวะบวกปลอม (false positive)
หรือหายจากการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซีแล้ว ให้ค�ำแนะน�ำและไม่ต้อง
นัดตรวจติดตาม
•	 หากตรวจพบ HCV RNA แสดงว่าเป็นการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ให้
ประเมินดังนี้
-	 ตรวจเลือดประเมินสภาพและการท�ำงานของตับ (Liver Function Test;
LFT), complete blood count และ coagulogram
-	 ตรวจ HBsAg, anti-HBc, anti-HIV และ anti-HAV antibodies
-	 ประเมินความรุนแรงของพังผืดในเนื้อตับด้วยวิธีการที่จะกล่าวต่อไป
-	 ประเมินโรคร่วมอื่นๆ เพื่อพิจารณาแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วย
-	 ตรวจสายพันธุ์ไวรัสตับอักเสบซี(HCVgenotype)เพื่อวางแนวทางการรักษา
	 ข้อแนะน�ำ ให้ตรวจ HCV RNA แม้ว่าการทดสอบ anti-HCV เบื้องต้นให้ผลลบ ใน
กลุ่มผู้ป่วยที่สงสัยการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ฉับพลัน (acute hepatitis C) และผู้ป่วย
ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง ได้แก่ ผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ผู้ป่วยที่ติดเชื้อ HIV หรือผู้ป่วยที่ใช้ยากด
ภูมิคุ้มกัน
Chronic Hepatitis C 2016 7
การตรวจประเมินความรุนแรงของพังผืดในโรคไวรัสตับอักเสบซี
เรื้อรัง
๐	การตรวจประเมินที่บ่งชี้ significant fibrosis
-	 การตรวจชิ้นเนื้อตับประเมินลักษณะทางพยาธิวิทยาพบพังผืดในเนื้อตับตาม
ระบบ METAVIR มากกว่าหรือเท่ากับ 2
-	 ตรวจวัดความยืดหยุ่นของเนื้อตับด้วยtransientelastographyได้ค่ามากกว่า
7.0 kilopascal (kPa)
-	 ตรวจวัดความยืดหยุ่นของเนื้อตับด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (acoustic
radiation force impulse imaging) ได้ค่ามากกว่า 1.2 เมตรต่อวินาที
-	 การตรวจเลือดเพื่อวัดระดับ a-2-macroglobulin, gamma-glutamyl
transpeptidase,apolipoproteinA1,haptoglobinและtotalbilirubin
ร่วมกับน�ำข้อมูลอายุ และเพศของผู้ป่วย ไปค�ำนวณในระบบการตรวจที่เรียก
ว่า Fibrotest®
ได้ค่ามากกว่า 0.48
- 	การตรวจเลือดเพื่อวัดระดับ platelets, a-2-macroglobulin, alanine
aminotransferase, aspartate aminotransferase, gamma-glutamyl
transpeptidase, urea, และ prothrombin index ไปค�ำนวณในระบบการ
ตรวจที่เรียกว่า Fibrometer®
ได้ค่ามากกว่า 0.64
๐	การตรวจประเมินที่บ่งชี้ภาวะตับแข็ง
-	 การตรวจภาพรังสีวินิจฉัยของตับ มีลักษณะบ่งชี้ภาวะตับแข็ง
-	 การตรวจชิ้นเนื้อตับประเมินลักษณะทางพยาธิวิทยาพบพังผืดในเนื้อตับตาม
ระบบ METAVIR เท่ากับ 4
-	 ตรวจวัดความยืดหยุ่นของเนื้อตับด้วยtransientelastographyได้ค่ามากกว่า
หรือเท่ากับ 13 kPa
-	 ตรวจวัดความยืดหยุ่นของเนื้อตับด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (acoustic
radiation force impulse imaging) ได้ค่ามากกว่า 1.8 เมตรต่อวินาที
-	 การตรวจเลือดเพื่อวัดระดับ a-2-macroglobulin, gamma-glutamyl
transpeptidase,apolipoproteinA1,haptoglobinและtotalbilirubin
Chronic Hepatitis C 20168
ร่วมกับน�ำข้อมูลอายุ และเพศของผู้ป่วย ไปค�ำนวณในระบบการตรวจที่เรียก
ว่า Fibrotest®
ได้ค่ามากกว่า 0.74
- 	การตรวจเลือดเพื่อวัดระดับ platelets,  a-2-macroglobulin, alanine
aminotransferase, aspartate aminotransferase, gamma-glutamyl
transpeptidase, urea, และ prothrombin index ไปค�ำนวณในระบบการ
ตรวจที่เรียกว่า Fibrometer®
ได้ค่ามากกว่า 0.78
ข้อบ่งชี้ในการรักษาไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง
๐	ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี ทุกรายควรได้รับการรักษา แต่เนื่องจากมีข้อจ�ำกัดใน
ด้านงบประมาณและบุคลากรที่มีความช�ำนาญในการรักษาเฉพาะโรค จึงต้อง
มีการจัดล�ำดับความส�ำคัญของคนไข้ที่ควรได้รับการรักษาเป็นล�ำดับแรกๆ ก่อน
๐	ไม่มีโรคร่วมอื่นๆ ที่รุนแรงจนส่งผลให้ผู้ป่วยมีอายุขัยที่คาดหวังลดลง
๐	ไม่มีข้อห้ามต่อการรักษา
ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรังที่ควรได้รับการรักษาเป็นล�ำดับแรก
๐	ผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็ง รวมถึงตับแข็งที่เป็นมากแล้ว (decompensated
cirrhosis)
๐	ผู้ป่วยที่มีพังผืดในเนื้อตับในระดับมาก(bridgingfibrosis)ตามระบบMETAVIR
เท่ากับ 3 หรือวิธีการตรวจอื่นที่เทียบเท่า
๐	ผู้ป่วยที่ติดเชื้อ HIV ร่วมด้วย
๐	ผู้ป่วยที่ติดเชื้อ HBV ร่วมด้วย
๐	ผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ในการปลูกถ่ายตับ
๐	ผู้ป่วยที่มีการกลับเป็นซ�้ำของ HCV ภายหลังจากได้รับการปลูกถ่ายตับ
๐	ผู้ป่วยที่มีลักษณะทางคลินิกอื่นๆนอกตับที่รุนแรง
Chronic Hepatitis C 2016 9
ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรังที่ควรได้รับการพิจารณาการรักษาเป็น
ล�ำดับต่อมา
๐	ผู้ป่วยที่มีพังผืดในเนื้อตับระดับที่มีความส�ำคัญ(significantfibrosis)ตามระบบ
METAVIR เท่ากับ 2 หรือวิธีการตรวจอื่นที่เทียบเท่า
๐	ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงที่จะถ่ายทอดเชื้อ HCV ไปให้ผู้อื่น ดังนี้
-	 ผู้หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่วางแผนจะมีบุตร
-	 ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ต้องได้รับการฟอกเลือด
ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรังที่สามารถติดตามต่อเนื่องโดยยัง
ไม่ต้องท�ำการรักษา
๐	ผู้ป่วยที่ยังไม่มีพังผืดในเนื้อตับหรือมีพังผืดเพียงเล็กน้อยตามระบบ METAVIR
เท่ากับ 0 ถึง 1 และไม่มีข้อบ่งชี้อื่นที่จ�ำเป็นต้องรีบได้รับการรักษา
ยารักษาไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรังที่มีในประเทศไทย
-	 Pegylated interferon alfa 2a หรือ 2b
-	 Ribavirin
-	 Boceprevir
-	 Sofosbuvir
-	 Daclatasvir
-	 ยาที่ก�ำลังขึ้นทะเบียน ได้แก่ simeprevir ยาสูตรผสมระหว่าง sofosbuvir
และ ledipasvir ยาสูตรผสมระหว่าง paritaprevir/ritonavir และ ombitasvir
ร่วมกับ dasabuvir
การรักษาการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง
ในผู้ป่วยที่ไม่เคยได้รับการรักษามาก่อน และผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนอง
ต่อการรักษาด้วย pegylated interferon ร่วมกับ ribavirin
การรักษาผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง สายพันธุ์ 1
๐	ผู้ป่วยที่ยังไม่มีภาวะตับแข็ง
	 สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
และ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมกับ sofosbuvir รับประทาน
ขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
	 สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลา
นาน 12 สัปดาห์
	 สูตรที่ 3: ยาสูตรผสมระหว่างsofosbuvirขนาด400มิลลิกรัมและledipasvir
ขนาด 90 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ สามารถ
รักษานานเพียง 8 สัปดาห์ในผู้ป่วยสายพันธุ์ 1b ที่มี HCV RNA ก่อนการรักษา
น้อยกว่า 6,000,000 IU/mL
	 สูตรที่ 4: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ simeprevir รับประทานขนาด 150 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลา
นาน 12 สัปดาห์
	 หมายเหตุ: simeprevir ไม่ให้ไช้ในสายพันธุ์ 1a ที่มี Q80k variant
	 สูตรที่ 5: ยาสูตรผสมระหว่าง paritaprevir ขนาด 150 มิลลิกรัม และ
ritonavir ขนาด 100 มิลลิกรัม และ ombitasvir ขนาด 25 มิลลิกรัม
วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ dasabuvir ขนาด 250 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง
เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
	 หมายเหตุ: ให้ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมด้วยในสายพันธุ์
1a
Chronic Hepatitis C 2016 11
	 ๐	 ผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็ง
	 สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
และ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมกับ sofosbuvir รับประทาน
ขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
	 สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์
สูตรที่ 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ ledipasvir รับประทานขนาด 90 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วม
กับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์
	 สูตรที่ 4: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ simeprevir รับประทานขนาด 150 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์
สูตรที่ 5: ยาสูตรผสมระหว่างparitaprevirขนาด150มิลลิกรัมและritonavir
ขนาด 100 มิลลิกรัม และ ombitasvir ขนาด 25 มิลลิกรัม รับประทานวันละ
1 ครั้ง ร่วมกับ dasabuvir ขนาด 250 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง และ
ribavirin รับประทานวันละ 2ครั้งให้การักษานาน 12สัปดาห์ ส�ำหรับสายพันธุ์
1b และนาน 24 สัปดาห์ส�ำหรับสายพันธุ์ 1a
การรักษาผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง สายพันธุ์ที่ 2
	 ๐	 ผู้ป่วยที่มีหรือไม่มีภาวะตับแข็ง
	 สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
และ ribavirinรับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมกับ sofosbuvir รับ
ประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
Chronic Hepatitis C 201612
สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลา
นาน 12 สัปดาห์
	 สูตรที่ 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละครั้ง
ร่วมกับ ribavirinรับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
ในผู้ป่วยที่ไม่มีตับแข็ง และนาน 16 ถึง 24 สัปดาห์ในผู้ป่วยที่
มีภาวะตับแข็ง
การรักษาผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง สายพันธุ์ที่ 3
	 ๐	 ผู้ป่วยที่ยังไม่มีภาวะตับแข็ง
	 สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
และ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมกับ sofosbuvir รับประทาน
ขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
	 สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 24 สัปดาห์
สูตรที่ 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ
daclatasvirรับประทานขนาด60มิลลิกรัมวันละครั้งเป็นเวลานาน12สัปดาห์
	 ๐	 ผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็ง
	 สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
และ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมกับ sofosbuvir รับประทาน
ขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
	 สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ
ribavirin รับประทานขนาด 1,000-1,200 มิลลิกรัม โดยแบ่งรับประทานวันละ
2 ครั้ง เป็นเวลานาน 16 ถึง 24 สัปดาห์
	 หมายเหตุ: รักษาเป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ในกรณีที่เป็นเพียง bridging
fibrosis
Chronic Hepatitis C 2016 13
การรักษาผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง สายพันธุ์ที่ 4
	 ๐	 ผู้ป่วยที่ยังไม่มีภาวะตับแข็ง
	 สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
และ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมกับ sofosbuvir รับประทาน
ขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
	 สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลา
นาน 12 สัปดาห์
	 สูตรที่ 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ ledipasvir รับประทานขนาด 90 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน
12 สัปดาห์
	 สูตรที่ 4: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ simeprevir รับประทานขนาด 150 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลา
นาน 12 สัปดาห์
	 ๐	 ผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็ง
	 สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
และ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมกับ sofosbuvir รับประทาน
ขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
	 สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์
สูตรที่ 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ ledipasvir รับประทานขนาด 90 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์
Chronic Hepatitis C 201614
สูตรที่ 4: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ simeprevir รับประทานขนาด 150 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์
การรักษาผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง สายพันธุ์ที่ 5
และ 6
	 ๐	 ผู้ป่วยที่ยังไม่มีภาวะตับแข็ง
	 สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
และ ribavirinรับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมกับ sofosbuvir รับประทาน
ขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
	 สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลา
นาน 12 สัปดาห์
	 สูตรที่ 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ ledipasvir รับประทานขนาด 90 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน
12 สัปดาห์
	 ๐	 ผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็ง
	 สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
และ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมกับ sofosbuvir รับประทาน
ขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
	 สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์
สูตรที่ 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ ledipasvir รับประทานขนาด 90 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ
ribavirinรับประทานวันละ2ครั้งเป็นเวลานาน12สัปดาห์ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถ
ใช้ยา ribavirin ได้ ให้การรักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์
Chronic Hepatitis C 2016 15
ตารางสรุปแนวทางการรักษาผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรัง
ผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะตับแข็ง
ไม่มีภาวะ
ตับแข็ง
SOF/Peg/
RBV
SOF/RBV SOF/LDV AbbVie’s SOF/SMP SOF/DCV
G1a 12 สัปดาห์ 8-12
สัปดาห์
12 สัปดาห์
+ RBV
12 สัปดาห์ 12 สัปดาห์
G1b 12 สัปดาห์
G2 12 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ 12 สัปดาห์
G3 12 สัปดาห์ 24 สัปดาห์ 12 สัปดาห์
G4 12 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ 12 สัปดาห์
G5/6 12 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ 12 สัปดาห์
ค�ำย่อ. G, genotype; DCV, daclatasvir; LDV, ledipasvir; Peg, pegylated interferon;
SOF, sofosbuvir; SMP, simeprevir; RBV, ribavirin.
AbbVie’s สูตรยาประกอบด้วย paritaprevir, ritonavir, ombitasvir และ dasabuvir
Chronic Hepatitis C 201616
ผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็ง
มีภาวะตับ
แข็ง
SOF/
Peg/RBV
SOF/
RBV
SOF/LDV AbbVie’s SOF/SMP SOF/DCV
G1a 12
สัปดาห์
24
สัปดาห์
12
สัปดาห์ +
RBV
24
สัปดาห์ +
RBV
24
สัปดาห์
12
สัปดาห์ +
RBV
24 สัปดาห์
12 สัปดาห์
+ RBV
G1b 12
สัปดาห์ +
RBV
G2 12
สัปดาห์
16-20
สัปดาห์
12 สัปดาห์
G3 12
สัปดาห์
16-24
สัปดาห์ +
RBV
G4 12
สัปดาห์
24
สัปดาห์
12
สัปดาห์ +
RBV
24
สัปดาห์
12
สัปดาห์ +
RBV
24 สัปดาห์
12 สัปดาห์
+ RBV
G5/6 12
สัปดาห์
24
สัปดาห์
12
สัปดาห์ +
RBV
24 สัปดาห์
12 สัปดาห์
+ RBV
ค�ำย่อ. G, genotype; DCV, daclatasvir; LDV, ledipasvir; Peg, pegylated interferon;
SOF, sofosbuvir; SMP, simeprevir; RBV, ribavirin.
AbbVie’s สูตรยาประกอบด้วย paritaprevir, ritonavir, ombitasvir และ dasabuvir
Chronic Hepatitis C 2016 17
หมายเหตุ: สูตรยาที่มี pegylated interferon และ/หรือ ribavirin ให้บริหารยาดังนี้
๐	กรณีที่รักษาด้วย pegylated interferon alfa-2a ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนังขนาด
180 ไมโครกรัมสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
	 ร่วมกับ ribavirin รับประทานขนาดวันละ
-	 1,000 มิลลิกรัม ส�ำหรับผู้ป่วยที่มีน�้ำหนักน้อยกว่า 75 กิโลกรัม
-	 1,200 มิลลิกรัม ส�ำหรับผู้ป่วยที่มีน�้ำหนักตั้งแต่ 75 กิโลกรัมขึ้นไป
๐	กรณีที่รักษาด้วย pegylated interferon alfa-2b ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
ขนาด 1 ถึง 1.5 ไมโครกรัมต่อน�้ำหนัก 1 กิโลกรัม สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ ribavirin รับประทานขนาดวันละ
-	 800 มิลลิกรัม ส�ำหรับผู้ป่วยที่มีน�้ำหนักน้อยกว่า 65 กิโลกรัม
-	 1,000 มิลลิกรัม ส�ำหรับผู้ป่วยที่มีน�้ำหนักตั้งแต่ 65 กิโลกรัมถึง 85 กิโลกรัม
-	 1,200มิลลิกรัมส�ำหรับผู้ป่วยที่มีน�้ำหนักมากกว่า85กิโลกรัมถึง105กิโลกรัม
-	 1,400 มิลลิกรัม ส�ำหรับผู้ป่วยที่มีน�้ำหนักตั้งแต่ 105 กิโลกรัมขึ้นไป
๐	กรณีที่รักษาด้วย ribavirin โดยไม่มี pegylated interferon ร่วมด้วย
ให้ขนาดยาเช่นเดียวกับผู้ป่วยที่ใช้ ribavirin ร่วมกับ pegylated interferon
alfa-2a
ข้อห้ามของการรักษาโรคไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ด้วยยา interferon และ ribavirin
-	 ผู้ป่วยตับแข็งที่เป็นมากแล้ว (decompensated cirrhosis)
-	 มีประวัติแพ้ยา interferon และ / หรือ ribavirin
-	 ภาวะซึมเศร้ารุนแรงที่ยังควบคุมไม่ได้
-	 ตั้งครรภ์หรือไม่เต็มใจที่จะยินยอมในการคุมก�ำเนิด
-	 ได้รับการผ่าตัดปลูกถ่ายอวัยวะ ยกเว้นการผ่าตัดเปลี่ยนตับ
-	 มีโรคที่เป็นข้อห้ามต่อการใช้ยา interferon
-	 มีโรคร่วมต่างๆที่ยังรักษาควบคุมโรคได้ไม่ดี เช่นความดันโลหิตสูงเบาหวานโรค
หัวใจและหลอดเลือด ถุงลมโป่งพอง และโรคธัยรอยด์เป็นต้น
Chronic Hepatitis C 201618
การรักษาผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรังสายพันธุ์ที่ 1 ที่ไม่ตอบสนองต่อ
boceprevir
	 สูตรที่ 1: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
ให้ยานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ในผู้ป่วยที่มีพังผืดมาก (bridging fibrosis)
หรือตับแข็ง
	 สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ ledipasvir รับประทานขนาด 90 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วม
กับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
ให้ยานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ในผู้ป่วยที่มีพังผืดมาก (bridging fibrosis)
หรือตับแข็ง
	 สูตรที่ 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ simeprevir รับประทานขนาด 150 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
ให้ยานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ในผู้ป่วยที่มีพังผืดมาก (bridging fibrosis) หรือ
ตับแข็ง
	 สูตรที่ 4: ยาสูตรผสมระหว่าง paritaprevir ขนาด 150 มิลลิกรัม และ
ritonavir ขนาด 100 มิลลิกรัม และ ombitasvir ขนาด 25 มิลลิกรัม
วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ dasabuvir ขนาด 250 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง
ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
ให้ยานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ในผู้ป่วยที่มีพังผืดมาก (bridging fibrosis)
หรือตับแข็ง
Chronic Hepatitis C 2016 19
การรักษาการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในผู้ป่วยกลุ่มพิเศษ
การรักษาผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ที่มีตับแข็งเป็นมากแล้ว
(decompensated cirrhosis)
-	 ยังไม่มีค�ำแนะน�ำการรักษาในผู้ป่วยตับแข็งที่มี Child-Pugh score ระหว่าง 13
ถึง 15
-	 ผู้ป่วยตับแข็งที่มี Child-Pugh score ≤ 12 มีแนวทางการรักษาดังนี้
	 ๐	 ไวรัสตับอักเสบ ซี สายพันธุ์ที่ 1, 4 และ 6
	 สูตรที่ 1: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์
ส่วน ribavirin ให้เริ่มที่ขนาดวันละ 600 มิลลิกรัม แล้วปรับเพิ่มขึ้นครั้งละ 200
มิลลิกรัมทุกสัปดาห์ จนได้ปริมาณที่มากที่สุดที่ทนได้ หรือถึงขนาดที่ควรได้รับ
เช่นเดียวกับผู้ที่ไม่มีตับแข็ง
	 สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ ledipasvir รับประทานขนาด 90 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วม
กับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์
ส่วน ribavirin ให้เริ่มที่ขนาดวันละ 600 มิลลิกรัม แล้วปรับเพิ่มขึ้นครั้งละ 200
มิลลิกรัมทุกสัปดาห์ จนได้ปริมาณที่มากที่สุดที่ทนได้หรือถึงขนาดที่ควรได้รับ
เช่นเดียวกับผู้ที่ไม่มีตับแข็ง
	 สูตรที่ 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ simeprevir รับประทานขนาด 150 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ
daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12
สัปดาห์
Chronic Hepatitis C 201620
	 ๐	 ไวรัสตับอักเสบ ซี สายพันธุ์ที่ 2 และ 3
	 สูตรที่ 1: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 24 สัปดาห์
สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์
การรักษาผู้ป่วยติดเชื้อร่วมไวรัสตับอักเสบ ซี และ HIV
-	 พิจารณาให้การรักษาไวรัสตับอักเสบ ซี เหมือนผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี ที่ไม่มี
การติดเชื้อ HIV ร่วมด้วย
-	 หลีกเลี่ยงการใช้ยาหรือปรับขนาดของยาที่มีปฏิกิริยาระหว่างยาที่ใช้รักษาไวรัส
ตับอักเสบซีและHIVตามค�ำแนะน�ำในเว็บไซด์www.hep-druginteractions.
org/ เรื่อง HEP Drug Interactions
การรักษาผู้ป่วยติดเชื้อร่วมไวรัสตับอักเสบ ซี และ บี
-	 พิจารณาให้การรักษาไวรัสตับอักเสบ ซี เหมือนผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี ที่ไม่มี
การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี ร่วมด้วย
-	 เจาะเลือดติดตามปริมาณ HBV DNA ในเลือด และให้การรักษาเมื่อมีข้อบ่งชี้
ได้แก่ ปริมาณ HBV DNA มากกว่า 2000 IU/mL หรือมีผลเลือดที่แสดงถึงภาวะ
ตับอักเสบ
การรักษาผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ที่มีโรคไตร่วมด้วย
-	 กรณีที่การท�ำงานของไตเสื่อมลงเล็กน้อย (Glomerular Filtration Rate; GFR
มากกว่าหรือเท่ากับ 30 มิลลิลิตร/นาที) สามารถให้การรักษาเหมือนผู้ป่วยที่มี
การท�ำงานของไตปกติ
Chronic Hepatitis C 2016 21
-	 กรณีที่การท�ำงานของไตเสื่อมลงมาก (GFR น้อยกว่า 30 มิลลิลิตร/นาที)
การรักษาด้วยการรับประทานยาต้านไวรัสตับอักเสบ ซี ได้แก่ simeprevir,
daclatasvir,ยาสูตรผสมระหว่างparitaprevirและritonavirและparitaprevir
และ ombitasvir ร่วมกับ dasabuvir สามารถใช้ได้โดยไม่ต้องปรับขนาดยา แต่
แนะน�ำไม่ให้ใช้ sofosbuvir ในผู้ป่วยที่มี GFR น้อยกว่า 30 มิลลิลิตร/นาที โดย
มีแนวทางการรักษาดังนี้
๐	ไวรัสตับอักเสบ ซี สายพันธุ์ที่ 2, 3, 5 และ 6
-	 แนะน�ำให้รอยาสูตรใหม่ที่ได้ผลดีหากไม่มีข้อบ่งชี้ในการรักษาไวรัสตับอักเสบ
ซี ที่เร่งด่วน
-	 หากจ�ำเป็นต้องรีบให้การรักษาและผู้ป่วยไม่มีภาวะตับแข็ง หรือมีตับแข็ง
ระยะต้น (compensated cirrhosis) พิจารณาการรักษาด้วย pegylated
interferon alfa-2a ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนังขนาด 135 ไมโครกรัม สัปดาห์ละ
1 ครั้ง หรือ pegylated interferon alfa-2b ฉีด เข้าชั้นใต้ผิวหนังขนาด
1 ไมโครกรัมต่อน�้ำหนัก 1 กิโลกรัม สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 24
สัปดาห์ ส�ำหรับไวรัสสายพันธุ์ 2 หรือ 3 และรักษานาน 48 สัปดาห์ ส�ำหรับ
ไวรัสสายพันธุ์ 5 หรือ 6
-	 อาจพิจารณาให้ ribavirin แต่ต้องใช้ในขนาดที่ต�่ำและต้องติดตามอย่างใกล้ชิด
เพราะอาจเกิดภาวะโลหิตจางและผลข้างเคียงอื่นได้
๐	ไวรัสตับอักเสบ ซี สายพันธุ์ที่ 1 และ 4
	 ผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะตับแข็ง
-	 Daclatasvirรับประทานขนาด60มิลลิกรัมวันละ1ครั้งร่วมกับasunaprevir
รับประทานขนาด 200 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
	 หมายเหตุ: ได้ผลดีส�ำหรับ สายพันธุ์ 1b เท่านั้น และต้องไม่มีภาวะเกล็ดเลือด
ต�่ำกว่า 80,000 เซลล์/มม.
-	 หากจ�ำเป็นต้องรีบให้การรักษา พิจารณาการรักษาด้วย ยาสูตรผสมระหว่าง
paritaprevir รับประทานขนาด 150 มิลลิกรัม และ ritonavir รับประทาน
ขนาด 100 มิลลิกรัม และ ombitasvir รับประทานขนาด 25 มิลลิกรัม วันละ
Chronic Hepatitis C 201622
1 ครั้ง และ dasabuvir รับประทานขนาด 250 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง ร่วม
กับribavirinรับประทานวันละ2ครั้งแต่ต้องใช้ขนาดยาที่ต�่ำและต้องติดตาม
อย่างใกล้ชิด เพราะอาจเกิดภาวะโลหิตจางและผลข้างเคียงอื่นได้ เป็นเวลา
นาน 12 สัปดาห์
	 ผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็ง
-	 ผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็งระยะต้น (compensated cirrhosis) พิจารณา
การรักษาด้วย pegylated interferon alfa-2a ฉีดเข้า ชั้นใต้ผิวหนัง
ขนาด 135 ไมโครกรัม สัปดาห์ละ 1 ครั้ง หรือ pegylated interferon
alfa-2b ฉีด เข้าชั้นใต้ผิวหนังขนาด 1 ไมโครกรัมต่อน�้ำหนัก 1 กิโลกรัม
สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 48 สัปดาห์ อาจพิจารณาให้ ribavirin แต่
ต้องใช้ขนาดต�่ำและต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เพราะอาจเกิดภาวะโลหิตจาง
และผลข้างเคียงอื่นได้
-	 แนะน�ำให้รอยาสูตรใหม่ที่ได้ผลดี ในกรณีที่มีภาวะตับแข็งที่เป็นมากแล้ว
(decompensated cirrhosis)
การรักษาผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ที่ได้รับการปลูกถ่ายตับ
	 ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ที่รอการปลูกถ่ายตับควรได้รับการรักษาไวรัส
ตับอักเสบ ซี เพื่อป้องกันการติดเชื้อซ�้ำภายหลังการปลูกถ่ายตับ โดยมีแนวทาง
การรักษาดังในผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็งดังที่กล่าวข้างต้น
๐	กรณีที่มีต้องรีบรับการปลูกถ่ายตับได้แก่ตับวายหรือตรวจพบมะเร็งตับร่วมด้วย
-	 ให้การรักษาด้วย sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง จนถึงวันที่ได้รับการปลูกถ่ายตับ
หรือครบระยะเวลาการรักษา และเฝ้าระวังการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ซ�้ำ 
ภายหลังการปลูกถ่ายตับ
-	 ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถรับการรักษาได้หรือได้รับการรักษาไม่ครบระยะ
เวลา ให้ประเมินการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ซ�้ำ ภายหลังการปลูกถ่ายตับ
ภายในช่วง 3-6 เดือน หากมีการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ซ�้ำ ให้การรักษา
ด้วยการรับประทานยาต้านไวรัสตับอักเสบ ซี โดยต้องพิจารณาถึงยาที่อาจ
Chronic Hepatitis C 2016 23
จะมีปฏิกิริยาระหว่างยากดภูมิคุ้มกันที่ผู้ป่วยได้รับหลังจากการปลูกถ่ายตับ
เพื่อปรับชนิดยา หรือขนาดยาให้เหมาะสม โดยให้การรักษาด้วยยาดังกล่าว
เป็นเวลา 12 สัปดาห์
การรักษาผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ซ�้ำหลังได้รับการปลูกถ่ายตับ
ผู้ป่วยที่ติดเชื้อซ�้ำทุกรายควรได้รับการรักษาไวรัสตับอักเสบ ซี โดยมีแนวทางดังนี้
	 ๐	 ไวรัสตับอักเสบ ซี สายพันธุ์ที่ 1, 4 และ 6
	 สูตรที่ 1: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
และdaclatasvirรับประทานขนาด60มิลลิกรัมวันละ1ครั้งร่วมกับribavirin
รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 12 สัปดาห์
	 	 ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์
		 สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
	 	 และ ledipasvir รับประทานขนาด 90 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
	 	 ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
	 	 ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์
		สูตรที่ 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
	 	 ร่วมกับ simeprevir รับประทานขนาด 150 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
	 	 ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
		ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์
	 ๐	 ไวรัสตับอักเสบ ซี สายพันธุ์ที่ 2
	 	 สูตร sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
	 	 ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 ถึง 24 สัปดาห์
	 ๐	 ไวรัสตับอักเสบ ซี สายพันธุ์ที่ 3
	 สูตรที่ 1: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วม
กับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12-24 สัปดาห์
Chronic Hepatitis C 201624
สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 24 สัปดาห์
การรักษาผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ฉับพลัน (acute hepatitis C)
๐	ตรวจ HCV RNA ซ�้ำอีกครั้งที่ 12-16 สัปดาห์ถัดมา
-	 ถ้าไม่พบ HCV RNA แสดงว่าหายจากการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ได้เอง
ให้ค�ำแนะน�ำและไม่ต้องนัดตรวจติดตาม
-	 หากตรวจพบ HCV RNA ให้การรักษาด้วย pegylated interferon
เพียงอย่างเดียว หรือรักษาด้วยการรับประทานยาต้านไวรัสตับอักเสบ ซี
เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ โดยไม่ต้องให้ ribavirin ร่วมด้วย
เอกสารอ้างอิง
1.	 AASLD/IDSA HCV Guidance Panel. Hepatitis C guidance: AASLD-IDSA
recommendations for testing, managing, and treating adults infected
with hepatitis C virus. Hepatology. 2015;62:932-954
2.	 EASL Clinical Practice Guidelines. EASL recommendations on treatment
of hepatitis C 2014. J Hepatol. 2014;61:373-395.
3.	 Bacon BR, Gordon SC, Lawitz E, Marcellin P, Vierling JM, Zeuzem S, et
al. Boceprevir for previously treated chronic HCV genotype 1 infection.
N Engl J Med 2011;364:1207–1217.
4.	 Poordad F, McCone Jr J, Bacon BR, Bruno S, Manns MP, Sulkowski MS,
et al. Boceprevir for untreated chronic HCV genotype 1 infection. N Engl
J Med 2011;364:1195–1206.
5.	 Kamili S, Drobeniuc J, Araujo AC, Hayden TM. Laboratory diagnostics for
hepatitis C virus infection. Clin Infect Dis 2012;55:S43–S48.
6.	 Martinot-Peignoux M, Stern C, Maylin S, Ripault MP, Boyer N, Leclere L,
et al. Twelve weeks post-treatment follow-up is as relevant as 24weeks
Chronic Hepatitis C 2016 25
to determine the sustained virologic response in patients with hepatitis
C virus receiving pegylated interferon and ribavirin. Hepatology 2010;51:
1122–1126.
7.	 Swain MG, Lai MY, Shiffman ML, Cooksley WG, Zeuzem S, Dieterich DT,
et al. A sustained virologic response is durable in patients with chronic
hepatitis C treated with peginterferon alfa-2a and ribavirin. Gastroenter-
ology 2010;139:1593–1601.
8.	 Castera L, Vergniol J, Foucher J, Le Bail B, Chanteloup E, Haaser M, et
al. Prospective comparison of transient elastography, Fibrotest, APRI,
and liver biopsy for the assessment of fibrosis in chronic hepatitis C.
Gastroenterology 2005;128:343–350.
9.	 Chevaliez S, Bouvier-Alias M, Brillet R, Pawlotsky JM. Hepatitis C virus
(HCV) genotype 1 subtype identification in new HCV drug development
and future clinical practice. PLoS One 2009;4:e8209.
10.	Ouwerkerk-Mahadevan S, Simion A, Mortier S, Peeters M, Beumont M.
No clinically significant interaction between the investigational HCV
protease inhibitor TMC435 and the immunosuppressives cyclosporine
and tacrolimus. Hepatology 2012;56, [231A–231A].
11.	LawitzE,MangiaA,WylesD,Rodriguez-TorresM,HassaneinT,GordonSC,
et al. Sofosbuvir for previously untreated chronic hepatitis C infection.
N Engl J Med 2013;368:1878–1887.
12.	Jacobson IM, Dore GJ, Foster GR, Fried MW, Radu M, Rafalsky VV, et
al. Simeprevir with pegylated interferon alfa 2a plus ribavirin in treat-
ment-naive patients with chronic hepatitis C virus genotype 1 infection
(QUEST-1): a phase 3, randomised, double-blind, placebo-controlled
trial. Lancet. 2014;384:403-413
13.	Manns M, Marcellin P, Poordad F, de Araujo ES, Buti M, Horsmans Y,
et al. Simeprevir with pegylated interferon alfa 2a or 2b plus ribavirin
Chronic Hepatitis C 201626
in treatment-naive patients with chronic hepatitis C virus genotype 1
infection (QUEST-2): a randomised, double-blind, placebo-controlled
phase 3 trial. Lancet. 2014;384:414-426.
14.	FornsX,LawitzE,ZeuzemS,GaneE,BronowickiJP,AndreoneP,etal.Simeprevir
with peginterferon and ribavirin leads to high rates of SVR in patients
with HCV genotype 1 who relapsed after previous therapy: a phase 3
trial. Gastroenterology. 2014;146:1669-79.
15.	Hezode C, Hirschfield GM, Ghesquiere W, Sievert W, Rodriguez-Torres
M, Shafran SD, et al. Daclatasvir plus peginterferon alfa and ribavirin
for treatment-naive chronic hepatitis C genotype 1 or 4 infection: a
randomised study. Gut. 2015;64:948-956.
16.	Gane EJ, Stedman CA, Hyland RH, Ding X, Svarovskaia E, Symonds WT, et
al. Nucleotide polymerase inhibitor sofosbuvir plus ribavirin for hepatitis
C. N Engl J Med 2013;368:34–44.
17.	Osinusi A, Meissner EG, Lee YJ, Bon D, Heytens L, Nelson A, et al.
Sofosbuvir and ribavirin for hepatitis C genotype 1 in patients with
unfavorable treatment characteristics: a randomized clinical trial. JAMA
2013;310:804–811.
18.	Lalezari JP, Nelson DR, Hyland RH, Lin M, Rossi SJ, Symonds WT, et
al. Once daily sofosbuvir plus ribavirin for 12 and 24 weeks in treat-
ment-naive patients with HCV infection: the QUANTUM study. J Hepatol
2013;58, S346–S346.
19.	Sulkowski MS, Naggie S, Lalezari J, Fessel WJ, Mounzer K, Shuhart M,
et al; PHOTON-1 Investigators. Sofosbuvir and ribavirin for hepatitis C in
patients with HIV coinfection. JAMA. 2014;312:353-361.
20.	Lawitz E, Sulkowski MS, Ghalib R, Rodriguez-Torres M, Younossi ZM,
Corregidor A, et al. Simeprevir plus sofosbuvir, with or without riba-
virin, to treat chronic infection with hepatitis C virus genotype 1 in
Chronic Hepatitis C 2016 27
non-responderstopegylatedinterferonandribavirinandtreatment-naive
patients: the COSMOS randomised study. Lancet. 2014;384:1756-1765.
21.	Sulkowski MS, Gardiner DF, Rodriguez-Torres M, Reddy KR, Hassanein T,
Jacobson I, et al. Daclatasvir plus sofosbuvir for previously treated or
untreated chronic HCV infection. N Engl J Med 2014;370:211–221.
22.	Fontana RJ, Hughes EA, Bifano M, Appelman H, Dimitrova D, Hindes R, et
al. Sofosbuvir and daclatasvir combination therapy in a liver transplant
recipient with severe recurrent cholestatic hepatitis C. Am J Transplant
2013;13:1601–1605.
23.	Jacobson IM, Gordon SC, Kowdley KV, Yoshida EM, Rodriguez-Torres
M, Sulkowski MS, et al. Sofosbuvir for hepatitis C genotype 2 or 3 in
patients without treatment options. N Engl J Med 2013;368:1867–1877.
24.	Zeuzem S, Dusheiko GM, Salupere R, Mangia A, Flisiak R, Hyland RH, et
al; VALENCE Investigators. Sofosbuvir and ribavirin in HCV genotypes 2
and 3. N Engl J Med. 2014;370:1993-2001.
25.	Lawitz E, Poordad F, Brainard DM, Hyland RH, An D, Dvory-Sobol H,
et al. Sofosbuvir with peginterferon-ribavirin for 12 weeks in previ-
ously treated patients with hepatitis C genotype 2 or 3 and cirrhosis.
Hepatology. 2015;61:769-775.
26.	Lawitz E, Lalezari JP, Hassanein T, Kowdley KV, Poordad FF, Sheikh AM,
et al. Sofosbuvir in combination with peginterferon alfa-2a and ribavirin
for noncirrhotic, treatment-naive patients with genotypes 1, 2, and 3
hepatitis C infection: a randomised, double-blind, phase 2 trial. Lancet
Infect Dis 2013;13:401–408.
27.	Ruane PJ, Ain D, Stryker R, Meshrekey R, Soliman M, Wolfe PR, et al.
Sofosbuvir plus ribavirin for the treatment of chronic genotype 4
hepatitis C virus infection in patients of Egyptian ancestry. J Hepatol.
2015;62:1040-1046.
Chronic Hepatitis C 201628
28.	ChevaliezS,Bouvier-AliasM,BrilletR,PawlotskyJM.Overestimationand
underestimationofhepatitisCvirusRNAlevelsinawidelyusedreal-time
polymerase chain reaction-based method. Hepatology 2007;46: 22–31.
29.	Sarrazin C, Shiffman ML, Hadziyannis SJ, Lin A, Colucci G, Ishida H, et al.
Definition of rapid virologic response with a highly sensitive real-time
PCRbasedHCVRNAassayinpeginterferonalfa-2aplusribavirinresponse
guided therapy. J Hepatol 2010;52:832–838.
30.	Vermehren J, Kau A, Gartner BC, Gobel R, Zeuzem S, Sarrazin C. Differ-
ences between two real-time PCR-based hepatitis C virus (HCV) assays
(RealTime HCV and Cobas AmpliPrep/Cobas TaqMan) and one signal
amplification assay (Versant HCV RNA 3.0) for RNA detection and quan-
tification. J Clin Microbiol 2008;46:3880–3891.
31.	Fried MW. Side effects of therapy of hepatitis C and their management.
Hepatology 2002;36:S237–S244.
32.	Fried MW, Shiffman ML, Reddy KR, Smith C, Marinos G, Goncales Jr FL,
et al. Peginterferon alfa-2a plus ribavirin for chronic hepatitis C virus
infection. N Engl J Med 2002;347:975–982.
33.	Hadziyannis SJ, Sette Jr H, Morgan TR, Balan V, Diago M, Marcellin P, et
al. Peginterferon-alpha2a and ribavirin combination therapy in chronic
hepatitisC:arandomizedstudyoftreatmentdurationandribavirindose.
Ann Intern Med 2004;140:346–355.
34.	MannsMP,McHutchisonJG,GordonSC,RustgiVK,ShiffmanM,Reindollar
R, et al. Peginterferon alfa-2b plus ribavirin compared with interferon
alfa-2b plus ribavirin for initial treatment of chronic hepatitis C: a ran-
domised trial. Lancet 2001;358:958–965.
35.	Sulkowski MS, Poordad F, Manns MP, Bronowicki JP, Rajender Reddy K,
Harrison SA, et al. Anemia during treatment with peginterferon alfa-2b/
ribavirin and boceprevir: analysis from the serine protease inhibitor
therapy 2 (SPRINT-2) trial. Hepatology 2013;57:974–984.
Chronic Hepatitis C 2016 29
36.	Grebely J, Pham ST, Matthews GV, Petoumenos K, Bull RA, Yeung B,
et al. Hepatitis C virus reinfection and superinfection among treated
and untreated participants with recent infection. Hepatology 2012;55:
1058–1069.
37.	Barnard RJ, Howe JA, Ogert RA, Zeuzem S, Poordad F, Gordon SC, et al.
Analysis of boceprevir resistance associated amino acid variants (RAVs)
in two phase 3 boceprevir clinical studies. Virology 2013;444:329–336.
38.	McPhee F, Hernandez D, Yu F, Ueland J, Monikowski A, Carifa A, et al.
Resistance analysis of hepatitis C virus genotype 1 prior treatment null
responders receiving daclatasvir and asunaprevir. Hepatology 2013;58:
902–911.
39.	Wang C, Sun JH, O’Boyle 2nd DR, Nower P, Valera L, Roberts S, et al.
Persistence of resistant variants in hepatitis C virus-infected patients
treated with the NS5A replication complex inhibitor daclatasvir. Anti-
microb Agents Chemother 2013;57:2054–2065.
40.	Singal AG,VolkML,Jensen D,DiBisceglie AM,Schoenfeld PS.Asustained
viral response is associated with reduced liver-related morbidity and
mortality in patients with hepatitis C virus. Clin Gastroenterol Hepatol
2010;8:280–288.
41.	van der Meer AJ, Veldt BJ, Feld JJ, Wedemeyer H, Dufour JF, Lammert F,
et al. Association between sustained virological response and all-cause
mortality among patients with chronic hepatitis Candadvanced hepatic
fibrosis. JAMA 2012;308:2584–2593.
42.	Garcia-Retortillo M, Forns X, Feliu A, Moitinho E, Costa J, Navasa M, et
al. Hepatitis C virus kinetics during and immediately after liver trans-
plantation. Hepatology 2002;35:680–687.
43.	Curry MP, Forns X, Chung RT, Terrault NA, Brown R Jr, Fenkel JM, et al.
Sofosbuvir and ribavirin prevent recurrence of HCV infection after
liver transplantation: an open-label study. Gastroenterology. 2015;
Chronic Hepatitis C 201630
148:100-107.  
44.	Lens S, Gambato M, Londono MC, Forns X. Interferon-free regimens in
the liver transplant setting. Semin Liver Dis 2014;34:58-71.
45.	Forman LM, Lewis JD, Berlin JA, Feldman HI, Lucey MR. The associa-
tion between hepatitis C infection and survival after orthotopic liver
transplantation. Gastroenterology 2002;122:889–896.
46.	Prieto M, Berenguer M, Rayon JM, Cordoba J, Arguello L, Carrasco D, et
al. High incidence of allograft cirrhosis in hepatitis C virus genotype 1b
infectionfollowingtransplantation:relationshipwithrejectionepisodes.
Hepatology 1999;29:250–256.
47.	Berenguer M, Palau A, Aguilera V, Rayon JM, Juan FS, Prieto M. Clini-
cal benefits of antiviral therapy in patients with recurrent hepatitis C
following liver transplantation. Am J Transplant 2008;8:679–687.
48.	Blasco A, Forns X, Carrion JA, Garcia-Pagan JC, Gilabert R, Rimola A,
et al. Hepatic venous pressure gradient identifies patients at risk of
severe hepatitis C recurrence after liver transplantation. Hepatology
2006;43: 492–499.
49.	NeumannUP,BergT,BahraM,SeehoferD,LangrehrJM,NeuhausR,etal.
Fibrosis progression after liver transplantation in patients with recurrent
hepatitis C. J Hepatol 2004;41:830–836.
50.	Potthoff A, Berg T, Wedemeyer H. Late hepatitis B virus relapse in
patients co-infected with hepatitis B virus and hepatitis C virus after
antiviral treatment with pegylated interferon-alpha2b and ribavirin.
Scand J Gastroenterol 2009;44:1487–1490.
51.	Scott DR, Wong JK, Spicer TS, Dent H, Mensah FK, McDonald S, et al.
Adverse impact of hepatitis C virus infection on renal replacement
therapy and renal transplant patients in Australia and New Zealand.
Transplantation 2010;90:1165–1171.
Chronic Hepatitis C 2016 31
52.	Gane E, Pilmore H. Management of chronic viral hepatitis before and
after renal transplantation. Transplantation 2002;74:427–437.
53.	Van Wagner LB, Baker T, Ahya SN, Norvell JP, Wang E, Levitsky J.
Outcomes of patients with hepatitis C undergoing simultaneous
liver-kidney transplantation. J Hepatol 2009;51:874–880.
54.	Grebely J, Raffa JD, Lai C, Kerr T, Fischer B, Krajden M, et al. Impact of
hepatitis C virus infection on all-cause and liver-related mortality in
a large community-based cohort of inner city residents. J Viral Hepat
2011;18:32–41.
55.	Hagan H, Pouget ER, Des Jarlais DC, Lelutiu-Weinberger C. Meta-regres-
sion of hepatitis C virus infection in relation to time since onset of illicit
drug injection: the influence of time and place. Am J Epidemiol
2008;168:1099–1109.
56.	Nelson PK, Mathers BM, Cowie B, Hagan H, Des Jarlais D, Horyniak D, et
al. Global epidemiology of hepatitis B and hepatitis C in people who
inject drugs: results of systematic reviews. Lancet 2011;378:571–583.
57.	Deterding K, Gruner N, Buggisch P, Wiegand J, Galle PR, Spengler
U, et al. Delayed vs. immediate treatment for patients with acute
hepatitis C: a randomised controlled non-inferiority trial. Lancet Infect
Dis 2013;13:497–506.
58.	Kamal SM. Acute hepatitis C: a systematic review. Am J Gastroenterol
2008;103:1283–1297.
59.	Mondelli MU, Cerino A, Cividini A. Acute hepatitis C: diagnosis and
management. J Hepatol 2005;42:S108–S114.
60.	Santantonio T, Wiegand J, Gerlach JT. Acute hepatitis C: current status
and remaining challenges. J Hepatol 2008;49:625–633.
61.	Wiegand J, Jackel E, Cornberg M, Hinrichsen H, Dietrich M, Kroeger J,
et al. Long-term follow-up after successful interferon therapy of acute
hepatitis C. Hepatology 2004;40:98–107.
Chronic Hepatitis C 201632
62.	Camma C, Almasio P, Craxi A. Interferon as treatment for acute hepatitis
C. A meta-analysis. Dig Dis Sci 1996;41:1248–1255.
63.	GerlachJT,DiepolderHM,ZachovalR,GruenerNH,JungMC,Ulsenheimer
A, et al. Acute hepatitis C: high rate of both spontaneous and treatment
induced viral clearance. Gastroenterology 2003;125:80–88.
64.	Micallef JM, Kaldor JM, Dore GJ. Spontaneous viral clearance following
acute hepatitis C infection: a systematic review of longitudinal studies.
J Viral Hepat 2006;13:34–41.
65.	Poynard T, Regimbeau C, Myers RP, Thevenot T, Leroy V, Mathurin
P, et al. Interferon for acute hepatitis C. Cochrane Database Syst Rev
2002;1:CD000369.
66.	Hofer H, Watkins-Riedel T, Janata O, Penner E, Holzmann H, Steindl-
Munda P, et al. Spontaneous viral clearance in patients with acute
hepatitis C can be predicted by repeated measurements of serum viral
load. Hepatology 2003;37:60–64.
แนวทางการดูแลรักษา
ผูปวยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย
ป พ.ศ. 2559
ÊÁÒ¤ÁâäµÑºáË‹§»ÃÐà·Èä·Â
Thailand Practice Guideline for Management
of Chronic Hepatitis C 2016

Recomendados

แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง por
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง Utai Sukviwatsirikul
21.3K vistas9 diapositivas
Thailand guideline for management of chb and chc 2015 por
Thailand guideline for management of chb  and chc 2015Thailand guideline for management of chb  and chc 2015
Thailand guideline for management of chb and chc 2015Utai Sukviwatsirikul
7.6K vistas74 diapositivas
24.hbv and hcv guideline 2012 (update) por
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)Aimmary
2.1K vistas54 diapositivas
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557 por
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557Utai Sukviwatsirikul
68.6K vistas60 diapositivas
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง por
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
11.2K vistas48 diapositivas

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561 por
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561Kamol Khositrangsikun
23.5K vistas52 diapositivas
Renal Failure por
Renal FailureRenal Failure
Renal FailureAsst.Prof.Dr.Terdsak Rojsurakitti
11.6K vistas23 diapositivas
คู่มือมะเร็งชุด1 por
คู่มือมะเร็งชุด1คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1THANAKORN
1.9K vistas5 diapositivas
Part 2 - PD guideline Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattaya por
Part 2 - PD guideline  Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattayaPart 2 - PD guideline  Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattaya
Part 2 - PD guideline Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattayaKamol Khositrangsikun
11K vistas128 diapositivas
Ckd 2009 por
Ckd 2009Ckd 2009
Ckd 2009Hummd Mdhum
294 vistas48 diapositivas
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี por
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีCAPD AngThong
1.8K vistas45 diapositivas

La actualidad más candente(17)

แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561 por Kamol Khositrangsikun
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
Kamol Khositrangsikun23.5K vistas
คู่มือมะเร็งชุด1 por THANAKORN
คู่มือมะเร็งชุด1คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1
THANAKORN1.9K vistas
Part 2 - PD guideline Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattaya por Kamol Khositrangsikun
Part 2 - PD guideline  Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattayaPart 2 - PD guideline  Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattaya
Part 2 - PD guideline Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattaya
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี por CAPD AngThong
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
CAPD AngThong1.8K vistas
Centre management - PD quality นพ.สกานต์ por Kamol Khositrangsikun
Centre management -  PD quality นพ.สกานต์Centre management -  PD quality นพ.สกานต์
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
Kamol Khositrangsikun1.6K vistas
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล... por Utai Sukviwatsirikul
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai... por CAPD AngThong
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
CAPD AngThong4.6K vistas
แนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพ por CAPD AngThong
แนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพแนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพ
แนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพ
CAPD AngThong3.7K vistas
ตับอักเสบ (ผศ.นพ.วาฑิต วัฒนศัพท์) por daeng
ตับอักเสบ (ผศ.นพ.วาฑิต วัฒนศัพท์)ตับอักเสบ (ผศ.นพ.วาฑิต วัฒนศัพท์)
ตับอักเสบ (ผศ.นพ.วาฑิต วัฒนศัพท์)
daeng817 vistas
ติวเด็ก por Rofus Yakoh
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
Rofus Yakoh124.3K vistas
Ckd เขต 4 เมาายน 2559 por CAPD AngThong
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
CAPD AngThong1.4K vistas
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน por Ziwapohn Peecharoensap
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้านเลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน por Utai Sukviwatsirikul
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชนคู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
Utai Sukviwatsirikul5.6K vistas
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง por Tuang Thidarat Apinya
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
Tuang Thidarat Apinya4.7K vistas

Destacado

ประมาณการธุรกิจขายยา por
ประมาณการธุรกิจขายยาประมาณการธุรกิจขายยา
ประมาณการธุรกิจขายยาUtai Sukviwatsirikul
1.1K vistas11 diapositivas
Drugstore Market Overview Utai Sukviwatsirikul por
Drugstore Market Overview Utai SukviwatsirikulDrugstore Market Overview Utai Sukviwatsirikul
Drugstore Market Overview Utai SukviwatsirikulUtai Sukviwatsirikul
867 vistas15 diapositivas
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื... por
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...Utai Sukviwatsirikul
2.8K vistas42 diapositivas
Cpg osteoarthritis of knee 2554 por
Cpg osteoarthritis of knee 2554Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554Utai Sukviwatsirikul
1.5K vistas77 diapositivas
Cirrhotic Ascites Review por
Cirrhotic Ascites Review   Cirrhotic Ascites Review
Cirrhotic Ascites Review Brian Lee
4.2K vistas81 diapositivas
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559 por
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559Utai Sukviwatsirikul
4.5K vistas124 diapositivas

Destacado(15)

ประมาณการธุรกิจขายยา por Utai Sukviwatsirikul
ประมาณการธุรกิจขายยาประมาณการธุรกิจขายยา
ประมาณการธุรกิจขายยา
Utai Sukviwatsirikul1.1K vistas
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื... por Utai Sukviwatsirikul
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
Utai Sukviwatsirikul2.8K vistas
Cirrhotic Ascites Review por Brian Lee
Cirrhotic Ascites Review   Cirrhotic Ascites Review
Cirrhotic Ascites Review
Brian Lee4.2K vistas
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559 por Utai Sukviwatsirikul
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
Utai Sukviwatsirikul4.5K vistas
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559 por Utai Sukviwatsirikul
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
Utai Sukviwatsirikul7.6K vistas
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ por Utai Sukviwatsirikul
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุแนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
Utai Sukviwatsirikul12.1K vistas
ศรว 51 By Cmu por vora kun
ศรว 51 By Cmuศรว 51 By Cmu
ศรว 51 By Cmu
vora kun3.2K vistas
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ por Utai Sukviwatsirikul
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
Utai Sukviwatsirikul11.5K vistas
Chest radiology in intensive care por Andrew Ferguson
Chest radiology in intensive careChest radiology in intensive care
Chest radiology in intensive care
Andrew Ferguson32.3K vistas
Radiology signs por Nitin Jain
Radiology signsRadiology signs
Radiology signs
Nitin Jain38K vistas
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554 por Utai Sukviwatsirikul
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
Utai Sukviwatsirikul157.5K vistas

Similar a Thailand practice hep c guideline 2016

CPG for hepatocellular carcinoma por
CPG for hepatocellular carcinomaCPG for hepatocellular carcinoma
CPG for hepatocellular carcinomaUtai Sukviwatsirikul
678 vistas50 diapositivas
Thailand guideline for hepatocellular carcinoma por
Thailand guideline for hepatocellular carcinomaThailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinomaUtai Sukviwatsirikul
1.4K vistas50 diapositivas
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558 por
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558Utai Sukviwatsirikul
3.3K vistas50 diapositivas
httpswww.gastrothai.netsourcecontent-file178.Thailand20Guideline20for20Hepato... por
httpswww.gastrothai.netsourcecontent-file178.Thailand20Guideline20for20Hepato...httpswww.gastrothai.netsourcecontent-file178.Thailand20Guideline20for20Hepato...
httpswww.gastrothai.netsourcecontent-file178.Thailand20Guideline20for20Hepato...PatthanitBunmongkonp
24 vistas50 diapositivas
07 por
0707
07Adilan Wittaya Islam
3.6K vistas132 diapositivas
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง por
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
5.8K vistas54 diapositivas

Similar a Thailand practice hep c guideline 2016(20)

แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558 por Utai Sukviwatsirikul
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
Utai Sukviwatsirikul3.3K vistas
httpswww.gastrothai.netsourcecontent-file178.Thailand20Guideline20for20Hepato... por PatthanitBunmongkonp
httpswww.gastrothai.netsourcecontent-file178.Thailand20Guideline20for20Hepato...httpswww.gastrothai.netsourcecontent-file178.Thailand20Guideline20for20Hepato...
httpswww.gastrothai.netsourcecontent-file178.Thailand20Guideline20for20Hepato...
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง por Utai Sukviwatsirikul
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
Utai Sukviwatsirikul5.8K vistas
Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559 por Kamol Khositrangsikun
Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559
Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557 por Utai Sukviwatsirikul
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557
คู่มือให้บริการ รพสต por sivapong klongpanich
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
sivapong klongpanich38.9K vistas
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555 por Utai Sukviwatsirikul
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
Utai Sukviwatsirikul5.9K vistas
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน por Vorawut Wongumpornpinit
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ por แผนงาน นสธ.
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook por Utai Sukviwatsirikul
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต por Utai Sukviwatsirikul
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต por Tuang Thidarat Apinya
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
Tuang Thidarat Apinya3.7K vistas
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต por Utai Sukviwatsirikul
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
Utai Sukviwatsirikul1.9K vistas
ประชุมวิชาการครั้งที่14 por karan boobpahom
ประชุมวิชาการครั้งที่14ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
karan boobpahom715 vistas

Más de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน por
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
3.1K vistas36 diapositivas
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน por
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
3.2K vistas46 diapositivas
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ... por
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
1.4K vistas17 diapositivas
Supply chain management por
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain managementUtai Sukviwatsirikul
1K vistas24 diapositivas
Best practice in communication por
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communicationUtai Sukviwatsirikul
2.2K vistas139 diapositivas
Basic communication skills 2554 por
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Utai Sukviwatsirikul
1.8K vistas38 diapositivas

Más de Utai Sukviwatsirikul(20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน por Utai Sukviwatsirikul
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Utai Sukviwatsirikul3.1K vistas
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน por Utai Sukviwatsirikul
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Utai Sukviwatsirikul3.2K vistas
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ... por Utai Sukviwatsirikul
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
Utai Sukviwatsirikul1.4K vistas
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea por Utai Sukviwatsirikul
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic) por Utai Sukviwatsirikul
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
Utai Sukviwatsirikul3.8K vistas
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi... por Utai Sukviwatsirikul
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr... por Utai Sukviwatsirikul
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ... por Utai Sukviwatsirikul
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง por Utai Sukviwatsirikul
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ความรู้เรื่องโรคไต por Utai Sukviwatsirikul
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔) por Utai Sukviwatsirikul
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
Utai Sukviwatsirikul2.1K vistas
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ por Utai Sukviwatsirikul
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
Utai Sukviwatsirikul2.8K vistas
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน por Utai Sukviwatsirikul
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน

Thailand practice hep c guideline 2016

  • 1. แนวทางการดูแลรักษา ผูปวยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ป พ.ศ. 2559 ÊÁÒ¤ÁâäµÑºáË‹§»ÃÐà·Èä·Â Thailand Practice Guideline for Management of Chronic Hepatitis C 2016
  • 2. แนวทางการดูแลรักษา ผูปวยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ป พ.ศ. 2559 ÊÁÒ¤ÁâäµÑºáË‹§»ÃÐà·Èä·Â Thailand Practice Guideline for Management of Chronic Hepatitis C 2016
  • 3. พิมพ์ครั้งที่ 1 เมษายน 2559 จ�ำนวน 3,000 เล่ม มิถุนายน 2558 จ�ำนวน ISBN 978-616-279-833-7 978-616-279-685-2 ผู้จัดพิมพ์เผยแพร่ สมาคมโรคตับแห่งประเทศไทย เลขที่ 1575/1 ชั้น 4 อาคารชัยสงวน ถ. เพชรบุรีตัดใหม่ มักกะสัน ราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 พิมพ์ที่ ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ภาพพิมพ์ 45/12-14, 33 หมู่ 4 ถนนบางกรวย-จงถนอม ต�ำบลบางขนุน อ�ำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี 11130 โทรศัพท์ 02-879-9154-6 โทรสาร 02-879-9153 parbpim@gmail.com www.parbpim.com แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559 Thailand Practice Guideline for Management of Chronic Hepatitis C 2016
  • 4. แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรัง ได้มีการทบทวนใหม่ ในปี พ.ศ. 2558 อย่างไรก็ตาม เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงการรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซี อย่างมากและในปีที่ผ่านมาได้มียาใหม่ๆ ขึ้นทะเบียนส�ำหรับการรักษาไวรัสตับอักเสบซี ในประเทศไทยหลายชนิด จึงจ�ำเป็นต้องมีการปรับปรุงแนวทางการรักษาผู้ป่วยไวรัสตับ อักเสบซีขึ้นใหม่ ทั้งนี้แนวทางการรักษาไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรังฉบับนี้ นับเป็นแนวทาง การรักษาที่มีการปรับปรุงใหม่เร็วที่สุด นับตั้งแต่มีการจัดท�ำแนวทางการรักษาขึ้นมาใน ประเทศไทย เนื่องจากแนวทางการรักษาฉบับก่อนได้ถูกเผยแพร่ในระยะเวลาไม่ถึงปี รวมทั้งยังเป็นแนวทางการรักษาที่มีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุด เนื่องจากการรักษาด้วย ยาชนิดใหม่ๆ ได้เปลี่ยนจากยาฉีดอินเตอร์เฟอรอนมาเป็นยารับประทานทั้งหมด เพื่อให้ แนวทางการรักษาไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรังในประเทศไทยมีความทันสมัยและเป็นแนวทาง ที่แพทย์ทั่วไปสามารถน�ำไปปฏิบัติได้ จึงได้จัดท�ำแนวทางการรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซีในประเทศไทย ฉบับปี พ.ศ. 2559 ขึ้นมา ทางสมาคมฯ ต้องขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์นายแพทย์ธีระ พิรัชวิสุทธิ์ และรองศาสตราจารย์นายแพทย์พูลชัยจรัสเจริญวิทยาที่ช่วยเป็นหัวแรงในการปรับปรุง แนวทางการรักษาฉบับนี้ขึ้นมา โดยแนวทางการรักษามีความกระชับและง่ายต่อการ ปฏิบัติ ทางสมาคมฯ หวังว่า แนวทางการรักษาไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรังในประเทศไทยปี พ.ศ. 2559 นี้ จะเป็นประโยชน์กับแพทย์ทั่วไป แพทย์ระบบทางเดินอาหาร และผู้สนใจ ทุกท่าน ในการน�ำไปเป็นแนวทางปฏิบัติ และรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรังต่อไป รองศาสตราจารย์นายแพทย์ทวีศักดิ์ แทนวันดี นายกสมาคมโรคตับแห่งประเทศไทย ค�ำน�ำ
  • 6. คณะกรรมการสมาคมโรคตับแห่งประเทศไทยวาระบริหารปี พ.ศ. 2558-2559 นายกสมาคม นายแพทย์ทวีศักดิ์ แทนวันดี สาขาวิชาโรคระบบทางเดินอาหาร คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล อุปนายก แพทย์หญิงวัฒนา สุขีไพศาลเจริญ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เลขาธิการ นายแพทย์ชินวัตร์ สุทธิวนา กองอายุรกรรม แผนกทางเดินอาหาร โรงพยาบาลภูมิพลฯ ปฏิคม นายแพทย์ทีปวิทย์ วิถีรุ่งโรจน์ หน่วยโรคระบบทางเดินอาหาร ถุงน�้ำดีและตับภาควิชา อายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ เหรัญญิก แพทย์หญิงศิวะพร ไชยนุวัติ สาขาวิชาโรคระบบทางเดินอาหาร คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ประธานฝ่าย วิชาการและการ ศึกษาต่อเนื่อง นายแพทย์ธีระ พีรัชวิสุทธิ์ หน่วยโรคระบบทางเดินอาหาร ถุงน�้ำดีและตับภาควิชา อายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ประธานฝ่ายวิจัย นายแพทย์พูลชัย จรัสเจริญวิทยา สาขาวิชาโรคระบบทางเดินอาหาร คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ประธานฝ่าย วารสาร นายแพทย์ปิยะวัฒน์ โกมลมิศร์ หน่วยทางเดินอาหาร ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธานฝ่าย จริยธรรม นายแพทย์ศตวรรษ ทองสวัสดิ์ หน่วยวิชาระบบทางเดินอาหาร ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประธานฝ่ายเงิน ออม พลตรีนายแพทย์อนุชิต จูฑะพุทธิ หน่วยโรคทางเดินอาหารและตับ กองอายุรกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ประธานฝ่าย ประชาสัมพันธ์ แพทย์หญิงอาภัสณี โสภณสฤษฎ์สุข หน่วยทางเดินอาหาร ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัย มหิดล นายทะเบียน นายแพทย์สมบัติ ตรีประเสริฐสุข หน่วยทางเดินอาหาร ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการ นายแพทย์พิสิฐ ตั้งกิจวานิชย์ ภาควิชาเคมี คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการ นายแพทย์เฉลิมรัฐ บัญชรเทวกุล แผนกทางเดินอาหาร กลุ่มงานอายุรกรรม โรงพยาบาลราชวิถี กรรมการ นายแพทย์สุนทร ชลประเสริฐสุข หน่วยทางเดินอาหาร ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่ปรึกษา นายแพทย์เติมชัย ไชยนุวัติ คลีนิกแพทย์สยาม ที่ปรึกษา แพทย์หญิงชุติมา ประมูลสินทรัพย์ ศูนย์ระบบทางเดินอาหาร โรงพยาบาลพญาไท 1 ที่ปรึกษา แพทย์หญิงวโรชา มหาชัย หน่วยทางเดินอาหาร ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ปรึกษา นายแพทย์ยงยุทธ ศิริวัฒนอักษร ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 7. แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559 Thailand Practice Guideline for Management of Chronic Hepatitis C 2016 การประเมินผู้ป่วยที่ตรวจซีรั่ม anti-HCV ให้ผลบวก ๐ ตรวจปริมาณ HCV RNA ในเลือดเพื่อยืนยันการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ด้วยวิธีตรวจที่มีความไวสูง สามารถตรวจพบ HCV RNA ได้อย่างน้อย 15 IU/mL ๐ หากตรวจไม่พบ HCV RNA ให้ตรวจ HCV RNA ซ�้ำอีกครั้งที่ 3-6 เดือน ถัดมา • ถ้าไม่พบ HCV RNA แสดงว่าเป็นภาวะบวกปลอม (false positive) หรือหายจากการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซีแล้ว ให้ค�ำแนะน�ำและไม่ต้อง นัดตรวจติดตาม • หากตรวจพบ HCV RNA แสดงว่าเป็นการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ให้ ประเมินดังนี้ - ตรวจเลือดประเมินสภาพและการท�ำงานของตับ (Liver Function Test; LFT), complete blood count และ coagulogram - ตรวจ HBsAg, anti-HBc, anti-HIV และ anti-HAV antibodies - ประเมินความรุนแรงของพังผืดในเนื้อตับด้วยวิธีการที่จะกล่าวต่อไป - ประเมินโรคร่วมอื่นๆ เพื่อพิจารณาแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วย - ตรวจสายพันธุ์ไวรัสตับอักเสบซี(HCVgenotype)เพื่อวางแนวทางการรักษา ข้อแนะน�ำ ให้ตรวจ HCV RNA แม้ว่าการทดสอบ anti-HCV เบื้องต้นให้ผลลบ ใน กลุ่มผู้ป่วยที่สงสัยการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ฉับพลัน (acute hepatitis C) และผู้ป่วย ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง ได้แก่ ผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ผู้ป่วยที่ติดเชื้อ HIV หรือผู้ป่วยที่ใช้ยากด ภูมิคุ้มกัน
  • 8. Chronic Hepatitis C 2016 7 การตรวจประเมินความรุนแรงของพังผืดในโรคไวรัสตับอักเสบซี เรื้อรัง ๐ การตรวจประเมินที่บ่งชี้ significant fibrosis - การตรวจชิ้นเนื้อตับประเมินลักษณะทางพยาธิวิทยาพบพังผืดในเนื้อตับตาม ระบบ METAVIR มากกว่าหรือเท่ากับ 2 - ตรวจวัดความยืดหยุ่นของเนื้อตับด้วยtransientelastographyได้ค่ามากกว่า 7.0 kilopascal (kPa) - ตรวจวัดความยืดหยุ่นของเนื้อตับด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (acoustic radiation force impulse imaging) ได้ค่ามากกว่า 1.2 เมตรต่อวินาที - การตรวจเลือดเพื่อวัดระดับ a-2-macroglobulin, gamma-glutamyl transpeptidase,apolipoproteinA1,haptoglobinและtotalbilirubin ร่วมกับน�ำข้อมูลอายุ และเพศของผู้ป่วย ไปค�ำนวณในระบบการตรวจที่เรียก ว่า Fibrotest® ได้ค่ามากกว่า 0.48 - การตรวจเลือดเพื่อวัดระดับ platelets, a-2-macroglobulin, alanine aminotransferase, aspartate aminotransferase, gamma-glutamyl transpeptidase, urea, และ prothrombin index ไปค�ำนวณในระบบการ ตรวจที่เรียกว่า Fibrometer® ได้ค่ามากกว่า 0.64 ๐ การตรวจประเมินที่บ่งชี้ภาวะตับแข็ง - การตรวจภาพรังสีวินิจฉัยของตับ มีลักษณะบ่งชี้ภาวะตับแข็ง - การตรวจชิ้นเนื้อตับประเมินลักษณะทางพยาธิวิทยาพบพังผืดในเนื้อตับตาม ระบบ METAVIR เท่ากับ 4 - ตรวจวัดความยืดหยุ่นของเนื้อตับด้วยtransientelastographyได้ค่ามากกว่า หรือเท่ากับ 13 kPa - ตรวจวัดความยืดหยุ่นของเนื้อตับด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (acoustic radiation force impulse imaging) ได้ค่ามากกว่า 1.8 เมตรต่อวินาที - การตรวจเลือดเพื่อวัดระดับ a-2-macroglobulin, gamma-glutamyl transpeptidase,apolipoproteinA1,haptoglobinและtotalbilirubin
  • 9. Chronic Hepatitis C 20168 ร่วมกับน�ำข้อมูลอายุ และเพศของผู้ป่วย ไปค�ำนวณในระบบการตรวจที่เรียก ว่า Fibrotest® ได้ค่ามากกว่า 0.74 - การตรวจเลือดเพื่อวัดระดับ platelets, a-2-macroglobulin, alanine aminotransferase, aspartate aminotransferase, gamma-glutamyl transpeptidase, urea, และ prothrombin index ไปค�ำนวณในระบบการ ตรวจที่เรียกว่า Fibrometer® ได้ค่ามากกว่า 0.78 ข้อบ่งชี้ในการรักษาไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ๐ ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี ทุกรายควรได้รับการรักษา แต่เนื่องจากมีข้อจ�ำกัดใน ด้านงบประมาณและบุคลากรที่มีความช�ำนาญในการรักษาเฉพาะโรค จึงต้อง มีการจัดล�ำดับความส�ำคัญของคนไข้ที่ควรได้รับการรักษาเป็นล�ำดับแรกๆ ก่อน ๐ ไม่มีโรคร่วมอื่นๆ ที่รุนแรงจนส่งผลให้ผู้ป่วยมีอายุขัยที่คาดหวังลดลง ๐ ไม่มีข้อห้ามต่อการรักษา ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรังที่ควรได้รับการรักษาเป็นล�ำดับแรก ๐ ผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็ง รวมถึงตับแข็งที่เป็นมากแล้ว (decompensated cirrhosis) ๐ ผู้ป่วยที่มีพังผืดในเนื้อตับในระดับมาก(bridgingfibrosis)ตามระบบMETAVIR เท่ากับ 3 หรือวิธีการตรวจอื่นที่เทียบเท่า ๐ ผู้ป่วยที่ติดเชื้อ HIV ร่วมด้วย ๐ ผู้ป่วยที่ติดเชื้อ HBV ร่วมด้วย ๐ ผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ในการปลูกถ่ายตับ ๐ ผู้ป่วยที่มีการกลับเป็นซ�้ำของ HCV ภายหลังจากได้รับการปลูกถ่ายตับ ๐ ผู้ป่วยที่มีลักษณะทางคลินิกอื่นๆนอกตับที่รุนแรง
  • 10. Chronic Hepatitis C 2016 9 ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรังที่ควรได้รับการพิจารณาการรักษาเป็น ล�ำดับต่อมา ๐ ผู้ป่วยที่มีพังผืดในเนื้อตับระดับที่มีความส�ำคัญ(significantfibrosis)ตามระบบ METAVIR เท่ากับ 2 หรือวิธีการตรวจอื่นที่เทียบเท่า ๐ ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงที่จะถ่ายทอดเชื้อ HCV ไปให้ผู้อื่น ดังนี้ - ผู้หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่วางแผนจะมีบุตร - ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ต้องได้รับการฟอกเลือด ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรังที่สามารถติดตามต่อเนื่องโดยยัง ไม่ต้องท�ำการรักษา ๐ ผู้ป่วยที่ยังไม่มีพังผืดในเนื้อตับหรือมีพังผืดเพียงเล็กน้อยตามระบบ METAVIR เท่ากับ 0 ถึง 1 และไม่มีข้อบ่งชี้อื่นที่จ�ำเป็นต้องรีบได้รับการรักษา ยารักษาไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรังที่มีในประเทศไทย - Pegylated interferon alfa 2a หรือ 2b - Ribavirin - Boceprevir - Sofosbuvir - Daclatasvir - ยาที่ก�ำลังขึ้นทะเบียน ได้แก่ simeprevir ยาสูตรผสมระหว่าง sofosbuvir และ ledipasvir ยาสูตรผสมระหว่าง paritaprevir/ritonavir และ ombitasvir ร่วมกับ dasabuvir
  • 11. การรักษาการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในผู้ป่วยที่ไม่เคยได้รับการรักษามาก่อน และผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนอง ต่อการรักษาด้วย pegylated interferon ร่วมกับ ribavirin การรักษาผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง สายพันธุ์ 1 ๐ ผู้ป่วยที่ยังไม่มีภาวะตับแข็ง สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง และ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมกับ sofosbuvir รับประทาน ขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลา นาน 12 สัปดาห์ สูตรที่ 3: ยาสูตรผสมระหว่างsofosbuvirขนาด400มิลลิกรัมและledipasvir ขนาด 90 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ สามารถ รักษานานเพียง 8 สัปดาห์ในผู้ป่วยสายพันธุ์ 1b ที่มี HCV RNA ก่อนการรักษา น้อยกว่า 6,000,000 IU/mL สูตรที่ 4: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ simeprevir รับประทานขนาด 150 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลา นาน 12 สัปดาห์ หมายเหตุ: simeprevir ไม่ให้ไช้ในสายพันธุ์ 1a ที่มี Q80k variant สูตรที่ 5: ยาสูตรผสมระหว่าง paritaprevir ขนาด 150 มิลลิกรัม และ ritonavir ขนาด 100 มิลลิกรัม และ ombitasvir ขนาด 25 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ dasabuvir ขนาด 250 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ หมายเหตุ: ให้ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมด้วยในสายพันธุ์ 1a
  • 12. Chronic Hepatitis C 2016 11 ๐ ผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็ง สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง และ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมกับ sofosbuvir รับประทาน ขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ สูตรที่ 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ledipasvir รับประทานขนาด 90 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วม กับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ สูตรที่ 4: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ simeprevir รับประทานขนาด 150 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ สูตรที่ 5: ยาสูตรผสมระหว่างparitaprevirขนาด150มิลลิกรัมและritonavir ขนาด 100 มิลลิกรัม และ ombitasvir ขนาด 25 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ dasabuvir ขนาด 250 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง และ ribavirin รับประทานวันละ 2ครั้งให้การักษานาน 12สัปดาห์ ส�ำหรับสายพันธุ์ 1b และนาน 24 สัปดาห์ส�ำหรับสายพันธุ์ 1a การรักษาผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง สายพันธุ์ที่ 2 ๐ ผู้ป่วยที่มีหรือไม่มีภาวะตับแข็ง สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง และ ribavirinรับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมกับ sofosbuvir รับ ประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
  • 13. Chronic Hepatitis C 201612 สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลา นาน 12 สัปดาห์ สูตรที่ 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละครั้ง ร่วมกับ ribavirinรับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยที่ไม่มีตับแข็ง และนาน 16 ถึง 24 สัปดาห์ในผู้ป่วยที่ มีภาวะตับแข็ง การรักษาผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง สายพันธุ์ที่ 3 ๐ ผู้ป่วยที่ยังไม่มีภาวะตับแข็ง สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง และ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมกับ sofosbuvir รับประทาน ขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 24 สัปดาห์ สูตรที่ 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ daclatasvirรับประทานขนาด60มิลลิกรัมวันละครั้งเป็นเวลานาน12สัปดาห์ ๐ ผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็ง สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง และ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมกับ sofosbuvir รับประทาน ขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานขนาด 1,000-1,200 มิลลิกรัม โดยแบ่งรับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 16 ถึง 24 สัปดาห์ หมายเหตุ: รักษาเป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ในกรณีที่เป็นเพียง bridging fibrosis
  • 14. Chronic Hepatitis C 2016 13 การรักษาผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง สายพันธุ์ที่ 4 ๐ ผู้ป่วยที่ยังไม่มีภาวะตับแข็ง สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง และ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมกับ sofosbuvir รับประทาน ขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลา นาน 12 สัปดาห์ สูตรที่ 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ledipasvir รับประทานขนาด 90 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ สูตรที่ 4: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ simeprevir รับประทานขนาด 150 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลา นาน 12 สัปดาห์ ๐ ผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็ง สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง และ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมกับ sofosbuvir รับประทาน ขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ สูตรที่ 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ledipasvir รับประทานขนาด 90 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์
  • 15. Chronic Hepatitis C 201614 สูตรที่ 4: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ simeprevir รับประทานขนาด 150 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ การรักษาผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง สายพันธุ์ที่ 5 และ 6 ๐ ผู้ป่วยที่ยังไม่มีภาวะตับแข็ง สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง และ ribavirinรับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมกับ sofosbuvir รับประทาน ขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลา นาน 12 สัปดาห์ สูตรที่ 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ledipasvir รับประทานขนาด 90 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ๐ ผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็ง สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง และ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมกับ sofosbuvir รับประทาน ขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ สูตรที่ 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ledipasvir รับประทานขนาด 90 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirinรับประทานวันละ2ครั้งเป็นเวลานาน12สัปดาห์ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถ ใช้ยา ribavirin ได้ ให้การรักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์
  • 16. Chronic Hepatitis C 2016 15 ตารางสรุปแนวทางการรักษาผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรัง ผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะตับแข็ง ไม่มีภาวะ ตับแข็ง SOF/Peg/ RBV SOF/RBV SOF/LDV AbbVie’s SOF/SMP SOF/DCV G1a 12 สัปดาห์ 8-12 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ + RBV 12 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ G1b 12 สัปดาห์ G2 12 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ G3 12 สัปดาห์ 24 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ G4 12 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ G5/6 12 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ ค�ำย่อ. G, genotype; DCV, daclatasvir; LDV, ledipasvir; Peg, pegylated interferon; SOF, sofosbuvir; SMP, simeprevir; RBV, ribavirin. AbbVie’s สูตรยาประกอบด้วย paritaprevir, ritonavir, ombitasvir และ dasabuvir
  • 17. Chronic Hepatitis C 201616 ผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็ง มีภาวะตับ แข็ง SOF/ Peg/RBV SOF/ RBV SOF/LDV AbbVie’s SOF/SMP SOF/DCV G1a 12 สัปดาห์ 24 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ + RBV 24 สัปดาห์ + RBV 24 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ + RBV 24 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ + RBV G1b 12 สัปดาห์ + RBV G2 12 สัปดาห์ 16-20 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ G3 12 สัปดาห์ 16-24 สัปดาห์ + RBV G4 12 สัปดาห์ 24 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ + RBV 24 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ + RBV 24 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ + RBV G5/6 12 สัปดาห์ 24 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ + RBV 24 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ + RBV ค�ำย่อ. G, genotype; DCV, daclatasvir; LDV, ledipasvir; Peg, pegylated interferon; SOF, sofosbuvir; SMP, simeprevir; RBV, ribavirin. AbbVie’s สูตรยาประกอบด้วย paritaprevir, ritonavir, ombitasvir และ dasabuvir
  • 18. Chronic Hepatitis C 2016 17 หมายเหตุ: สูตรยาที่มี pegylated interferon และ/หรือ ribavirin ให้บริหารยาดังนี้ ๐ กรณีที่รักษาด้วย pegylated interferon alfa-2a ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนังขนาด 180 ไมโครกรัมสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานขนาดวันละ - 1,000 มิลลิกรัม ส�ำหรับผู้ป่วยที่มีน�้ำหนักน้อยกว่า 75 กิโลกรัม - 1,200 มิลลิกรัม ส�ำหรับผู้ป่วยที่มีน�้ำหนักตั้งแต่ 75 กิโลกรัมขึ้นไป ๐ กรณีที่รักษาด้วย pegylated interferon alfa-2b ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง ขนาด 1 ถึง 1.5 ไมโครกรัมต่อน�้ำหนัก 1 กิโลกรัม สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานขนาดวันละ - 800 มิลลิกรัม ส�ำหรับผู้ป่วยที่มีน�้ำหนักน้อยกว่า 65 กิโลกรัม - 1,000 มิลลิกรัม ส�ำหรับผู้ป่วยที่มีน�้ำหนักตั้งแต่ 65 กิโลกรัมถึง 85 กิโลกรัม - 1,200มิลลิกรัมส�ำหรับผู้ป่วยที่มีน�้ำหนักมากกว่า85กิโลกรัมถึง105กิโลกรัม - 1,400 มิลลิกรัม ส�ำหรับผู้ป่วยที่มีน�้ำหนักตั้งแต่ 105 กิโลกรัมขึ้นไป ๐ กรณีที่รักษาด้วย ribavirin โดยไม่มี pegylated interferon ร่วมด้วย ให้ขนาดยาเช่นเดียวกับผู้ป่วยที่ใช้ ribavirin ร่วมกับ pegylated interferon alfa-2a ข้อห้ามของการรักษาโรคไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ด้วยยา interferon และ ribavirin - ผู้ป่วยตับแข็งที่เป็นมากแล้ว (decompensated cirrhosis) - มีประวัติแพ้ยา interferon และ / หรือ ribavirin - ภาวะซึมเศร้ารุนแรงที่ยังควบคุมไม่ได้ - ตั้งครรภ์หรือไม่เต็มใจที่จะยินยอมในการคุมก�ำเนิด - ได้รับการผ่าตัดปลูกถ่ายอวัยวะ ยกเว้นการผ่าตัดเปลี่ยนตับ - มีโรคที่เป็นข้อห้ามต่อการใช้ยา interferon - มีโรคร่วมต่างๆที่ยังรักษาควบคุมโรคได้ไม่ดี เช่นความดันโลหิตสูงเบาหวานโรค หัวใจและหลอดเลือด ถุงลมโป่งพอง และโรคธัยรอยด์เป็นต้น
  • 19. Chronic Hepatitis C 201618 การรักษาผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรังสายพันธุ์ที่ 1 ที่ไม่ตอบสนองต่อ boceprevir สูตรที่ 1: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ให้ยานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ในผู้ป่วยที่มีพังผืดมาก (bridging fibrosis) หรือตับแข็ง สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ledipasvir รับประทานขนาด 90 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วม กับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ให้ยานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ในผู้ป่วยที่มีพังผืดมาก (bridging fibrosis) หรือตับแข็ง สูตรที่ 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ simeprevir รับประทานขนาด 150 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ให้ยานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ในผู้ป่วยที่มีพังผืดมาก (bridging fibrosis) หรือ ตับแข็ง สูตรที่ 4: ยาสูตรผสมระหว่าง paritaprevir ขนาด 150 มิลลิกรัม และ ritonavir ขนาด 100 มิลลิกรัม และ ombitasvir ขนาด 25 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ dasabuvir ขนาด 250 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ให้ยานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ในผู้ป่วยที่มีพังผืดมาก (bridging fibrosis) หรือตับแข็ง
  • 20. Chronic Hepatitis C 2016 19 การรักษาการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในผู้ป่วยกลุ่มพิเศษ การรักษาผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ที่มีตับแข็งเป็นมากแล้ว (decompensated cirrhosis) - ยังไม่มีค�ำแนะน�ำการรักษาในผู้ป่วยตับแข็งที่มี Child-Pugh score ระหว่าง 13 ถึง 15 - ผู้ป่วยตับแข็งที่มี Child-Pugh score ≤ 12 มีแนวทางการรักษาดังนี้ ๐ ไวรัสตับอักเสบ ซี สายพันธุ์ที่ 1, 4 และ 6 สูตรที่ 1: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ ส่วน ribavirin ให้เริ่มที่ขนาดวันละ 600 มิลลิกรัม แล้วปรับเพิ่มขึ้นครั้งละ 200 มิลลิกรัมทุกสัปดาห์ จนได้ปริมาณที่มากที่สุดที่ทนได้ หรือถึงขนาดที่ควรได้รับ เช่นเดียวกับผู้ที่ไม่มีตับแข็ง สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ledipasvir รับประทานขนาด 90 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วม กับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ ส่วน ribavirin ให้เริ่มที่ขนาดวันละ 600 มิลลิกรัม แล้วปรับเพิ่มขึ้นครั้งละ 200 มิลลิกรัมทุกสัปดาห์ จนได้ปริมาณที่มากที่สุดที่ทนได้หรือถึงขนาดที่ควรได้รับ เช่นเดียวกับผู้ที่ไม่มีตับแข็ง สูตรที่ 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ simeprevir รับประทานขนาด 150 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์
  • 21. Chronic Hepatitis C 201620 ๐ ไวรัสตับอักเสบ ซี สายพันธุ์ที่ 2 และ 3 สูตรที่ 1: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 24 สัปดาห์ สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ การรักษาผู้ป่วยติดเชื้อร่วมไวรัสตับอักเสบ ซี และ HIV - พิจารณาให้การรักษาไวรัสตับอักเสบ ซี เหมือนผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี ที่ไม่มี การติดเชื้อ HIV ร่วมด้วย - หลีกเลี่ยงการใช้ยาหรือปรับขนาดของยาที่มีปฏิกิริยาระหว่างยาที่ใช้รักษาไวรัส ตับอักเสบซีและHIVตามค�ำแนะน�ำในเว็บไซด์www.hep-druginteractions. org/ เรื่อง HEP Drug Interactions การรักษาผู้ป่วยติดเชื้อร่วมไวรัสตับอักเสบ ซี และ บี - พิจารณาให้การรักษาไวรัสตับอักเสบ ซี เหมือนผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี ที่ไม่มี การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี ร่วมด้วย - เจาะเลือดติดตามปริมาณ HBV DNA ในเลือด และให้การรักษาเมื่อมีข้อบ่งชี้ ได้แก่ ปริมาณ HBV DNA มากกว่า 2000 IU/mL หรือมีผลเลือดที่แสดงถึงภาวะ ตับอักเสบ การรักษาผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ที่มีโรคไตร่วมด้วย - กรณีที่การท�ำงานของไตเสื่อมลงเล็กน้อย (Glomerular Filtration Rate; GFR มากกว่าหรือเท่ากับ 30 มิลลิลิตร/นาที) สามารถให้การรักษาเหมือนผู้ป่วยที่มี การท�ำงานของไตปกติ
  • 22. Chronic Hepatitis C 2016 21 - กรณีที่การท�ำงานของไตเสื่อมลงมาก (GFR น้อยกว่า 30 มิลลิลิตร/นาที) การรักษาด้วยการรับประทานยาต้านไวรัสตับอักเสบ ซี ได้แก่ simeprevir, daclatasvir,ยาสูตรผสมระหว่างparitaprevirและritonavirและparitaprevir และ ombitasvir ร่วมกับ dasabuvir สามารถใช้ได้โดยไม่ต้องปรับขนาดยา แต่ แนะน�ำไม่ให้ใช้ sofosbuvir ในผู้ป่วยที่มี GFR น้อยกว่า 30 มิลลิลิตร/นาที โดย มีแนวทางการรักษาดังนี้ ๐ ไวรัสตับอักเสบ ซี สายพันธุ์ที่ 2, 3, 5 และ 6 - แนะน�ำให้รอยาสูตรใหม่ที่ได้ผลดีหากไม่มีข้อบ่งชี้ในการรักษาไวรัสตับอักเสบ ซี ที่เร่งด่วน - หากจ�ำเป็นต้องรีบให้การรักษาและผู้ป่วยไม่มีภาวะตับแข็ง หรือมีตับแข็ง ระยะต้น (compensated cirrhosis) พิจารณาการรักษาด้วย pegylated interferon alfa-2a ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนังขนาด 135 ไมโครกรัม สัปดาห์ละ 1 ครั้ง หรือ pegylated interferon alfa-2b ฉีด เข้าชั้นใต้ผิวหนังขนาด 1 ไมโครกรัมต่อน�้ำหนัก 1 กิโลกรัม สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 24 สัปดาห์ ส�ำหรับไวรัสสายพันธุ์ 2 หรือ 3 และรักษานาน 48 สัปดาห์ ส�ำหรับ ไวรัสสายพันธุ์ 5 หรือ 6 - อาจพิจารณาให้ ribavirin แต่ต้องใช้ในขนาดที่ต�่ำและต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เพราะอาจเกิดภาวะโลหิตจางและผลข้างเคียงอื่นได้ ๐ ไวรัสตับอักเสบ ซี สายพันธุ์ที่ 1 และ 4 ผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะตับแข็ง - Daclatasvirรับประทานขนาด60มิลลิกรัมวันละ1ครั้งร่วมกับasunaprevir รับประทานขนาด 200 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ หมายเหตุ: ได้ผลดีส�ำหรับ สายพันธุ์ 1b เท่านั้น และต้องไม่มีภาวะเกล็ดเลือด ต�่ำกว่า 80,000 เซลล์/มม. - หากจ�ำเป็นต้องรีบให้การรักษา พิจารณาการรักษาด้วย ยาสูตรผสมระหว่าง paritaprevir รับประทานขนาด 150 มิลลิกรัม และ ritonavir รับประทาน ขนาด 100 มิลลิกรัม และ ombitasvir รับประทานขนาด 25 มิลลิกรัม วันละ
  • 23. Chronic Hepatitis C 201622 1 ครั้ง และ dasabuvir รับประทานขนาด 250 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง ร่วม กับribavirinรับประทานวันละ2ครั้งแต่ต้องใช้ขนาดยาที่ต�่ำและต้องติดตาม อย่างใกล้ชิด เพราะอาจเกิดภาวะโลหิตจางและผลข้างเคียงอื่นได้ เป็นเวลา นาน 12 สัปดาห์ ผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็ง - ผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็งระยะต้น (compensated cirrhosis) พิจารณา การรักษาด้วย pegylated interferon alfa-2a ฉีดเข้า ชั้นใต้ผิวหนัง ขนาด 135 ไมโครกรัม สัปดาห์ละ 1 ครั้ง หรือ pegylated interferon alfa-2b ฉีด เข้าชั้นใต้ผิวหนังขนาด 1 ไมโครกรัมต่อน�้ำหนัก 1 กิโลกรัม สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 48 สัปดาห์ อาจพิจารณาให้ ribavirin แต่ ต้องใช้ขนาดต�่ำและต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เพราะอาจเกิดภาวะโลหิตจาง และผลข้างเคียงอื่นได้ - แนะน�ำให้รอยาสูตรใหม่ที่ได้ผลดี ในกรณีที่มีภาวะตับแข็งที่เป็นมากแล้ว (decompensated cirrhosis) การรักษาผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ที่ได้รับการปลูกถ่ายตับ ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ที่รอการปลูกถ่ายตับควรได้รับการรักษาไวรัส ตับอักเสบ ซี เพื่อป้องกันการติดเชื้อซ�้ำภายหลังการปลูกถ่ายตับ โดยมีแนวทาง การรักษาดังในผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็งดังที่กล่าวข้างต้น ๐ กรณีที่มีต้องรีบรับการปลูกถ่ายตับได้แก่ตับวายหรือตรวจพบมะเร็งตับร่วมด้วย - ให้การรักษาด้วย sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง จนถึงวันที่ได้รับการปลูกถ่ายตับ หรือครบระยะเวลาการรักษา และเฝ้าระวังการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ซ�้ำ ภายหลังการปลูกถ่ายตับ - ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถรับการรักษาได้หรือได้รับการรักษาไม่ครบระยะ เวลา ให้ประเมินการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ซ�้ำ ภายหลังการปลูกถ่ายตับ ภายในช่วง 3-6 เดือน หากมีการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ซ�้ำ ให้การรักษา ด้วยการรับประทานยาต้านไวรัสตับอักเสบ ซี โดยต้องพิจารณาถึงยาที่อาจ
  • 24. Chronic Hepatitis C 2016 23 จะมีปฏิกิริยาระหว่างยากดภูมิคุ้มกันที่ผู้ป่วยได้รับหลังจากการปลูกถ่ายตับ เพื่อปรับชนิดยา หรือขนาดยาให้เหมาะสม โดยให้การรักษาด้วยยาดังกล่าว เป็นเวลา 12 สัปดาห์ การรักษาผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ซ�้ำหลังได้รับการปลูกถ่ายตับ ผู้ป่วยที่ติดเชื้อซ�้ำทุกรายควรได้รับการรักษาไวรัสตับอักเสบ ซี โดยมีแนวทางดังนี้ ๐ ไวรัสตับอักเสบ ซี สายพันธุ์ที่ 1, 4 และ 6 สูตรที่ 1: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง และdaclatasvirรับประทานขนาด60มิลลิกรัมวันละ1ครั้งร่วมกับribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง และ ledipasvir รับประทานขนาด 90 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ สูตรที่ 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ simeprevir รับประทานขนาด 150 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ ๐ ไวรัสตับอักเสบ ซี สายพันธุ์ที่ 2 สูตร sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 ถึง 24 สัปดาห์ ๐ ไวรัสตับอักเสบ ซี สายพันธุ์ที่ 3 สูตรที่ 1: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วม กับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12-24 สัปดาห์
  • 25. Chronic Hepatitis C 201624 สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 24 สัปดาห์ การรักษาผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ฉับพลัน (acute hepatitis C) ๐ ตรวจ HCV RNA ซ�้ำอีกครั้งที่ 12-16 สัปดาห์ถัดมา - ถ้าไม่พบ HCV RNA แสดงว่าหายจากการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ได้เอง ให้ค�ำแนะน�ำและไม่ต้องนัดตรวจติดตาม - หากตรวจพบ HCV RNA ให้การรักษาด้วย pegylated interferon เพียงอย่างเดียว หรือรักษาด้วยการรับประทานยาต้านไวรัสตับอักเสบ ซี เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ โดยไม่ต้องให้ ribavirin ร่วมด้วย เอกสารอ้างอิง 1. AASLD/IDSA HCV Guidance Panel. Hepatitis C guidance: AASLD-IDSA recommendations for testing, managing, and treating adults infected with hepatitis C virus. Hepatology. 2015;62:932-954 2. EASL Clinical Practice Guidelines. EASL recommendations on treatment of hepatitis C 2014. J Hepatol. 2014;61:373-395. 3. Bacon BR, Gordon SC, Lawitz E, Marcellin P, Vierling JM, Zeuzem S, et al. Boceprevir for previously treated chronic HCV genotype 1 infection. N Engl J Med 2011;364:1207–1217. 4. Poordad F, McCone Jr J, Bacon BR, Bruno S, Manns MP, Sulkowski MS, et al. Boceprevir for untreated chronic HCV genotype 1 infection. N Engl J Med 2011;364:1195–1206. 5. Kamili S, Drobeniuc J, Araujo AC, Hayden TM. Laboratory diagnostics for hepatitis C virus infection. Clin Infect Dis 2012;55:S43–S48. 6. Martinot-Peignoux M, Stern C, Maylin S, Ripault MP, Boyer N, Leclere L, et al. Twelve weeks post-treatment follow-up is as relevant as 24weeks
  • 26. Chronic Hepatitis C 2016 25 to determine the sustained virologic response in patients with hepatitis C virus receiving pegylated interferon and ribavirin. Hepatology 2010;51: 1122–1126. 7. Swain MG, Lai MY, Shiffman ML, Cooksley WG, Zeuzem S, Dieterich DT, et al. A sustained virologic response is durable in patients with chronic hepatitis C treated with peginterferon alfa-2a and ribavirin. Gastroenter- ology 2010;139:1593–1601. 8. Castera L, Vergniol J, Foucher J, Le Bail B, Chanteloup E, Haaser M, et al. Prospective comparison of transient elastography, Fibrotest, APRI, and liver biopsy for the assessment of fibrosis in chronic hepatitis C. Gastroenterology 2005;128:343–350. 9. Chevaliez S, Bouvier-Alias M, Brillet R, Pawlotsky JM. Hepatitis C virus (HCV) genotype 1 subtype identification in new HCV drug development and future clinical practice. PLoS One 2009;4:e8209. 10. Ouwerkerk-Mahadevan S, Simion A, Mortier S, Peeters M, Beumont M. No clinically significant interaction between the investigational HCV protease inhibitor TMC435 and the immunosuppressives cyclosporine and tacrolimus. Hepatology 2012;56, [231A–231A]. 11. LawitzE,MangiaA,WylesD,Rodriguez-TorresM,HassaneinT,GordonSC, et al. Sofosbuvir for previously untreated chronic hepatitis C infection. N Engl J Med 2013;368:1878–1887. 12. Jacobson IM, Dore GJ, Foster GR, Fried MW, Radu M, Rafalsky VV, et al. Simeprevir with pegylated interferon alfa 2a plus ribavirin in treat- ment-naive patients with chronic hepatitis C virus genotype 1 infection (QUEST-1): a phase 3, randomised, double-blind, placebo-controlled trial. Lancet. 2014;384:403-413 13. Manns M, Marcellin P, Poordad F, de Araujo ES, Buti M, Horsmans Y, et al. Simeprevir with pegylated interferon alfa 2a or 2b plus ribavirin
  • 27. Chronic Hepatitis C 201626 in treatment-naive patients with chronic hepatitis C virus genotype 1 infection (QUEST-2): a randomised, double-blind, placebo-controlled phase 3 trial. Lancet. 2014;384:414-426. 14. FornsX,LawitzE,ZeuzemS,GaneE,BronowickiJP,AndreoneP,etal.Simeprevir with peginterferon and ribavirin leads to high rates of SVR in patients with HCV genotype 1 who relapsed after previous therapy: a phase 3 trial. Gastroenterology. 2014;146:1669-79. 15. Hezode C, Hirschfield GM, Ghesquiere W, Sievert W, Rodriguez-Torres M, Shafran SD, et al. Daclatasvir plus peginterferon alfa and ribavirin for treatment-naive chronic hepatitis C genotype 1 or 4 infection: a randomised study. Gut. 2015;64:948-956. 16. Gane EJ, Stedman CA, Hyland RH, Ding X, Svarovskaia E, Symonds WT, et al. Nucleotide polymerase inhibitor sofosbuvir plus ribavirin for hepatitis C. N Engl J Med 2013;368:34–44. 17. Osinusi A, Meissner EG, Lee YJ, Bon D, Heytens L, Nelson A, et al. Sofosbuvir and ribavirin for hepatitis C genotype 1 in patients with unfavorable treatment characteristics: a randomized clinical trial. JAMA 2013;310:804–811. 18. Lalezari JP, Nelson DR, Hyland RH, Lin M, Rossi SJ, Symonds WT, et al. Once daily sofosbuvir plus ribavirin for 12 and 24 weeks in treat- ment-naive patients with HCV infection: the QUANTUM study. J Hepatol 2013;58, S346–S346. 19. Sulkowski MS, Naggie S, Lalezari J, Fessel WJ, Mounzer K, Shuhart M, et al; PHOTON-1 Investigators. Sofosbuvir and ribavirin for hepatitis C in patients with HIV coinfection. JAMA. 2014;312:353-361. 20. Lawitz E, Sulkowski MS, Ghalib R, Rodriguez-Torres M, Younossi ZM, Corregidor A, et al. Simeprevir plus sofosbuvir, with or without riba- virin, to treat chronic infection with hepatitis C virus genotype 1 in
  • 28. Chronic Hepatitis C 2016 27 non-responderstopegylatedinterferonandribavirinandtreatment-naive patients: the COSMOS randomised study. Lancet. 2014;384:1756-1765. 21. Sulkowski MS, Gardiner DF, Rodriguez-Torres M, Reddy KR, Hassanein T, Jacobson I, et al. Daclatasvir plus sofosbuvir for previously treated or untreated chronic HCV infection. N Engl J Med 2014;370:211–221. 22. Fontana RJ, Hughes EA, Bifano M, Appelman H, Dimitrova D, Hindes R, et al. Sofosbuvir and daclatasvir combination therapy in a liver transplant recipient with severe recurrent cholestatic hepatitis C. Am J Transplant 2013;13:1601–1605. 23. Jacobson IM, Gordon SC, Kowdley KV, Yoshida EM, Rodriguez-Torres M, Sulkowski MS, et al. Sofosbuvir for hepatitis C genotype 2 or 3 in patients without treatment options. N Engl J Med 2013;368:1867–1877. 24. Zeuzem S, Dusheiko GM, Salupere R, Mangia A, Flisiak R, Hyland RH, et al; VALENCE Investigators. Sofosbuvir and ribavirin in HCV genotypes 2 and 3. N Engl J Med. 2014;370:1993-2001. 25. Lawitz E, Poordad F, Brainard DM, Hyland RH, An D, Dvory-Sobol H, et al. Sofosbuvir with peginterferon-ribavirin for 12 weeks in previ- ously treated patients with hepatitis C genotype 2 or 3 and cirrhosis. Hepatology. 2015;61:769-775. 26. Lawitz E, Lalezari JP, Hassanein T, Kowdley KV, Poordad FF, Sheikh AM, et al. Sofosbuvir in combination with peginterferon alfa-2a and ribavirin for noncirrhotic, treatment-naive patients with genotypes 1, 2, and 3 hepatitis C infection: a randomised, double-blind, phase 2 trial. Lancet Infect Dis 2013;13:401–408. 27. Ruane PJ, Ain D, Stryker R, Meshrekey R, Soliman M, Wolfe PR, et al. Sofosbuvir plus ribavirin for the treatment of chronic genotype 4 hepatitis C virus infection in patients of Egyptian ancestry. J Hepatol. 2015;62:1040-1046.
  • 29. Chronic Hepatitis C 201628 28. ChevaliezS,Bouvier-AliasM,BrilletR,PawlotskyJM.Overestimationand underestimationofhepatitisCvirusRNAlevelsinawidelyusedreal-time polymerase chain reaction-based method. Hepatology 2007;46: 22–31. 29. Sarrazin C, Shiffman ML, Hadziyannis SJ, Lin A, Colucci G, Ishida H, et al. Definition of rapid virologic response with a highly sensitive real-time PCRbasedHCVRNAassayinpeginterferonalfa-2aplusribavirinresponse guided therapy. J Hepatol 2010;52:832–838. 30. Vermehren J, Kau A, Gartner BC, Gobel R, Zeuzem S, Sarrazin C. Differ- ences between two real-time PCR-based hepatitis C virus (HCV) assays (RealTime HCV and Cobas AmpliPrep/Cobas TaqMan) and one signal amplification assay (Versant HCV RNA 3.0) for RNA detection and quan- tification. J Clin Microbiol 2008;46:3880–3891. 31. Fried MW. Side effects of therapy of hepatitis C and their management. Hepatology 2002;36:S237–S244. 32. Fried MW, Shiffman ML, Reddy KR, Smith C, Marinos G, Goncales Jr FL, et al. Peginterferon alfa-2a plus ribavirin for chronic hepatitis C virus infection. N Engl J Med 2002;347:975–982. 33. Hadziyannis SJ, Sette Jr H, Morgan TR, Balan V, Diago M, Marcellin P, et al. Peginterferon-alpha2a and ribavirin combination therapy in chronic hepatitisC:arandomizedstudyoftreatmentdurationandribavirindose. Ann Intern Med 2004;140:346–355. 34. MannsMP,McHutchisonJG,GordonSC,RustgiVK,ShiffmanM,Reindollar R, et al. Peginterferon alfa-2b plus ribavirin compared with interferon alfa-2b plus ribavirin for initial treatment of chronic hepatitis C: a ran- domised trial. Lancet 2001;358:958–965. 35. Sulkowski MS, Poordad F, Manns MP, Bronowicki JP, Rajender Reddy K, Harrison SA, et al. Anemia during treatment with peginterferon alfa-2b/ ribavirin and boceprevir: analysis from the serine protease inhibitor therapy 2 (SPRINT-2) trial. Hepatology 2013;57:974–984.
  • 30. Chronic Hepatitis C 2016 29 36. Grebely J, Pham ST, Matthews GV, Petoumenos K, Bull RA, Yeung B, et al. Hepatitis C virus reinfection and superinfection among treated and untreated participants with recent infection. Hepatology 2012;55: 1058–1069. 37. Barnard RJ, Howe JA, Ogert RA, Zeuzem S, Poordad F, Gordon SC, et al. Analysis of boceprevir resistance associated amino acid variants (RAVs) in two phase 3 boceprevir clinical studies. Virology 2013;444:329–336. 38. McPhee F, Hernandez D, Yu F, Ueland J, Monikowski A, Carifa A, et al. Resistance analysis of hepatitis C virus genotype 1 prior treatment null responders receiving daclatasvir and asunaprevir. Hepatology 2013;58: 902–911. 39. Wang C, Sun JH, O’Boyle 2nd DR, Nower P, Valera L, Roberts S, et al. Persistence of resistant variants in hepatitis C virus-infected patients treated with the NS5A replication complex inhibitor daclatasvir. Anti- microb Agents Chemother 2013;57:2054–2065. 40. Singal AG,VolkML,Jensen D,DiBisceglie AM,Schoenfeld PS.Asustained viral response is associated with reduced liver-related morbidity and mortality in patients with hepatitis C virus. Clin Gastroenterol Hepatol 2010;8:280–288. 41. van der Meer AJ, Veldt BJ, Feld JJ, Wedemeyer H, Dufour JF, Lammert F, et al. Association between sustained virological response and all-cause mortality among patients with chronic hepatitis Candadvanced hepatic fibrosis. JAMA 2012;308:2584–2593. 42. Garcia-Retortillo M, Forns X, Feliu A, Moitinho E, Costa J, Navasa M, et al. Hepatitis C virus kinetics during and immediately after liver trans- plantation. Hepatology 2002;35:680–687. 43. Curry MP, Forns X, Chung RT, Terrault NA, Brown R Jr, Fenkel JM, et al. Sofosbuvir and ribavirin prevent recurrence of HCV infection after liver transplantation: an open-label study. Gastroenterology. 2015;
  • 31. Chronic Hepatitis C 201630 148:100-107. 44. Lens S, Gambato M, Londono MC, Forns X. Interferon-free regimens in the liver transplant setting. Semin Liver Dis 2014;34:58-71. 45. Forman LM, Lewis JD, Berlin JA, Feldman HI, Lucey MR. The associa- tion between hepatitis C infection and survival after orthotopic liver transplantation. Gastroenterology 2002;122:889–896. 46. Prieto M, Berenguer M, Rayon JM, Cordoba J, Arguello L, Carrasco D, et al. High incidence of allograft cirrhosis in hepatitis C virus genotype 1b infectionfollowingtransplantation:relationshipwithrejectionepisodes. Hepatology 1999;29:250–256. 47. Berenguer M, Palau A, Aguilera V, Rayon JM, Juan FS, Prieto M. Clini- cal benefits of antiviral therapy in patients with recurrent hepatitis C following liver transplantation. Am J Transplant 2008;8:679–687. 48. Blasco A, Forns X, Carrion JA, Garcia-Pagan JC, Gilabert R, Rimola A, et al. Hepatic venous pressure gradient identifies patients at risk of severe hepatitis C recurrence after liver transplantation. Hepatology 2006;43: 492–499. 49. NeumannUP,BergT,BahraM,SeehoferD,LangrehrJM,NeuhausR,etal. Fibrosis progression after liver transplantation in patients with recurrent hepatitis C. J Hepatol 2004;41:830–836. 50. Potthoff A, Berg T, Wedemeyer H. Late hepatitis B virus relapse in patients co-infected with hepatitis B virus and hepatitis C virus after antiviral treatment with pegylated interferon-alpha2b and ribavirin. Scand J Gastroenterol 2009;44:1487–1490. 51. Scott DR, Wong JK, Spicer TS, Dent H, Mensah FK, McDonald S, et al. Adverse impact of hepatitis C virus infection on renal replacement therapy and renal transplant patients in Australia and New Zealand. Transplantation 2010;90:1165–1171.
  • 32. Chronic Hepatitis C 2016 31 52. Gane E, Pilmore H. Management of chronic viral hepatitis before and after renal transplantation. Transplantation 2002;74:427–437. 53. Van Wagner LB, Baker T, Ahya SN, Norvell JP, Wang E, Levitsky J. Outcomes of patients with hepatitis C undergoing simultaneous liver-kidney transplantation. J Hepatol 2009;51:874–880. 54. Grebely J, Raffa JD, Lai C, Kerr T, Fischer B, Krajden M, et al. Impact of hepatitis C virus infection on all-cause and liver-related mortality in a large community-based cohort of inner city residents. J Viral Hepat 2011;18:32–41. 55. Hagan H, Pouget ER, Des Jarlais DC, Lelutiu-Weinberger C. Meta-regres- sion of hepatitis C virus infection in relation to time since onset of illicit drug injection: the influence of time and place. Am J Epidemiol 2008;168:1099–1109. 56. Nelson PK, Mathers BM, Cowie B, Hagan H, Des Jarlais D, Horyniak D, et al. Global epidemiology of hepatitis B and hepatitis C in people who inject drugs: results of systematic reviews. Lancet 2011;378:571–583. 57. Deterding K, Gruner N, Buggisch P, Wiegand J, Galle PR, Spengler U, et al. Delayed vs. immediate treatment for patients with acute hepatitis C: a randomised controlled non-inferiority trial. Lancet Infect Dis 2013;13:497–506. 58. Kamal SM. Acute hepatitis C: a systematic review. Am J Gastroenterol 2008;103:1283–1297. 59. Mondelli MU, Cerino A, Cividini A. Acute hepatitis C: diagnosis and management. J Hepatol 2005;42:S108–S114. 60. Santantonio T, Wiegand J, Gerlach JT. Acute hepatitis C: current status and remaining challenges. J Hepatol 2008;49:625–633. 61. Wiegand J, Jackel E, Cornberg M, Hinrichsen H, Dietrich M, Kroeger J, et al. Long-term follow-up after successful interferon therapy of acute hepatitis C. Hepatology 2004;40:98–107.
  • 33. Chronic Hepatitis C 201632 62. Camma C, Almasio P, Craxi A. Interferon as treatment for acute hepatitis C. A meta-analysis. Dig Dis Sci 1996;41:1248–1255. 63. GerlachJT,DiepolderHM,ZachovalR,GruenerNH,JungMC,Ulsenheimer A, et al. Acute hepatitis C: high rate of both spontaneous and treatment induced viral clearance. Gastroenterology 2003;125:80–88. 64. Micallef JM, Kaldor JM, Dore GJ. Spontaneous viral clearance following acute hepatitis C infection: a systematic review of longitudinal studies. J Viral Hepat 2006;13:34–41. 65. Poynard T, Regimbeau C, Myers RP, Thevenot T, Leroy V, Mathurin P, et al. Interferon for acute hepatitis C. Cochrane Database Syst Rev 2002;1:CD000369. 66. Hofer H, Watkins-Riedel T, Janata O, Penner E, Holzmann H, Steindl- Munda P, et al. Spontaneous viral clearance in patients with acute hepatitis C can be predicted by repeated measurements of serum viral load. Hepatology 2003;37:60–64.
  • 34. แนวทางการดูแลรักษา ผูปวยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ป พ.ศ. 2559 ÊÁÒ¤ÁâäµÑºáË‹§»ÃÐà·Èä·Â Thailand Practice Guideline for Management of Chronic Hepatitis C 2016