SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 103
ทฤษฎีพฤติกรรม
      และ
การปรับพฤติกรรม
Behavior Theory
ทฤษฎีพฤติกรรมศาสตร์
พฤติกรรม
 ศาสตร์
บุคลิกภาพ
Personality




พฤติกรรม
 ศาสตร์
บุคลิกภาพ
Personality




               พัฒนาการ
              Development
พฤติกรรม
 ศาสตร์
บุคลิกภาพ
Personality




                    พัฒนาการ
                   Development
พฤติกรรม
 ศาสตร์




               การรับรู้
              Perception
บุคลิกภาพ
              Personality




                                  พัฒนาการ
                                 Development
              พฤติกรรม
               ศาสตร์




การเรียนรู้                  การรับรู้
 Learning                   Perception
บุคลิกภาพ
                     Personality




 แรงจูงใจ                                พัฒนาการ
Motivation                              Development
                     พฤติกรรม
                      ศาสตร์




       การเรียนรู้                  การรับรู้
        Learning                   Perception
ทฤษฎีเกี่ยวกับบุคลิกภาพ
 Personality theory
ทฤษฎีเกี่ยวกับบุคลิกภาพ (Personality theory)
ทฤษฎีเกี่ยวกับบุคลิกภาพ (Personality theory)
•   บุคลิกภาพเป็นกระบวนการจัดการพลวัตรของระบบจิต-สรีรวิทยาภายในตัวบุคคล ซึ่งกําหนดพฤติกรรม และ
    แนวความคิดที่บ่งลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล
ทฤษฎีเกี่ยวกับบุคลิกภาพ (Personality theory)
•   บุคลิกภาพเป็นกระบวนการจัดการพลวัตรของระบบจิต-สรีรวิทยาภายในตัวบุคคล ซึ่งกําหนดพฤติกรรม และ
    แนวความคิดที่บ่งลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล




                                          พันธุกรรม




         สิ่งแวดล้อม                                                    ลักษณะแห่งตน
ทฤษฎีเกี่ยวกับบุคลิกภาพ (Personality theory)
•   บุคลิกภาพเป็นกระบวนการจัดการพลวัตรของระบบจิต-สรีรวิทยาภายในตัวบุคคล ซึ่งกําหนดพฤติกรรม และ
    แนวความคิดที่บ่งลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล

                          การเจริญและ                  Chromosomal
                           พัฒนาการ                    characteristic



                                          พันธุกรรม




         สิ่งแวดล้อม                                                    ลักษณะแห่งตน
ทฤษฎีเกี่ยวกับบุคลิกภาพ (Personality theory)
         •   บุคลิกภาพเป็นกระบวนการจัดการพลวัตรของระบบจิต-สรีรวิทยาภายในตัวบุคคล ซึ่งกําหนดพฤติกรรม และ
             แนวความคิดที่บ่งลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล

                                   การเจริญและ                  Chromosomal
                                    พัฒนาการ                    characteristic



                                                   พันธุกรรม

  สิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ

สิ่งแวดล้อมทาง
ด้านสังคมและ
    วัฒนธรรม
                   สิ่งแวดล้อม                                                   ลักษณะแห่งตน
สิ่งแวดล้อมทาง
ด้านสังคมนาคม
 (Socialization)
ทฤษฎีเกี่ยวกับบุคลิกภาพ (Personality theory)
         •   บุคลิกภาพเป็นกระบวนการจัดการพลวัตรของระบบจิต-สรีรวิทยาภายในตัวบุคคล ซึ่งกําหนดพฤติกรรม และ
             แนวความคิดที่บ่งลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล

                                   การเจริญและ                  Chromosomal
                                    พัฒนาการ                    characteristic



                                                   พันธุกรรม

  สิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ                                                               การรับรู้

สิ่งแวดล้อมทาง                                                                                       คุณค่า
ด้านสังคมและ
                                                                                                         ประสิทธิผล
    วัฒนธรรม
                   สิ่งแวดล้อม                                                   ลักษณะแห่งตน
                                                                                                        ความสําเร็จ
สิ่งแวดล้อมทาง
ด้านสังคมนาคม                                                                                         ประสบการณ์
 (Socialization)
ทฤษฎีเกี่ยวกับพัฒนาการ
Development theory
ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory)
ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory)
           วัย                                                      ภาระ

                              เกิดความรู้สึกไว้วางใจตนเองและผู้อื่น พัฒนาแนวคิดที่เหมาะเกี่ยวกับตน เรียนรู้ที่จะให้
                           ความรักแก่ผู้อื่น รวมกลุ่มกับเพื่อนเพศเดียวกัน มีลักษณะการเคลื่อนไหวที่ผสมผสาน เรียนรู้
 วัยเด็กตอนต้น (0-6 ปี)     ในการเป็นสมาชิกของครอบครัว เริ่มเรียนรู้ถึงความจริงทางกายภาพและสังคม เริ่มเรียนรู้
                           ถึงความแตกต่างระหว่างสิ่งที่ถูกและผิด เคารพในกฎเกณฑ์และอํานาจรับผิดชอบ เรียนรู้การ
                                                  ใช้ภาษา และเรียนรู้การดูแลสุขภาพส่วนบุคคล
                             มีความรู้กว้างขวางขึ้นและเข้าใจโรคทางกายภาพและสังคม สร้างทัศนคติที่ดีต่อตนเอง
                           เรียนรุ้ถึงบทบาทที่เหมาะสมของเพศหญิงและเพศชาย พัฒนาความรู้สึกกลัวบาป ศีลธรรม
วัยเด็กตอนกลาง (6-12 ปี)   และค่านิยม เรียนรู้ในการอ่าน เขียน คิด คํานวณ และทักษะทางสติปัญญาอื่นๆ เรียนรู้ที่จะ
                           ชนะและให้ตนเองอยู่ในกลุ่มเพื่อน เรียนรู้ที่จะให้และรับ และเกิดการแลกเปลีย่นความรับผิด
                                                                       ชอบ
                           พัฒนาความรู้สึกที่ชัดเจนของการเป็นตัวของตัวเอง และมีความเชื่อมั่นในตัวเอง ปรับตัวให้
                           เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย สร้างสัมพันธภาพที่ใหม่และเป็นผู้ใหญ่มากขึ้นในเพื่อน
    วัยรุ่น (12-18 ปี)     วัยเดียวกัน มีอารมณ์ที่เป็นตัวของตัวเองโดยไม่ขึ้นกับพ่อแม่ เลือกและเตรียมตัวสําหรับงาน
                            อาชีพ มีค่านิยมที่เหมาะสมกับวุฒิภาวะ และมีความรับผิดชอบต่อสังคม เตรียมตัวสําหรับ
                                   การแต่งงานและมีครอบครัว สร้างความสนใจในสิ่งอื่นนอกเหนือจากตนเอง
ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory)
           วัย                                                      ภาระ

                              เกิดความรู้สึกไว้วางใจตนเองและผู้อื่น พัฒนาแนวคิดที่เหมาะเกี่ยวกับตน เรียนรู้ที่จะให้
                           ความรักแก่ผู้อื่น รวมกลุ่มกับเพื่อนเพศเดียวกัน มีลักษณะการเคลื่อนไหวที่ผสมผสาน เรียนรู้
 วัยเด็กตอนต้น (0-6 ปี)     ในการเป็นสมาชิกของครอบครัว เริ่มเรียนรู้ถึงความจริงทางกายภาพและสังคม เริ่มเรียนรู้
                           ถึงความแตกต่างระหว่างสิ่งที่ถูกและผิด เคารพในกฎเกณฑ์และอํานาจรับผิดชอบ เรียนรู้การ
                                                  ใช้ภาษา และเรียนรู้การดูแลสุขภาพส่วนบุคคล
                             มีความรู้กว้างขวางขึ้นและเข้าใจโรคทางกายภาพและสังคม สร้างทัศนคติที่ดีต่อตนเอง
                           เรียนรุ้ถึงบทบาทที่เหมาะสมของเพศหญิงและเพศชาย พัฒนาความรู้สึกกลัวบาป ศีลธรรม
วัยเด็กตอนกลาง (6-12 ปี)   และค่านิยม เรียนรู้ในการอ่าน เขียน คิด คํานวณ และทักษะทางสติปัญญาอื่นๆ เรียนรู้ที่จะ
                           ชนะและให้ตนเองอยู่ในกลุ่มเพื่อน เรียนรู้ที่จะให้และรับ และเกิดการแลกเปลีย่นความรับผิด
                                                                       ชอบ
                           พัฒนาความรู้สึกที่ชัดเจนของการเป็นตัวของตัวเอง และมีความเชื่อมั่นในตัวเอง ปรับตัวให้
                           เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย สร้างสัมพันธภาพที่ใหม่และเป็นผู้ใหญ่มากขึ้นในเพื่อน
    วัยรุ่น (12-18 ปี)     วัยเดียวกัน มีอารมณ์ที่เป็นตัวของตัวเองโดยไม่ขึ้นกับพ่อแม่ เลือกและเตรียมตัวสําหรับงาน
                            อาชีพ มีค่านิยมที่เหมาะสมกับวุฒิภาวะ และมีความรับผิดชอบต่อสังคม เตรียมตัวสําหรับ
                                   การแต่งงานและมีครอบครัว สร้างความสนใจในสิ่งอื่นนอกเหนือจากตนเอง
ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory)
           วัย                                                      ภาระ

                              เกิดความรู้สึกไว้วางใจตนเองและผู้อื่น พัฒนาแนวคิดที่เหมาะเกี่ยวกับตน เรียนรู้ที่จะให้
                           ความรักแก่ผู้อื่น รวมกลุ่มกับเพื่อนเพศเดียวกัน มีลักษณะการเคลื่อนไหวที่ผสมผสาน เรียนรู้
 วัยเด็กตอนต้น (0-6 ปี)     ในการเป็นสมาชิกของครอบครัว เริ่มเรียนรู้ถึงความจริงทางกายภาพและสังคม เริ่มเรียนรู้
                           ถึงความแตกต่างระหว่างสิ่งที่ถูกและผิด เคารพในกฎเกณฑ์และอํานาจรับผิดชอบ เรียนรู้การ
                                                  ใช้ภาษา และเรียนรู้การดูแลสุขภาพส่วนบุคคล
                             มีความรู้กว้างขวางขึ้นและเข้าใจโรคทางกายภาพและสังคม สร้างทัศนคติที่ดีต่อตนเอง
                           เรียนรุ้ถึงบทบาทที่เหมาะสมของเพศหญิงและเพศชาย พัฒนาความรู้สึกกลัวบาป ศีลธรรม
วัยเด็กตอนกลาง (6-12 ปี)   และค่านิยม เรียนรู้ในการอ่าน เขียน คิด คํานวณ และทักษะทางสติปัญญาอื่นๆ เรียนรู้ที่จะ
                           ชนะและให้ตนเองอยู่ในกลุ่มเพื่อน เรียนรู้ที่จะให้และรับ และเกิดการแลกเปลีย่นความรับผิด
                                                                       ชอบ
                           พัฒนาความรู้สึกที่ชัดเจนของการเป็นตัวของตัวเอง และมีความเชื่อมั่นในตัวเอง ปรับตัวให้
                           เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย สร้างสัมพันธภาพที่ใหม่และเป็นผู้ใหญ่มากขึ้นในเพื่อน
    วัยรุ่น (12-18 ปี)     วัยเดียวกัน มีอารมณ์ที่เป็นตัวของตัวเองโดยไม่ขึ้นกับพ่อแม่ เลือกและเตรียมตัวสําหรับงาน
                            อาชีพ มีค่านิยมที่เหมาะสมกับวุฒิภาวะ และมีความรับผิดชอบต่อสังคม เตรียมตัวสําหรับ
                                   การแต่งงานและมีครอบครัว สร้างความสนใจในสิ่งอื่นนอกเหนือจากตนเอง
ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory)
           วัย                                                      ภาระ

                              เกิดความรู้สึกไว้วางใจตนเองและผู้อื่น พัฒนาแนวคิดที่เหมาะเกี่ยวกับตน เรียนรู้ที่จะให้
                           ความรักแก่ผู้อื่น รวมกลุ่มกับเพื่อนเพศเดียวกัน มีลักษณะการเคลื่อนไหวที่ผสมผสาน เรียนรู้
 วัยเด็กตอนต้น (0-6 ปี)     ในการเป็นสมาชิกของครอบครัว เริ่มเรียนรู้ถึงความจริงทางกายภาพและสังคม เริ่มเรียนรู้
                           ถึงความแตกต่างระหว่างสิ่งที่ถูกและผิด เคารพในกฎเกณฑ์และอํานาจรับผิดชอบ เรียนรู้การ
                                                  ใช้ภาษา และเรียนรู้การดูแลสุขภาพส่วนบุคคล
                             มีความรู้กว้างขวางขึ้นและเข้าใจโรคทางกายภาพและสังคม สร้างทัศนคติที่ดีต่อตนเอง
                           เรียนรุ้ถึงบทบาทที่เหมาะสมของเพศหญิงและเพศชาย พัฒนาความรู้สึกกลัวบาป ศีลธรรม
วัยเด็กตอนกลาง (6-12 ปี)   และค่านิยม เรียนรู้ในการอ่าน เขียน คิด คํานวณ และทักษะทางสติปัญญาอื่นๆ เรียนรู้ที่จะ
                           ชนะและให้ตนเองอยู่ในกลุ่มเพื่อน เรียนรู้ที่จะให้และรับ และเกิดการแลกเปลีย่นความรับผิด
                                                                       ชอบ
                           พัฒนาความรู้สึกที่ชัดเจนของการเป็นตัวของตัวเอง และมีความเชื่อมั่นในตัวเอง ปรับตัวให้
                           เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย สร้างสัมพันธภาพที่ใหม่และเป็นผู้ใหญ่มากขึ้นในเพื่อน
    วัยรุ่น (12-18 ปี)     วัยเดียวกัน มีอารมณ์ที่เป็นตัวของตัวเองโดยไม่ขึ้นกับพ่อแม่ เลือกและเตรียมตัวสําหรับงาน
                            อาชีพ มีค่านิยมที่เหมาะสมกับวุฒิภาวะ และมีความรับผิดชอบต่อสังคม เตรียมตัวสําหรับ
                                   การแต่งงานและมีครอบครัว สร้างความสนใจในสิ่งอื่นนอกเหนือจากตนเอง
ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory)
ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory)
              วัย                                                        ภาระ

                                เข้าใจความหมายของคําว่าชีวิต เริ่มต้นงานอาชีพ เลือกและเรียนรู้ที่จะมีชีวิตอยู่กับคู่สมรส
                                    เริ่มต้นตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย และจิตใจของบุตร บริหาร-จัดการ
  วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (18-35 ปี)
                                   ครอบครัว พบปะสังสรรค์กับกลุ่มเพื่อนหรือกลุ่มสังคมที่ถูกคอกัน รับผิดชอบในหน้าที่
                                                                     พลเมืองที่ดี

                                    รับผิดชอบในหน้าที่พลเมืองที่ดีและหน้าที่ต่อสังคมอย่างเต็มที่ สร้างความมั่นคงทาง
                                  เศรษฐกิจสําหรับครอบครัวในอนาคต มีกิจกรรมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ขยาย
    วัยกลางคน (36-60 ปี)        ขอบเขตของความสนใจ ช่วยให้วัยรุ่นกลายเป็นผู้ใหญ่ที่มีความรับผิดชอบและมีสุข ปรับตัว
                                ให้เหมาะสมกับการเป็นบิดามารดาในวัยที่มีอายุมากขึ้น ปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง
                                                            ทางด้านร่างกายของคนในวัยนี้


                                  ปรับตัวต่อการลดลงของความแข็งแรงทางด้านร่างกาย ปรับตัวต่อการเกษียณอายุ การลด
วัยสุดท้ายของชีวิต (60 ปีขึ้นไป) ลงของรายได้ การเสียชีวิตของคู่สมรสและเพื่อนฝูง มีบทบาทที่จํากัดในด้านความรับผิดชอบ
                                                  ต่อสังคมทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถของแต่ละบุคคล
ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory)
              วัย                                                        ภาระ

                                เข้าใจความหมายของคําว่าชีวิต เริ่มต้นงานอาชีพ เลือกและเรียนรู้ที่จะมีชีวิตอยู่กับคู่สมรส
                                    เริ่มต้นตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย และจิตใจของบุตร บริหาร-จัดการ
  วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (18-35 ปี)
                                   ครอบครัว พบปะสังสรรค์กับกลุ่มเพื่อนหรือกลุ่มสังคมที่ถูกคอกัน รับผิดชอบในหน้าที่
                                                                     พลเมืองที่ดี

                                    รับผิดชอบในหน้าที่พลเมืองที่ดีและหน้าที่ต่อสังคมอย่างเต็มที่ สร้างความมั่นคงทาง
                                  เศรษฐกิจสําหรับครอบครัวในอนาคต มีกิจกรรมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ขยาย
    วัยกลางคน (36-60 ปี)        ขอบเขตของความสนใจ ช่วยให้วัยรุ่นกลายเป็นผู้ใหญ่ที่มีความรับผิดชอบและมีสุข ปรับตัว
                                ให้เหมาะสมกับการเป็นบิดามารดาในวัยที่มีอายุมากขึ้น ปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง
                                                            ทางด้านร่างกายของคนในวัยนี้


                                  ปรับตัวต่อการลดลงของความแข็งแรงทางด้านร่างกาย ปรับตัวต่อการเกษียณอายุ การลด
วัยสุดท้ายของชีวิต (60 ปีขึ้นไป) ลงของรายได้ การเสียชีวิตของคู่สมรสและเพื่อนฝูง มีบทบาทที่จํากัดในด้านความรับผิดชอบ
                                                  ต่อสังคมทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถของแต่ละบุคคล
ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory)
              วัย                                                        ภาระ

                                เข้าใจความหมายของคําว่าชีวิต เริ่มต้นงานอาชีพ เลือกและเรียนรู้ที่จะมีชีวิตอยู่กับคู่สมรส
                                    เริ่มต้นตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย และจิตใจของบุตร บริหาร-จัดการ
  วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (18-35 ปี)
                                   ครอบครัว พบปะสังสรรค์กับกลุ่มเพื่อนหรือกลุ่มสังคมที่ถูกคอกัน รับผิดชอบในหน้าที่
                                                                     พลเมืองที่ดี

                                    รับผิดชอบในหน้าที่พลเมืองที่ดีและหน้าที่ต่อสังคมอย่างเต็มที่ สร้างความมั่นคงทาง
                                  เศรษฐกิจสําหรับครอบครัวในอนาคต มีกิจกรรมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ขยาย
    วัยกลางคน (36-60 ปี)        ขอบเขตของความสนใจ ช่วยให้วัยรุ่นกลายเป็นผู้ใหญ่ที่มีความรับผิดชอบและมีสุข ปรับตัว
                                ให้เหมาะสมกับการเป็นบิดามารดาในวัยที่มีอายุมากขึ้น ปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง
                                                            ทางด้านร่างกายของคนในวัยนี้


                                  ปรับตัวต่อการลดลงของความแข็งแรงทางด้านร่างกาย ปรับตัวต่อการเกษียณอายุ การลด
วัยสุดท้ายของชีวิต (60 ปีขึ้นไป) ลงของรายได้ การเสียชีวิตของคู่สมรสและเพื่อนฝูง มีบทบาทที่จํากัดในด้านความรับผิดชอบ
                                                  ต่อสังคมทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถของแต่ละบุคคล
ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory)
              วัย                                                        ภาระ

                                เข้าใจความหมายของคําว่าชีวิต เริ่มต้นงานอาชีพ เลือกและเรียนรู้ที่จะมีชีวิตอยู่กับคู่สมรส
                                    เริ่มต้นตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย และจิตใจของบุตร บริหาร-จัดการ
  วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (18-35 ปี)
                                   ครอบครัว พบปะสังสรรค์กับกลุ่มเพื่อนหรือกลุ่มสังคมที่ถูกคอกัน รับผิดชอบในหน้าที่
                                                                     พลเมืองที่ดี

                                    รับผิดชอบในหน้าที่พลเมืองที่ดีและหน้าที่ต่อสังคมอย่างเต็มที่ สร้างความมั่นคงทาง
                                  เศรษฐกิจสําหรับครอบครัวในอนาคต มีกิจกรรมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ขยาย
    วัยกลางคน (36-60 ปี)        ขอบเขตของความสนใจ ช่วยให้วัยรุ่นกลายเป็นผู้ใหญ่ที่มีความรับผิดชอบและมีสุข ปรับตัว
                                ให้เหมาะสมกับการเป็นบิดามารดาในวัยที่มีอายุมากขึ้น ปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง
                                                            ทางด้านร่างกายของคนในวัยนี้


                                  ปรับตัวต่อการลดลงของความแข็งแรงทางด้านร่างกาย ปรับตัวต่อการเกษียณอายุ การลด
วัยสุดท้ายของชีวิต (60 ปีขึ้นไป) ลงของรายได้ การเสียชีวิตของคู่สมรสและเพื่อนฝูง มีบทบาทที่จํากัดในด้านความรับผิดชอบ
                                                  ต่อสังคมทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถของแต่ละบุคคล
ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory)




                             James C.Coleman,
ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory)
 วัย                                           ภาระ

          พัฒนาและใช้ความสามารถของตนเอง ยอมรับตนเอง และพัฒนาความเชื่อมั่นในตนเอง
         ยอมรับความเป็นจริง และเสริมสร้างทัศนคติ และค่านิยมที่ถูกต้องและมีคุณค่า มีส่วนร่วม
ทุกวัย
         อย่างสร้างสรรค์และรับผิดชอบต่อครอบครัวและต่อกลุ่มอื่น สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคล
                                           อื่นในสังคม




                                                                   James C.Coleman,
ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory)
 วัย                                           ภาระ

          พัฒนาและใช้ความสามารถของตนเอง ยอมรับตนเอง และพัฒนาความเชื่อมั่นในตนเอง
         ยอมรับความเป็นจริง และเสริมสร้างทัศนคติ และค่านิยมที่ถูกต้องและมีคุณค่า มีส่วนร่วม
ทุกวัย
         อย่างสร้างสรรค์และรับผิดชอบต่อครอบครัวและต่อกลุ่มอื่น สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคล
                                           อื่นในสังคม




                                                                   James C.Coleman,
ทฤษฎีเกี่ยวกับการรับรู้
Perception theory
ทฤษฎีเกี่ยวกับการรับรู้ (Perception theory)
ทฤษฎีเกี่ยวกับการรับรู้ (Perception theory)
ทฤษฎีการจูงใจ
Motivation theory
ทฤษฎีการจูงใจ (Motivation theory)
ทฤษฎีการจูงใจ (Motivation theory)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับสมดุลยภาพและแรงขับ (Homeostasis and drive theory)
ทฤษฎีการจูงใจ (Motivation theory)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับสมดุลยภาพและแรงขับ (Homeostasis and drive theory)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับความจําเป็นและแรงขับ (Theory of needs and drives)
ทฤษฎีการจูงใจ (Motivation theory)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับสมดุลยภาพและแรงขับ (Homeostasis and drive theory)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับความจําเป็นและแรงขับ (Theory of needs and drives)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับเหตุกระตุ้นใจ (Incentive theory)
ทฤษฎีการจูงใจ (Motivation theory)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับสมดุลยภาพและแรงขับ (Homeostasis and drive theory)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับความจําเป็นและแรงขับ (Theory of needs and drives)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับเหตุกระตุ้นใจ (Incentive theory)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับสัญชาตญาณ (Instinct theory)
ทฤษฎีการจูงใจ (Motivation theory)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับสมดุลยภาพและแรงขับ (Homeostasis and drive theory)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับความจําเป็นและแรงขับ (Theory of needs and drives)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับเหตุกระตุ้นใจ (Incentive theory)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับสัญชาตญาณ (Instinct theory)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตไร้สํานึก (Theory of unconscious motivation)
ทฤษฎีการจูงใจ (Motivation theory)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับสมดุลยภาพและแรงขับ (Homeostasis and drive theory)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับความจําเป็นและแรงขับ (Theory of needs and drives)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับเหตุกระตุ้นใจ (Incentive theory)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับสัญชาตญาณ (Instinct theory)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตไร้สํานึก (Theory of unconscious motivation)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับการรับรู้ (Cognitive theory)
ทฤษฎีการจูงใจ (Motivation theory)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับสมดุลยภาพและแรงขับ (Homeostasis and drive theory)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับความจําเป็นและแรงขับ (Theory of needs and drives)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับเหตุกระตุ้นใจ (Incentive theory)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับสัญชาตญาณ (Instinct theory)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตไร้สํานึก (Theory of unconscious motivation)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับการรับรู้ (Cognitive theory)
•   ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตวิญญาณ (Spiritual theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้
(Learning theory)
Bloom’s learning theory
Bloom’s learning theory
                                                                        ทักษะพิสัย (Psychomotor
พุทธิพิสัย (Cognitive domain)    เจตพิสัย (Affective domain)
                                                                                 domain)

     ความรู้ (Knowledge)          การให้ความสนใจ (Receiving)              การเลียนแบบ (Imitation)


 ความเข้าใจ (Comprehensive)        การตอบสนอง (Responding)             การทําตามแบบ (Manipulation)


   การประยุกต์ (Application)    การสร้างคุณค่าและค่านิยม (Values)       การมีความถูกต้อง (Precision)


    การวิเคราะห์ (Analysis)        การจัดกลุ่มค่า (Organising)      การกระทําอย่างต่อเนื่อง (Articulation)

                                                                          การกระทําโดยธรรมชาติ
   การสังเคราะห์ (Synthesis)     การแสดงลักษณะค่านิยมที่ยึดถือ
                                                                             (Naturalisation)

  การประเมินผล (Evaluation)
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ              การรับรู้ประโยชน์
                                                                   Received benefits
                                    ประชาสังคม
                                 Socio-demographic              การรับรู้อุปสรรค/ปัญหา
  การรับรู้โอกาสเสี่ยง                                            Received barriers
 Received susceptibility

                                 การรับรู้ถึงอันตราย     วิธีการปฏิบัติ
                                  Received threat            Action



การรับรู้ความรุนแรงของโรค                                        แรงจูงใจด้านสุขภาพ
  Received seriousness                                            Health motivation
                                 แนวทางในการปฏิบัติ
                                   Cues to action
                                                                     ปัจจัยร่วม
                                                                   Modifying factors

                                                       http://www.med.usf.edu
เนื้อหา (Concepts)                    ความหมาย (Definition)                          การประยุกต์ใช้ (Applications)
                                                                                     ศึกษาประชากรที่อยู่ในภาวะเสี่ยง ระดับความเสี่ยง
                                                                                           ความเสี่ยงของบุคคลโดยยึดตามฐาน
        การรับรู้โอกาสเสี่ยง         จะต้องมีโอกาสรับรู้ถึงภาวะเสี่ยงต่อโรคนั้น ๆ
                                                                                         บุคลิกลักษณะ หรือพฤติกรรมของบุคคลที่
                                                                                       แสดงออกในการรับรู้ภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรค
                                    จะต้องรับรู้ถึงความรุนแรงและผลที่จะได้รับจาก ระบุผลของการเป็นโรคตลอดจนเงื่อนไขต่างๆ ที่จะ
   การรับรู้ต่อความรุนแรงของโรค
                                                    การเป็นโรคนั้นๆ                         ได้รับจากการเป็นโรค
                                      จะต้องรับรู้ถึงผลประโยชน์และประสิทธิผลใน
                                                                                       หาวิธีการปฏิบัติว่าควรทําอย่างไร ทําเมื่อไหร่
     การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับ      การปฏิบัติเพื่อป้องกันและรักษาเกี่ยวกับโร
                                                                                         ที่ไหน และประสิทธิผลที่คาดว่าจะได้รับ
                                                         คนั้นๆ
                                                                                     วิเคราะห์ถึงปัญหา/อุปสรรคที่เกิดขึ้นและคาดว่าจะ
                                      จะต้องรับรู้อุปสรรคตลอดจนปัญหาต่างๆ ที่
      การรับรู้อุปสรรค/ปัญหา                                                         เกิดขึ้นเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขและลดการเกิด
                                               เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ
                                                                                          ปัญหาตลอดจนวิธีการให้ความช่วยเหลือ
                                      แนวทางในการปฏิบัติเพื่อหลีกเลี่ยงจากการ             มีขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องชัดเจน
       แนวทางในการปฏิบัติ            เป็นโรคจะขึ้นอยู่กับการรับรู้ถึงภาวะเสี่ยงและ    เกี่ยวข้องกับการป้องกัน การรักษา ตลอดจนการ
                                                 ความรุนแรงของโรค                           แก้ไขปัญหาต่างๆ แก่ทุกคนที่เกี่ยวข้อง
                                                                            มีการให้ความรู้ การฝึกอบรม การให้สุขศึกษาเกี่ยว
                               ผู้ปฏิบัติมีความมั่นใจในการปฏิบัติตามขั้นตอน
ความสามารถในการเปลี่ยนพฤติกรรม                                               กับการปฏิบัติตนเพื่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
                                และวิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องและเหมาะสม เพื่อ
     ของตนเอง (Self-efficacy)                                                 ของตนเพื่อสุขภาพที่ดีขึ้น เพื่อก่อให้เกิดความเชื่อ
                                   เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
                                                                             มั่นในการปฏิบัติดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แนวคิดแรงสนับสนุนทางสังคม
แนวคิดแรงสนับสนุนทางสังคม
•   การตัดสินใจส่วนใหญ่ของบุคคลจะขึ้นอยู่กับอิทธิพลของบุคคลผู้ซึ่งมีความสําคัญ
    และมีอํานาจเหนือกว่าตัวเราเอง
แนวคิดแรงสนับสนุนทางสังคม
•   การตัดสินใจส่วนใหญ่ของบุคคลจะขึ้นอยู่กับอิทธิพลของบุคคลผู้ซึ่งมีความสําคัญ
    และมีอํานาจเหนือกว่าตัวเราเอง
•   การจัดโปรแกรมสุขศึกษา
แนวคิดแรงสนับสนุนทางสังคม
•   การตัดสินใจส่วนใหญ่ของบุคคลจะขึ้นอยู่กับอิทธิพลของบุคคลผู้ซึ่งมีความสําคัญ
    และมีอํานาจเหนือกว่าตัวเราเอง
•   การจัดโปรแกรมสุขศึกษา
    •   การสนับสนุนทางด้านอารมณ์ (Emotional support) เช่น การให้ความสนใจ การ
        ยอมรับนับถือ ความห่วงใย การกระตุ้นเตือน การถามไถ่
แนวคิดแรงสนับสนุนทางสังคม
•   การตัดสินใจส่วนใหญ่ของบุคคลจะขึ้นอยู่กับอิทธิพลของบุคคลผู้ซึ่งมีความสําคัญ
    และมีอํานาจเหนือกว่าตัวเราเอง
•   การจัดโปรแกรมสุขศึกษา
    •   การสนับสนุนทางด้านอารมณ์ (Emotional support) เช่น การให้ความสนใจ การ
        ยอมรับนับถือ ความห่วงใย การกระตุ้นเตือน การถามไถ่
    •   การสนับสนุนโดยการให้การประเมิน (Appraisal support) เช่น การให้ข้อมูลย้อน
        กลับ การเห็นพ้อง การให้การรับรอง หรือการยอมรับในสิ่งที่คนอื่นแสดงออกมา
        หรือการช่วยเหลือโดยทางตรงหรือทางอ้อม
แนวคิดแรงสนับสนุนทางสังคม
•   การตัดสินใจส่วนใหญ่ของบุคคลจะขึ้นอยู่กับอิทธิพลของบุคคลผู้ซึ่งมีความสําคัญ
    และมีอํานาจเหนือกว่าตัวเราเอง
•   การจัดโปรแกรมสุขศึกษา
    •   การสนับสนุนทางด้านอารมณ์ (Emotional support) เช่น การให้ความสนใจ การ
        ยอมรับนับถือ ความห่วงใย การกระตุ้นเตือน การถามไถ่
    •   การสนับสนุนโดยการให้การประเมิน (Appraisal support) เช่น การให้ข้อมูลย้อน
        กลับ การเห็นพ้อง การให้การรับรอง หรือการยอมรับในสิ่งที่คนอื่นแสดงออกมา
        หรือการช่วยเหลือโดยทางตรงหรือทางอ้อม
    •   การให้ข้อมูลข่าวสาร (Information support) เช่น การให้คําปรึกษาแนะนํา การ
        ตักเตือน การให้ความรู้
ทฤษฎีความสามารถของตนเอง
ทฤษฎีความสามารถของตนเอง

บุคคล                         พฤติกรรม                               ผลลัพธ์
Person                        Behavior                              Outcome




    ความคาดหวังในความสามารถ          ความคาดหวังในผลของการกระทําที่จะเกิดขึ้น
       Efficacy expectations                  Outcome expectations
ทฤษฎีความสามารถของตนเอง

บุคคล                                     พฤติกรรม                                              ผลลัพธ์
Person                                    Behavior                                             Outcome




    ความคาดหวังในความสามารถ                           ความคาดหวังในผลของการกระทําที่จะเกิดขึ้น
       Efficacy expectations                                   Outcome expectations


                                           ความคาดหวังในผลของการกระทําที่จะเกิดขึ้น
                                              สูง                            ต่ํา

      ความคาดหวังเกี่ยวกับ   สูง    มีแนวโน้มที่จะทําแน่นอน          มีแนวโน้มที่จะไม่ทํา
     ความสามารถของตนเอง      ต่ํา     มีแนวโน้มที่จะไม่ทํา        มีแนวโน้มที่จะไม่ทําแน่นอน
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความคาดหวังความสามารถของบุคคล
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความคาดหวังความสามารถของบุคคล
•   Performance accomplishment คือ ความสามารถจากการกระทํา ซึ่งเป็นปัจจัยที่มี
    อิทธิพลต่อความคาดหวังเกี่ยวกับความสามารถของบุคคลมากที่สุด
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความคาดหวังความสามารถของบุคคล
•   Performance accomplishment คือ ความสามารถจากการกระทํา ซึ่งเป็นปัจจัยที่มี
    อิทธิพลต่อความคาดหวังเกี่ยวกับความสามารถของบุคคลมากที่สุด
•   Vicarious experience คือ การได้เห็นประสบการณ์ของผู้อื่นประสบความสําเร็จ
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความคาดหวังความสามารถของบุคคล
•   Performance accomplishment คือ ความสามารถจากการกระทํา ซึ่งเป็นปัจจัยที่มี
    อิทธิพลต่อความคาดหวังเกี่ยวกับความสามารถของบุคคลมากที่สุด
•   Vicarious experience คือ การได้เห็นประสบการณ์ของผู้อื่นประสบความสําเร็จ
•   Verbs persuasion คือ การที่ผู้อื่นใช้ความพยายามในการพูดกับบุคคลเพื่อให้เขา
    เชื่อว่าเข้ามีความสามารถที่จะกระทําพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งให้ประสบความ
    สําเร็จได้
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความคาดหวังความสามารถของบุคคล
•   Performance accomplishment คือ ความสามารถจากการกระทํา ซึ่งเป็นปัจจัยที่มี
    อิทธิพลต่อความคาดหวังเกี่ยวกับความสามารถของบุคคลมากที่สุด
•   Vicarious experience คือ การได้เห็นประสบการณ์ของผู้อื่นประสบความสําเร็จ
•   Verbs persuasion คือ การที่ผู้อื่นใช้ความพยายามในการพูดกับบุคคลเพื่อให้เขา
    เชื่อว่าเข้ามีความสามารถที่จะกระทําพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งให้ประสบความ
    สําเร็จได้
•   Emotion arousal คือ สภาวะทางอารมณ์ เช่น ความเครียด ความวิตกกังวล ตื่น
    เต้น มีอาการอ่อนเพลีย เมื่อยล้า จะส่งผลต่อความคาดหวังต่อพฤติกรรมของ
    ตนเอง
ลักษณะความสามารถของบุคคล




                           Bandura, 1977
ลักษณะความสามารถของบุคคล

              ปริมาณความคาดหวัง
                  Magnitude




ความมั่นใจ                        การนําไปใช้
Strength                          Generally



                                     Bandura, 1977
แนวความคิดเกี่ยวกับความเชื่ออํานาจแห่งตน
                                                                 ความคาดหวังพฤติกรรม                ผลตอบแทนจากพฤติกรรม
    พฤติกรรม                          ผลตอบแทน
                                                                        ใหม่                               ใหม่



                                ย้อนกลับไปสู่ความคาด             ความเชื่อเกี่ยวกับอํานาจ            ควาคาดหวังขยายออก
แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์
                                      หวังอื่นๆ                  ภายใน/ภายนอกของตน                  ครอบคลุมพฤติกรรมทั่วไป


  อํานาจภายนอกตนเอง (External locus of control)                   อํานาจภายในตนเอง (Internal locus of control)
  บุคคลเชื่อหรือรับรู้ต่อเหตุการณ์หรือสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับ   บุคคลเชื่อหรือรับรู้ต่อเหตุการณ์หรือสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับ
     ตนนั้นขึ้นอยู่กับอิทธิพลภายนอกตนเองที่ไม่สามารถ              ตนนั้นเป็นผลมาจากการกระทําหรือจากความสามารถ
  ควบคุมได้ เช่น โชค เคราะห์ ความบังเอิญ หรืออิทธิพลที่                                   ของตน
                      ผู้อื่นบันดาลให้เป็นไป
                                                                 •มีความกระตือรือร้นต่อความเป็นไปของสิ่งแวดล้อม ซึ่ง
                                                                 เป็นประโยชน์สําหรับพฤติกรรมในอนาคต
                                                                 •พยายามปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปตามขั้น
                                                                 •เห็นคุณค่าของทักษะหรือผลสัมฤทธิ์จากความพยายาม
                                                                 เป็นสําคัญและคํานึงถึงความสามารถของตนเองอยู่เสมอ
ทฤษฎีการกระทําด้วยเหตุผล

 ความเชื่อของบุคคลเกี่ยวกับผลของ
พฤติกรรมและการประเมินคุณค่าตาม          ทัศนคติต่อพฤติกรรม
            ความเชื่อ




                                           น้ําหนักในการ          ความตั้งใจใน
                                        พิจารณาด้วยทัศนคติ       การที่จะประกอบ    พฤติกรรม
                                           และบรรทัดฐาน            พฤติกรรม



ความเชื่อของบุคคลตามความคาดหวัง
ของกลุ่มอ้างอิงเกี่ยวกับพฤติกรรมและ
                                      บรรทัดฐานของกลุ่มอ้างอิง
แรงจูงใจที่จะปฏิบัติตามความคาดหวัง
                 นั้น

                                                             Ajzen, I and Fishbein, M, 1980
PRECEDE framework model
    ขั้นตอนที่ 6           ขั้นตอนที่ 4-5          ขั้นตอนที่ 3                              ขั้นตอนที่ 1-2
การวิเคราะห์ทางการ      การวิเคราะห์ทางการ       การวิเคราะห์ทาง                          การวิเคราะห์ทางการ
                                                                                ปัญหา
       บริหาร                  ศึกษา               พฤติกรรม                              ระบาดวิทยาและสังคม
                                                                                  อื่น
                             ปัจจัยนํา
                      •ความรู้
                      •เจตคติ                      สาเหตุอื่นๆ                              คุณภาพชีวิต
                      •ค่านิยม
                      •การรับรู้

                           ปัจจัยเอื้อ
องค์ประกอบปัญหา                                 สาเหตุพฤติกรรมทาง
                      •ทรัพยากรที่มีอยู่                                                   ปัญหาสุขภาพ
     สุขภาพ                                           สุขภาพ
                      •การเข้าถึงทรัพยากร
                      •ทักษะ

                            ปัจจัยเสริม
                     เจตคติและพฤติกรรมของ
                     บุคคลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
                     เช่น กลุ่มเพื่อน พ่อแม่
                     พนักงาน ฯลฯ                                    Lawrence W.Green, et. al. , 1980
PRECEDE PROCEED model
PRECEDE PROCEED model
•   ใช้อธิบายพฤติกรรมของชุมชนหรือกลุ่มบุคคล
•   ใช้วิเคราะห์ปัญหาสุขภาพ และหาสาเหตุเพื่อวางแผนงานส่งเสริมสุขภาพ
•   วิเคราะห์ในหลายประเด็น
    •   สาเหตุทางสังคม
    •   สาเหตุทางชีวภาพการแพทย์
    •   สาเหตุทางพฤติกรรมศาสตร์
    •   สาเหตุทางด้านการบริหาร
หลักการของ PRECEDE PROCEED model
หลักการของ PRECEDE PROCEED model




1       การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย
หลักการของ PRECEDE PROCEED model




1               การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย




2   ปัจจัยสิ่งแวดล้อมเป็นตัวกําหนดสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ
หลักการของ PRECEDE PROCEED model

                         PRECEDE
                      PROCEED Model




1               การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย




2   ปัจจัยสิ่งแวดล้อมเป็นตัวกําหนดสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ
The behavioral matrix
The behavioral matrix

ความสําคัญ/ความสามารถ
                              มีสําคัญมาก           มีสําคัญน้อย
   ในการเปลี่ยนแปลง

                           มีความสําคัญมากและ   มีความสําคัญน้อยแต่
สามารถเปลี่ยนแปลงได้มาก
                            เปลี่ยนแปลงได้มาก    เปลี่ยนแปลงได้มาก

                           มีความสําคัญมากแต่   มีความสําคัญน้อยและ
สามารถเปลี่ยนแปลงได้น้อย
                           เปลี่ยนแปลงได้น้อย    เปลี่ยนแปลงได้น้อย
Empowerment education model




                        Paulo Freire , 1975
Empowerment education model
การศึกษาเพื่อสร้างพลัง   การสร้างพลัง




                                 Paulo Freire , 1975
Empowerment education model
            การศึกษาเพื่อสร้างพลัง                                               การสร้างพลัง


•การเรียนการสอนเน้นการสร้างพลังให้แก่บุคคล เป็นการสนับสนุนให้บุคคลเล็งเห็นความสัมพันธ์ของตนกับสิ่ง
แวดล้อม และเชื่อว่าตนสามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตนเอง ชุมชน และสังคมได้
•การเรียนรู้ที่จะเริ่มจากประสบการณ์ของผู้เรียน แล้วให้ผู้เรียนวิทเคราะห์ โยงใยปัญหาต่างๆ ของบุคคลเข้ากับ
ปัจจัยทางสังคมที่เป็นเหตุนําไปสู่การปรับพฤติกรรม
•การเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนเข้ามามีส่วนร่วมในทุกๆ ขั้นตอน ตั้งแต่การ
เลือกปัญหา การวางแผน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การประเมินผลตนเอง และการประเมินผลโครงการ
•การเรียนรู้ร่วมกันเป้นกลุ่ม ให้โอกาสผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดซึ่งกันและกัน
•การเรียนรู้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งความรู้ ทัศนคติ และทักษะซึ่งอาจจะเป็นการเปลี่ยนแปลงทันทีหรือภาย
หลังการลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในการเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม
•การเรียนการสอนที่มีความยืดหยุ่นและมีความต่อเนื่องในกระบวนการเรียนการสอน
•การเรียนการสอนที่สนุกสนานไม่น่าเบื่อ และมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน
                                                                                             Paulo Freire , 1975
กระบวนการของ Empowerment
กระบวนการของ Empowerment
    ประสบการณ์ (Experience)
การนําประสบการณ์ที่ผู้เรียนหรือบุคคล          การระบุประสบการณ์ (Naming)
 กระทํา รู้สึก มองเห็น หรือได้ยิน การ       การแลกเปลี่ยนความคิด ความรู้สึกต่อ
จําลองประสบการณ์เป็นจุดเริ่มต้นของ                ประสบการณ์โดยผู้เรียน
           กระบวนการเรียนรู้


                                                                                การวิเคราะห์ (Analysis)
                                                                         การให้ผู้เรียนแต่ละคนและกลุ่มเกิดความ
                                                                         เข้าใจในอิทธิพลและความสัมพันธ์กับสิง่
                                                                         ต่างๆ และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากเหตุกา
                                                                                         รณ์นั้นๆ


         การปฎิบัติ (Doing)
                                                    การวางแผน (Planning)
การกระทําเพื่อค้นหาข้อเท็จจริงและการ
                                            ผู้เรียนได้หาแนวทางหรือกลวิธีเพื่อการ
  ปฏิบัติ โดยการปฏิบัติจะกลายเป็น
                                            เปลี่ยนแปลงโดยกําหนดว่าจะทําอะไร
ประสบการณ์ใหม่ที่จะทําไปสู่การเรียนรู้ที่
                                            และอย่างไรต่อไปจากประสบการณ์นั้น
            ต่อเนื่องต่อไป
การวางแผนเพื่อพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
การวางแผนเพื่อพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
•       การวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพ/ปัญหาสาธารณสุข
•       การวิเคราะห์สาเหตุของพฤติกรรม
    •     ปัจจัยนํา (Predisposing factors) คือ ปัจจัยที่เป็นฐานและก่อให้เกิดแรงจูงใจในการแสดงพฤติกรรมของ
          บุคคล ได้แก่ ความรู้ ความเชื่อ ค่านิยม การรับรู้ และทักษะดั้งเดิม
    •     ปัจจัยเอื้อ (Enabling factors) คือ สิ่งที่เป็นแหล่งทรัพยากรที่จําเป็นในการแสดงพฤติกรรมของบุคคล ชุมชน
          และทักษะใหม่
    •     ปัจจัยเสริม (Reinforcing factors) คือ ปัจจัยที่เป็นผลสะท้อนที่บุคคลจะได้รับหรือคาดว่าจะได้รับจากการ
          แสดงพฤติกรรมนั้น เช่น รางวัล ผลตอบแทน การลงโทษ
•       การวิเคราะห์พฤติกรรมเป้าหมาย
•       การวางแผนดําเนินงาน
•       การดําเนินงานตามแผนพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่วางไว้
•       การประเมินผลการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
การปรับพฤติกรรม

Behavior = f ( Organism * Environment)
                   Knowledge
                    Attitude
                      Belief
                      Value
                   Perception
                       Skill
                    Intention
                     practice
ดร.ธรรมรักษ์ เรืองจรัส

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษาWatcharin Chongkonsatit
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...
ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...
ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...JuSNet (Just Society Network)
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษาWatcharin Chongkonsatit
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยNU
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
Six building blocks pdf 19 มิถุนายน 2557
Six building blocks   pdf 19 มิถุนายน 2557Six building blocks   pdf 19 มิถุนายน 2557
Six building blocks pdf 19 มิถุนายน 2557Kamol Khositrangsikun
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR) Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR) Borwornsom Leerapan
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทยWatcharin Chongkonsatit
 
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านคู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านUtai Sukviwatsirikul
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Tang Thowr
 

La actualidad más candente (20)

9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...
ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...
ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
Six building blocks pdf 19 มิถุนายน 2557
Six building blocks   pdf 19 มิถุนายน 2557Six building blocks   pdf 19 มิถุนายน 2557
Six building blocks pdf 19 มิถุนายน 2557
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR) Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
 
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านคู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
 

Destacado

Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การChapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การwanna2728
 
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจPoy Thammaugsorn
 
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดีหลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดีpluakdeang Hospital
 
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีTuang Thidarat Apinya
 
กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 1 (DAY 1)
กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 1 (DAY 1)กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 1 (DAY 1)
กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 1 (DAY 1)thaiworkshoppbs
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้masaya_32
 
Theory of reasoned action
Theory of reasoned actionTheory of reasoned action
Theory of reasoned actionpaulebuckley
 
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคมทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคมSiririn Noiphang
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์wiraja
 
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจtanongsak
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการNapin Yeamprayunsawasd
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติSambushi Kritsada
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การChapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การwanna2728
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัยguest9e1b8
 

Destacado (20)

Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การChapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
 
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจ
 
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดีหลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
 
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
 
กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 1 (DAY 1)
กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 1 (DAY 1)กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 1 (DAY 1)
กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 1 (DAY 1)
 
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจ
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Theory of reasoned action
Theory of reasoned actionTheory of reasoned action
Theory of reasoned action
 
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคมทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
 
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การChapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 
Km(Pongsak)1
Km(Pongsak)1Km(Pongsak)1
Km(Pongsak)1
 
Group2
Group2Group2
Group2
 

Similar a 7 พฤติกรรมศาสตร์

Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurstya035
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurstNew Born
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurstpattamasatun
 
Social psychology1
Social psychology1Social psychology1
Social psychology1csmithikrai
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3Nok Tiwung
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660CUPress
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บรรพต แคไธสง
 
152010010020
152010010020152010010020
152010010020Aaesah
 
ทฤษฏีฮาวิกเวิร์ก
ทฤษฏีฮาวิกเวิร์กทฤษฏีฮาวิกเวิร์ก
ทฤษฏีฮาวิกเวิร์กmakusoh026
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 

Similar a 7 พฤติกรรมศาสตร์ (20)

Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Social psychology1
Social psychology1Social psychology1
Social psychology1
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
152010010020
152010010020152010010020
152010010020
 
ทฤษฏีฮาวิกเวิร์ก
ทฤษฏีฮาวิกเวิร์กทฤษฏีฮาวิกเวิร์ก
ทฤษฏีฮาวิกเวิร์ก
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
05 ethics
05 ethics05 ethics
05 ethics
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 

Más de Watcharin Chongkonsatit

Más de Watcharin Chongkonsatit (20)

Sale person's communication
Sale person's communicationSale person's communication
Sale person's communication
 
Enneagram
Enneagram Enneagram
Enneagram
 
Organization Theory
Organization TheoryOrganization Theory
Organization Theory
 
A Manager's Challenge (11)
A Manager's Challenge (11)A Manager's Challenge (11)
A Manager's Challenge (11)
 
A Manager's Challenge (7)
A Manager's Challenge (7)A Manager's Challenge (7)
A Manager's Challenge (7)
 
A Manager's Challenge (16)
A Manager's Challenge (16)A Manager's Challenge (16)
A Manager's Challenge (16)
 
A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)
 
A Manager's Challenge (18)
A Manager's Challenge (18)A Manager's Challenge (18)
A Manager's Challenge (18)
 
A Manager's Challenge (6)
A Manager's Challenge (6)A Manager's Challenge (6)
A Manager's Challenge (6)
 
A Manager's Challenge (17)
A Manager's Challenge (17)A Manager's Challenge (17)
A Manager's Challenge (17)
 
A Manager's Challenge (2)
A Manager's Challenge (2)A Manager's Challenge (2)
A Manager's Challenge (2)
 
A Manager's Challenge (8)
A Manager's Challenge (8)A Manager's Challenge (8)
A Manager's Challenge (8)
 
A Manager's Challenge (10)
A Manager's Challenge (10)A Manager's Challenge (10)
A Manager's Challenge (10)
 
A Manager's Challenge (9)
A Manager's Challenge (9)A Manager's Challenge (9)
A Manager's Challenge (9)
 
A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)
 
A Manager's Challenge (3)
A Manager's Challenge (3)A Manager's Challenge (3)
A Manager's Challenge (3)
 
A Manager's Challenge (15)
A Manager's Challenge (15)A Manager's Challenge (15)
A Manager's Challenge (15)
 
A Manager's Challenge (12)
A Manager's Challenge (12)A Manager's Challenge (12)
A Manager's Challenge (12)
 
A Manager's Challenge (1)
A Manager's Challenge (1)A Manager's Challenge (1)
A Manager's Challenge (1)
 
A Manager's Challenge (4)
A Manager's Challenge (4)A Manager's Challenge (4)
A Manager's Challenge (4)
 

7 พฤติกรรมศาสตร์

  • 1. ทฤษฎีพฤติกรรม และ การปรับพฤติกรรม
  • 2.
  • 6. บุคลิกภาพ Personality พัฒนาการ Development พฤติกรรม ศาสตร์
  • 7. บุคลิกภาพ Personality พัฒนาการ Development พฤติกรรม ศาสตร์ การรับรู้ Perception
  • 8. บุคลิกภาพ Personality พัฒนาการ Development พฤติกรรม ศาสตร์ การเรียนรู้ การรับรู้ Learning Perception
  • 9. บุคลิกภาพ Personality แรงจูงใจ พัฒนาการ Motivation Development พฤติกรรม ศาสตร์ การเรียนรู้ การรับรู้ Learning Perception
  • 10.
  • 13. ทฤษฎีเกี่ยวกับบุคลิกภาพ (Personality theory) • บุคลิกภาพเป็นกระบวนการจัดการพลวัตรของระบบจิต-สรีรวิทยาภายในตัวบุคคล ซึ่งกําหนดพฤติกรรม และ แนวความคิดที่บ่งลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล
  • 14. ทฤษฎีเกี่ยวกับบุคลิกภาพ (Personality theory) • บุคลิกภาพเป็นกระบวนการจัดการพลวัตรของระบบจิต-สรีรวิทยาภายในตัวบุคคล ซึ่งกําหนดพฤติกรรม และ แนวความคิดที่บ่งลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล พันธุกรรม สิ่งแวดล้อม ลักษณะแห่งตน
  • 15. ทฤษฎีเกี่ยวกับบุคลิกภาพ (Personality theory) • บุคลิกภาพเป็นกระบวนการจัดการพลวัตรของระบบจิต-สรีรวิทยาภายในตัวบุคคล ซึ่งกําหนดพฤติกรรม และ แนวความคิดที่บ่งลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล การเจริญและ Chromosomal พัฒนาการ characteristic พันธุกรรม สิ่งแวดล้อม ลักษณะแห่งตน
  • 16. ทฤษฎีเกี่ยวกับบุคลิกภาพ (Personality theory) • บุคลิกภาพเป็นกระบวนการจัดการพลวัตรของระบบจิต-สรีรวิทยาภายในตัวบุคคล ซึ่งกําหนดพฤติกรรม และ แนวความคิดที่บ่งลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล การเจริญและ Chromosomal พัฒนาการ characteristic พันธุกรรม สิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ สิ่งแวดล้อมทาง ด้านสังคมและ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ลักษณะแห่งตน สิ่งแวดล้อมทาง ด้านสังคมนาคม (Socialization)
  • 17. ทฤษฎีเกี่ยวกับบุคลิกภาพ (Personality theory) • บุคลิกภาพเป็นกระบวนการจัดการพลวัตรของระบบจิต-สรีรวิทยาภายในตัวบุคคล ซึ่งกําหนดพฤติกรรม และ แนวความคิดที่บ่งลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล การเจริญและ Chromosomal พัฒนาการ characteristic พันธุกรรม สิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ การรับรู้ สิ่งแวดล้อมทาง คุณค่า ด้านสังคมและ ประสิทธิผล วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ลักษณะแห่งตน ความสําเร็จ สิ่งแวดล้อมทาง ด้านสังคมนาคม ประสบการณ์ (Socialization)
  • 18.
  • 21. ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory) วัย ภาระ เกิดความรู้สึกไว้วางใจตนเองและผู้อื่น พัฒนาแนวคิดที่เหมาะเกี่ยวกับตน เรียนรู้ที่จะให้ ความรักแก่ผู้อื่น รวมกลุ่มกับเพื่อนเพศเดียวกัน มีลักษณะการเคลื่อนไหวที่ผสมผสาน เรียนรู้ วัยเด็กตอนต้น (0-6 ปี) ในการเป็นสมาชิกของครอบครัว เริ่มเรียนรู้ถึงความจริงทางกายภาพและสังคม เริ่มเรียนรู้ ถึงความแตกต่างระหว่างสิ่งที่ถูกและผิด เคารพในกฎเกณฑ์และอํานาจรับผิดชอบ เรียนรู้การ ใช้ภาษา และเรียนรู้การดูแลสุขภาพส่วนบุคคล มีความรู้กว้างขวางขึ้นและเข้าใจโรคทางกายภาพและสังคม สร้างทัศนคติที่ดีต่อตนเอง เรียนรุ้ถึงบทบาทที่เหมาะสมของเพศหญิงและเพศชาย พัฒนาความรู้สึกกลัวบาป ศีลธรรม วัยเด็กตอนกลาง (6-12 ปี) และค่านิยม เรียนรู้ในการอ่าน เขียน คิด คํานวณ และทักษะทางสติปัญญาอื่นๆ เรียนรู้ที่จะ ชนะและให้ตนเองอยู่ในกลุ่มเพื่อน เรียนรู้ที่จะให้และรับ และเกิดการแลกเปลีย่นความรับผิด ชอบ พัฒนาความรู้สึกที่ชัดเจนของการเป็นตัวของตัวเอง และมีความเชื่อมั่นในตัวเอง ปรับตัวให้ เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย สร้างสัมพันธภาพที่ใหม่และเป็นผู้ใหญ่มากขึ้นในเพื่อน วัยรุ่น (12-18 ปี) วัยเดียวกัน มีอารมณ์ที่เป็นตัวของตัวเองโดยไม่ขึ้นกับพ่อแม่ เลือกและเตรียมตัวสําหรับงาน อาชีพ มีค่านิยมที่เหมาะสมกับวุฒิภาวะ และมีความรับผิดชอบต่อสังคม เตรียมตัวสําหรับ การแต่งงานและมีครอบครัว สร้างความสนใจในสิ่งอื่นนอกเหนือจากตนเอง
  • 22. ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory) วัย ภาระ เกิดความรู้สึกไว้วางใจตนเองและผู้อื่น พัฒนาแนวคิดที่เหมาะเกี่ยวกับตน เรียนรู้ที่จะให้ ความรักแก่ผู้อื่น รวมกลุ่มกับเพื่อนเพศเดียวกัน มีลักษณะการเคลื่อนไหวที่ผสมผสาน เรียนรู้ วัยเด็กตอนต้น (0-6 ปี) ในการเป็นสมาชิกของครอบครัว เริ่มเรียนรู้ถึงความจริงทางกายภาพและสังคม เริ่มเรียนรู้ ถึงความแตกต่างระหว่างสิ่งที่ถูกและผิด เคารพในกฎเกณฑ์และอํานาจรับผิดชอบ เรียนรู้การ ใช้ภาษา และเรียนรู้การดูแลสุขภาพส่วนบุคคล มีความรู้กว้างขวางขึ้นและเข้าใจโรคทางกายภาพและสังคม สร้างทัศนคติที่ดีต่อตนเอง เรียนรุ้ถึงบทบาทที่เหมาะสมของเพศหญิงและเพศชาย พัฒนาความรู้สึกกลัวบาป ศีลธรรม วัยเด็กตอนกลาง (6-12 ปี) และค่านิยม เรียนรู้ในการอ่าน เขียน คิด คํานวณ และทักษะทางสติปัญญาอื่นๆ เรียนรู้ที่จะ ชนะและให้ตนเองอยู่ในกลุ่มเพื่อน เรียนรู้ที่จะให้และรับ และเกิดการแลกเปลีย่นความรับผิด ชอบ พัฒนาความรู้สึกที่ชัดเจนของการเป็นตัวของตัวเอง และมีความเชื่อมั่นในตัวเอง ปรับตัวให้ เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย สร้างสัมพันธภาพที่ใหม่และเป็นผู้ใหญ่มากขึ้นในเพื่อน วัยรุ่น (12-18 ปี) วัยเดียวกัน มีอารมณ์ที่เป็นตัวของตัวเองโดยไม่ขึ้นกับพ่อแม่ เลือกและเตรียมตัวสําหรับงาน อาชีพ มีค่านิยมที่เหมาะสมกับวุฒิภาวะ และมีความรับผิดชอบต่อสังคม เตรียมตัวสําหรับ การแต่งงานและมีครอบครัว สร้างความสนใจในสิ่งอื่นนอกเหนือจากตนเอง
  • 23. ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory) วัย ภาระ เกิดความรู้สึกไว้วางใจตนเองและผู้อื่น พัฒนาแนวคิดที่เหมาะเกี่ยวกับตน เรียนรู้ที่จะให้ ความรักแก่ผู้อื่น รวมกลุ่มกับเพื่อนเพศเดียวกัน มีลักษณะการเคลื่อนไหวที่ผสมผสาน เรียนรู้ วัยเด็กตอนต้น (0-6 ปี) ในการเป็นสมาชิกของครอบครัว เริ่มเรียนรู้ถึงความจริงทางกายภาพและสังคม เริ่มเรียนรู้ ถึงความแตกต่างระหว่างสิ่งที่ถูกและผิด เคารพในกฎเกณฑ์และอํานาจรับผิดชอบ เรียนรู้การ ใช้ภาษา และเรียนรู้การดูแลสุขภาพส่วนบุคคล มีความรู้กว้างขวางขึ้นและเข้าใจโรคทางกายภาพและสังคม สร้างทัศนคติที่ดีต่อตนเอง เรียนรุ้ถึงบทบาทที่เหมาะสมของเพศหญิงและเพศชาย พัฒนาความรู้สึกกลัวบาป ศีลธรรม วัยเด็กตอนกลาง (6-12 ปี) และค่านิยม เรียนรู้ในการอ่าน เขียน คิด คํานวณ และทักษะทางสติปัญญาอื่นๆ เรียนรู้ที่จะ ชนะและให้ตนเองอยู่ในกลุ่มเพื่อน เรียนรู้ที่จะให้และรับ และเกิดการแลกเปลีย่นความรับผิด ชอบ พัฒนาความรู้สึกที่ชัดเจนของการเป็นตัวของตัวเอง และมีความเชื่อมั่นในตัวเอง ปรับตัวให้ เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย สร้างสัมพันธภาพที่ใหม่และเป็นผู้ใหญ่มากขึ้นในเพื่อน วัยรุ่น (12-18 ปี) วัยเดียวกัน มีอารมณ์ที่เป็นตัวของตัวเองโดยไม่ขึ้นกับพ่อแม่ เลือกและเตรียมตัวสําหรับงาน อาชีพ มีค่านิยมที่เหมาะสมกับวุฒิภาวะ และมีความรับผิดชอบต่อสังคม เตรียมตัวสําหรับ การแต่งงานและมีครอบครัว สร้างความสนใจในสิ่งอื่นนอกเหนือจากตนเอง
  • 24. ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory) วัย ภาระ เกิดความรู้สึกไว้วางใจตนเองและผู้อื่น พัฒนาแนวคิดที่เหมาะเกี่ยวกับตน เรียนรู้ที่จะให้ ความรักแก่ผู้อื่น รวมกลุ่มกับเพื่อนเพศเดียวกัน มีลักษณะการเคลื่อนไหวที่ผสมผสาน เรียนรู้ วัยเด็กตอนต้น (0-6 ปี) ในการเป็นสมาชิกของครอบครัว เริ่มเรียนรู้ถึงความจริงทางกายภาพและสังคม เริ่มเรียนรู้ ถึงความแตกต่างระหว่างสิ่งที่ถูกและผิด เคารพในกฎเกณฑ์และอํานาจรับผิดชอบ เรียนรู้การ ใช้ภาษา และเรียนรู้การดูแลสุขภาพส่วนบุคคล มีความรู้กว้างขวางขึ้นและเข้าใจโรคทางกายภาพและสังคม สร้างทัศนคติที่ดีต่อตนเอง เรียนรุ้ถึงบทบาทที่เหมาะสมของเพศหญิงและเพศชาย พัฒนาความรู้สึกกลัวบาป ศีลธรรม วัยเด็กตอนกลาง (6-12 ปี) และค่านิยม เรียนรู้ในการอ่าน เขียน คิด คํานวณ และทักษะทางสติปัญญาอื่นๆ เรียนรู้ที่จะ ชนะและให้ตนเองอยู่ในกลุ่มเพื่อน เรียนรู้ที่จะให้และรับ และเกิดการแลกเปลีย่นความรับผิด ชอบ พัฒนาความรู้สึกที่ชัดเจนของการเป็นตัวของตัวเอง และมีความเชื่อมั่นในตัวเอง ปรับตัวให้ เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย สร้างสัมพันธภาพที่ใหม่และเป็นผู้ใหญ่มากขึ้นในเพื่อน วัยรุ่น (12-18 ปี) วัยเดียวกัน มีอารมณ์ที่เป็นตัวของตัวเองโดยไม่ขึ้นกับพ่อแม่ เลือกและเตรียมตัวสําหรับงาน อาชีพ มีค่านิยมที่เหมาะสมกับวุฒิภาวะ และมีความรับผิดชอบต่อสังคม เตรียมตัวสําหรับ การแต่งงานและมีครอบครัว สร้างความสนใจในสิ่งอื่นนอกเหนือจากตนเอง
  • 26. ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory) วัย ภาระ เข้าใจความหมายของคําว่าชีวิต เริ่มต้นงานอาชีพ เลือกและเรียนรู้ที่จะมีชีวิตอยู่กับคู่สมรส เริ่มต้นตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย และจิตใจของบุตร บริหาร-จัดการ วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (18-35 ปี) ครอบครัว พบปะสังสรรค์กับกลุ่มเพื่อนหรือกลุ่มสังคมที่ถูกคอกัน รับผิดชอบในหน้าที่ พลเมืองที่ดี รับผิดชอบในหน้าที่พลเมืองที่ดีและหน้าที่ต่อสังคมอย่างเต็มที่ สร้างความมั่นคงทาง เศรษฐกิจสําหรับครอบครัวในอนาคต มีกิจกรรมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ขยาย วัยกลางคน (36-60 ปี) ขอบเขตของความสนใจ ช่วยให้วัยรุ่นกลายเป็นผู้ใหญ่ที่มีความรับผิดชอบและมีสุข ปรับตัว ให้เหมาะสมกับการเป็นบิดามารดาในวัยที่มีอายุมากขึ้น ปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง ทางด้านร่างกายของคนในวัยนี้ ปรับตัวต่อการลดลงของความแข็งแรงทางด้านร่างกาย ปรับตัวต่อการเกษียณอายุ การลด วัยสุดท้ายของชีวิต (60 ปีขึ้นไป) ลงของรายได้ การเสียชีวิตของคู่สมรสและเพื่อนฝูง มีบทบาทที่จํากัดในด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคมทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถของแต่ละบุคคล
  • 27. ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory) วัย ภาระ เข้าใจความหมายของคําว่าชีวิต เริ่มต้นงานอาชีพ เลือกและเรียนรู้ที่จะมีชีวิตอยู่กับคู่สมรส เริ่มต้นตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย และจิตใจของบุตร บริหาร-จัดการ วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (18-35 ปี) ครอบครัว พบปะสังสรรค์กับกลุ่มเพื่อนหรือกลุ่มสังคมที่ถูกคอกัน รับผิดชอบในหน้าที่ พลเมืองที่ดี รับผิดชอบในหน้าที่พลเมืองที่ดีและหน้าที่ต่อสังคมอย่างเต็มที่ สร้างความมั่นคงทาง เศรษฐกิจสําหรับครอบครัวในอนาคต มีกิจกรรมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ขยาย วัยกลางคน (36-60 ปี) ขอบเขตของความสนใจ ช่วยให้วัยรุ่นกลายเป็นผู้ใหญ่ที่มีความรับผิดชอบและมีสุข ปรับตัว ให้เหมาะสมกับการเป็นบิดามารดาในวัยที่มีอายุมากขึ้น ปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง ทางด้านร่างกายของคนในวัยนี้ ปรับตัวต่อการลดลงของความแข็งแรงทางด้านร่างกาย ปรับตัวต่อการเกษียณอายุ การลด วัยสุดท้ายของชีวิต (60 ปีขึ้นไป) ลงของรายได้ การเสียชีวิตของคู่สมรสและเพื่อนฝูง มีบทบาทที่จํากัดในด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคมทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถของแต่ละบุคคล
  • 28. ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory) วัย ภาระ เข้าใจความหมายของคําว่าชีวิต เริ่มต้นงานอาชีพ เลือกและเรียนรู้ที่จะมีชีวิตอยู่กับคู่สมรส เริ่มต้นตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย และจิตใจของบุตร บริหาร-จัดการ วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (18-35 ปี) ครอบครัว พบปะสังสรรค์กับกลุ่มเพื่อนหรือกลุ่มสังคมที่ถูกคอกัน รับผิดชอบในหน้าที่ พลเมืองที่ดี รับผิดชอบในหน้าที่พลเมืองที่ดีและหน้าที่ต่อสังคมอย่างเต็มที่ สร้างความมั่นคงทาง เศรษฐกิจสําหรับครอบครัวในอนาคต มีกิจกรรมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ขยาย วัยกลางคน (36-60 ปี) ขอบเขตของความสนใจ ช่วยให้วัยรุ่นกลายเป็นผู้ใหญ่ที่มีความรับผิดชอบและมีสุข ปรับตัว ให้เหมาะสมกับการเป็นบิดามารดาในวัยที่มีอายุมากขึ้น ปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง ทางด้านร่างกายของคนในวัยนี้ ปรับตัวต่อการลดลงของความแข็งแรงทางด้านร่างกาย ปรับตัวต่อการเกษียณอายุ การลด วัยสุดท้ายของชีวิต (60 ปีขึ้นไป) ลงของรายได้ การเสียชีวิตของคู่สมรสและเพื่อนฝูง มีบทบาทที่จํากัดในด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคมทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถของแต่ละบุคคล
  • 29. ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory) วัย ภาระ เข้าใจความหมายของคําว่าชีวิต เริ่มต้นงานอาชีพ เลือกและเรียนรู้ที่จะมีชีวิตอยู่กับคู่สมรส เริ่มต้นตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย และจิตใจของบุตร บริหาร-จัดการ วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (18-35 ปี) ครอบครัว พบปะสังสรรค์กับกลุ่มเพื่อนหรือกลุ่มสังคมที่ถูกคอกัน รับผิดชอบในหน้าที่ พลเมืองที่ดี รับผิดชอบในหน้าที่พลเมืองที่ดีและหน้าที่ต่อสังคมอย่างเต็มที่ สร้างความมั่นคงทาง เศรษฐกิจสําหรับครอบครัวในอนาคต มีกิจกรรมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ขยาย วัยกลางคน (36-60 ปี) ขอบเขตของความสนใจ ช่วยให้วัยรุ่นกลายเป็นผู้ใหญ่ที่มีความรับผิดชอบและมีสุข ปรับตัว ให้เหมาะสมกับการเป็นบิดามารดาในวัยที่มีอายุมากขึ้น ปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง ทางด้านร่างกายของคนในวัยนี้ ปรับตัวต่อการลดลงของความแข็งแรงทางด้านร่างกาย ปรับตัวต่อการเกษียณอายุ การลด วัยสุดท้ายของชีวิต (60 ปีขึ้นไป) ลงของรายได้ การเสียชีวิตของคู่สมรสและเพื่อนฝูง มีบทบาทที่จํากัดในด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคมทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถของแต่ละบุคคล
  • 31. ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory) วัย ภาระ พัฒนาและใช้ความสามารถของตนเอง ยอมรับตนเอง และพัฒนาความเชื่อมั่นในตนเอง ยอมรับความเป็นจริง และเสริมสร้างทัศนคติ และค่านิยมที่ถูกต้องและมีคุณค่า มีส่วนร่วม ทุกวัย อย่างสร้างสรรค์และรับผิดชอบต่อครอบครัวและต่อกลุ่มอื่น สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคล อื่นในสังคม James C.Coleman,
  • 32. ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory) วัย ภาระ พัฒนาและใช้ความสามารถของตนเอง ยอมรับตนเอง และพัฒนาความเชื่อมั่นในตนเอง ยอมรับความเป็นจริง และเสริมสร้างทัศนคติ และค่านิยมที่ถูกต้องและมีคุณค่า มีส่วนร่วม ทุกวัย อย่างสร้างสรรค์และรับผิดชอบต่อครอบครัวและต่อกลุ่มอื่น สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคล อื่นในสังคม James C.Coleman,
  • 34.
  • 35.
  • 36.
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 44. ทฤษฎีการจูงใจ (Motivation theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับสมดุลยภาพและแรงขับ (Homeostasis and drive theory)
  • 45. ทฤษฎีการจูงใจ (Motivation theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับสมดุลยภาพและแรงขับ (Homeostasis and drive theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับความจําเป็นและแรงขับ (Theory of needs and drives)
  • 46. ทฤษฎีการจูงใจ (Motivation theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับสมดุลยภาพและแรงขับ (Homeostasis and drive theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับความจําเป็นและแรงขับ (Theory of needs and drives) • ทฤษฎีเกี่ยวกับเหตุกระตุ้นใจ (Incentive theory)
  • 47. ทฤษฎีการจูงใจ (Motivation theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับสมดุลยภาพและแรงขับ (Homeostasis and drive theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับความจําเป็นและแรงขับ (Theory of needs and drives) • ทฤษฎีเกี่ยวกับเหตุกระตุ้นใจ (Incentive theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับสัญชาตญาณ (Instinct theory)
  • 48. ทฤษฎีการจูงใจ (Motivation theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับสมดุลยภาพและแรงขับ (Homeostasis and drive theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับความจําเป็นและแรงขับ (Theory of needs and drives) • ทฤษฎีเกี่ยวกับเหตุกระตุ้นใจ (Incentive theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับสัญชาตญาณ (Instinct theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตไร้สํานึก (Theory of unconscious motivation)
  • 49. ทฤษฎีการจูงใจ (Motivation theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับสมดุลยภาพและแรงขับ (Homeostasis and drive theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับความจําเป็นและแรงขับ (Theory of needs and drives) • ทฤษฎีเกี่ยวกับเหตุกระตุ้นใจ (Incentive theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับสัญชาตญาณ (Instinct theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตไร้สํานึก (Theory of unconscious motivation) • ทฤษฎีเกี่ยวกับการรับรู้ (Cognitive theory)
  • 50. ทฤษฎีการจูงใจ (Motivation theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับสมดุลยภาพและแรงขับ (Homeostasis and drive theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับความจําเป็นและแรงขับ (Theory of needs and drives) • ทฤษฎีเกี่ยวกับเหตุกระตุ้นใจ (Incentive theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับสัญชาตญาณ (Instinct theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตไร้สํานึก (Theory of unconscious motivation) • ทฤษฎีเกี่ยวกับการรับรู้ (Cognitive theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตวิญญาณ (Spiritual theory)
  • 51.
  • 53.
  • 55. Bloom’s learning theory ทักษะพิสัย (Psychomotor พุทธิพิสัย (Cognitive domain) เจตพิสัย (Affective domain) domain) ความรู้ (Knowledge) การให้ความสนใจ (Receiving) การเลียนแบบ (Imitation) ความเข้าใจ (Comprehensive) การตอบสนอง (Responding) การทําตามแบบ (Manipulation) การประยุกต์ (Application) การสร้างคุณค่าและค่านิยม (Values) การมีความถูกต้อง (Precision) การวิเคราะห์ (Analysis) การจัดกลุ่มค่า (Organising) การกระทําอย่างต่อเนื่อง (Articulation) การกระทําโดยธรรมชาติ การสังเคราะห์ (Synthesis) การแสดงลักษณะค่านิยมที่ยึดถือ (Naturalisation) การประเมินผล (Evaluation)
  • 56.
  • 57.
  • 58.
  • 59.
  • 60.
  • 62. แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ การรับรู้ประโยชน์ Received benefits ประชาสังคม Socio-demographic การรับรู้อุปสรรค/ปัญหา การรับรู้โอกาสเสี่ยง Received barriers Received susceptibility การรับรู้ถึงอันตราย วิธีการปฏิบัติ Received threat Action การรับรู้ความรุนแรงของโรค แรงจูงใจด้านสุขภาพ Received seriousness Health motivation แนวทางในการปฏิบัติ Cues to action ปัจจัยร่วม Modifying factors http://www.med.usf.edu
  • 63.
  • 64. เนื้อหา (Concepts) ความหมาย (Definition) การประยุกต์ใช้ (Applications) ศึกษาประชากรที่อยู่ในภาวะเสี่ยง ระดับความเสี่ยง ความเสี่ยงของบุคคลโดยยึดตามฐาน การรับรู้โอกาสเสี่ยง จะต้องมีโอกาสรับรู้ถึงภาวะเสี่ยงต่อโรคนั้น ๆ บุคลิกลักษณะ หรือพฤติกรรมของบุคคลที่ แสดงออกในการรับรู้ภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรค จะต้องรับรู้ถึงความรุนแรงและผลที่จะได้รับจาก ระบุผลของการเป็นโรคตลอดจนเงื่อนไขต่างๆ ที่จะ การรับรู้ต่อความรุนแรงของโรค การเป็นโรคนั้นๆ ได้รับจากการเป็นโรค จะต้องรับรู้ถึงผลประโยชน์และประสิทธิผลใน หาวิธีการปฏิบัติว่าควรทําอย่างไร ทําเมื่อไหร่ การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับ การปฏิบัติเพื่อป้องกันและรักษาเกี่ยวกับโร ที่ไหน และประสิทธิผลที่คาดว่าจะได้รับ คนั้นๆ วิเคราะห์ถึงปัญหา/อุปสรรคที่เกิดขึ้นและคาดว่าจะ จะต้องรับรู้อุปสรรคตลอดจนปัญหาต่างๆ ที่ การรับรู้อุปสรรค/ปัญหา เกิดขึ้นเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขและลดการเกิด เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ ปัญหาตลอดจนวิธีการให้ความช่วยเหลือ แนวทางในการปฏิบัติเพื่อหลีกเลี่ยงจากการ มีขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องชัดเจน แนวทางในการปฏิบัติ เป็นโรคจะขึ้นอยู่กับการรับรู้ถึงภาวะเสี่ยงและ เกี่ยวข้องกับการป้องกัน การรักษา ตลอดจนการ ความรุนแรงของโรค แก้ไขปัญหาต่างๆ แก่ทุกคนที่เกี่ยวข้อง มีการให้ความรู้ การฝึกอบรม การให้สุขศึกษาเกี่ยว ผู้ปฏิบัติมีความมั่นใจในการปฏิบัติตามขั้นตอน ความสามารถในการเปลี่ยนพฤติกรรม กับการปฏิบัติตนเพื่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และวิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องและเหมาะสม เพื่อ ของตนเอง (Self-efficacy) ของตนเพื่อสุขภาพที่ดีขึ้น เพื่อก่อให้เกิดความเชื่อ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง มั่นในการปฏิบัติดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 66. แนวคิดแรงสนับสนุนทางสังคม • การตัดสินใจส่วนใหญ่ของบุคคลจะขึ้นอยู่กับอิทธิพลของบุคคลผู้ซึ่งมีความสําคัญ และมีอํานาจเหนือกว่าตัวเราเอง
  • 67. แนวคิดแรงสนับสนุนทางสังคม • การตัดสินใจส่วนใหญ่ของบุคคลจะขึ้นอยู่กับอิทธิพลของบุคคลผู้ซึ่งมีความสําคัญ และมีอํานาจเหนือกว่าตัวเราเอง • การจัดโปรแกรมสุขศึกษา
  • 68. แนวคิดแรงสนับสนุนทางสังคม • การตัดสินใจส่วนใหญ่ของบุคคลจะขึ้นอยู่กับอิทธิพลของบุคคลผู้ซึ่งมีความสําคัญ และมีอํานาจเหนือกว่าตัวเราเอง • การจัดโปรแกรมสุขศึกษา • การสนับสนุนทางด้านอารมณ์ (Emotional support) เช่น การให้ความสนใจ การ ยอมรับนับถือ ความห่วงใย การกระตุ้นเตือน การถามไถ่
  • 69. แนวคิดแรงสนับสนุนทางสังคม • การตัดสินใจส่วนใหญ่ของบุคคลจะขึ้นอยู่กับอิทธิพลของบุคคลผู้ซึ่งมีความสําคัญ และมีอํานาจเหนือกว่าตัวเราเอง • การจัดโปรแกรมสุขศึกษา • การสนับสนุนทางด้านอารมณ์ (Emotional support) เช่น การให้ความสนใจ การ ยอมรับนับถือ ความห่วงใย การกระตุ้นเตือน การถามไถ่ • การสนับสนุนโดยการให้การประเมิน (Appraisal support) เช่น การให้ข้อมูลย้อน กลับ การเห็นพ้อง การให้การรับรอง หรือการยอมรับในสิ่งที่คนอื่นแสดงออกมา หรือการช่วยเหลือโดยทางตรงหรือทางอ้อม
  • 70. แนวคิดแรงสนับสนุนทางสังคม • การตัดสินใจส่วนใหญ่ของบุคคลจะขึ้นอยู่กับอิทธิพลของบุคคลผู้ซึ่งมีความสําคัญ และมีอํานาจเหนือกว่าตัวเราเอง • การจัดโปรแกรมสุขศึกษา • การสนับสนุนทางด้านอารมณ์ (Emotional support) เช่น การให้ความสนใจ การ ยอมรับนับถือ ความห่วงใย การกระตุ้นเตือน การถามไถ่ • การสนับสนุนโดยการให้การประเมิน (Appraisal support) เช่น การให้ข้อมูลย้อน กลับ การเห็นพ้อง การให้การรับรอง หรือการยอมรับในสิ่งที่คนอื่นแสดงออกมา หรือการช่วยเหลือโดยทางตรงหรือทางอ้อม • การให้ข้อมูลข่าวสาร (Information support) เช่น การให้คําปรึกษาแนะนํา การ ตักเตือน การให้ความรู้
  • 72. ทฤษฎีความสามารถของตนเอง บุคคล พฤติกรรม ผลลัพธ์ Person Behavior Outcome ความคาดหวังในความสามารถ ความคาดหวังในผลของการกระทําที่จะเกิดขึ้น Efficacy expectations Outcome expectations
  • 73. ทฤษฎีความสามารถของตนเอง บุคคล พฤติกรรม ผลลัพธ์ Person Behavior Outcome ความคาดหวังในความสามารถ ความคาดหวังในผลของการกระทําที่จะเกิดขึ้น Efficacy expectations Outcome expectations ความคาดหวังในผลของการกระทําที่จะเกิดขึ้น สูง ต่ํา ความคาดหวังเกี่ยวกับ สูง มีแนวโน้มที่จะทําแน่นอน มีแนวโน้มที่จะไม่ทํา ความสามารถของตนเอง ต่ํา มีแนวโน้มที่จะไม่ทํา มีแนวโน้มที่จะไม่ทําแน่นอน
  • 75. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความคาดหวังความสามารถของบุคคล • Performance accomplishment คือ ความสามารถจากการกระทํา ซึ่งเป็นปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อความคาดหวังเกี่ยวกับความสามารถของบุคคลมากที่สุด
  • 76. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความคาดหวังความสามารถของบุคคล • Performance accomplishment คือ ความสามารถจากการกระทํา ซึ่งเป็นปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อความคาดหวังเกี่ยวกับความสามารถของบุคคลมากที่สุด • Vicarious experience คือ การได้เห็นประสบการณ์ของผู้อื่นประสบความสําเร็จ
  • 77. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความคาดหวังความสามารถของบุคคล • Performance accomplishment คือ ความสามารถจากการกระทํา ซึ่งเป็นปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อความคาดหวังเกี่ยวกับความสามารถของบุคคลมากที่สุด • Vicarious experience คือ การได้เห็นประสบการณ์ของผู้อื่นประสบความสําเร็จ • Verbs persuasion คือ การที่ผู้อื่นใช้ความพยายามในการพูดกับบุคคลเพื่อให้เขา เชื่อว่าเข้ามีความสามารถที่จะกระทําพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งให้ประสบความ สําเร็จได้
  • 78. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความคาดหวังความสามารถของบุคคล • Performance accomplishment คือ ความสามารถจากการกระทํา ซึ่งเป็นปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อความคาดหวังเกี่ยวกับความสามารถของบุคคลมากที่สุด • Vicarious experience คือ การได้เห็นประสบการณ์ของผู้อื่นประสบความสําเร็จ • Verbs persuasion คือ การที่ผู้อื่นใช้ความพยายามในการพูดกับบุคคลเพื่อให้เขา เชื่อว่าเข้ามีความสามารถที่จะกระทําพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งให้ประสบความ สําเร็จได้ • Emotion arousal คือ สภาวะทางอารมณ์ เช่น ความเครียด ความวิตกกังวล ตื่น เต้น มีอาการอ่อนเพลีย เมื่อยล้า จะส่งผลต่อความคาดหวังต่อพฤติกรรมของ ตนเอง
  • 80. ลักษณะความสามารถของบุคคล ปริมาณความคาดหวัง Magnitude ความมั่นใจ การนําไปใช้ Strength Generally Bandura, 1977
  • 81.
  • 82. แนวความคิดเกี่ยวกับความเชื่ออํานาจแห่งตน ความคาดหวังพฤติกรรม ผลตอบแทนจากพฤติกรรม พฤติกรรม ผลตอบแทน ใหม่ ใหม่ ย้อนกลับไปสู่ความคาด ความเชื่อเกี่ยวกับอํานาจ ควาคาดหวังขยายออก แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ หวังอื่นๆ ภายใน/ภายนอกของตน ครอบคลุมพฤติกรรมทั่วไป อํานาจภายนอกตนเอง (External locus of control) อํานาจภายในตนเอง (Internal locus of control) บุคคลเชื่อหรือรับรู้ต่อเหตุการณ์หรือสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับ บุคคลเชื่อหรือรับรู้ต่อเหตุการณ์หรือสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับ ตนนั้นขึ้นอยู่กับอิทธิพลภายนอกตนเองที่ไม่สามารถ ตนนั้นเป็นผลมาจากการกระทําหรือจากความสามารถ ควบคุมได้ เช่น โชค เคราะห์ ความบังเอิญ หรืออิทธิพลที่ ของตน ผู้อื่นบันดาลให้เป็นไป •มีความกระตือรือร้นต่อความเป็นไปของสิ่งแวดล้อม ซึ่ง เป็นประโยชน์สําหรับพฤติกรรมในอนาคต •พยายามปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปตามขั้น •เห็นคุณค่าของทักษะหรือผลสัมฤทธิ์จากความพยายาม เป็นสําคัญและคํานึงถึงความสามารถของตนเองอยู่เสมอ
  • 83. ทฤษฎีการกระทําด้วยเหตุผล ความเชื่อของบุคคลเกี่ยวกับผลของ พฤติกรรมและการประเมินคุณค่าตาม ทัศนคติต่อพฤติกรรม ความเชื่อ น้ําหนักในการ ความตั้งใจใน พิจารณาด้วยทัศนคติ การที่จะประกอบ พฤติกรรม และบรรทัดฐาน พฤติกรรม ความเชื่อของบุคคลตามความคาดหวัง ของกลุ่มอ้างอิงเกี่ยวกับพฤติกรรมและ บรรทัดฐานของกลุ่มอ้างอิง แรงจูงใจที่จะปฏิบัติตามความคาดหวัง นั้น Ajzen, I and Fishbein, M, 1980
  • 84. PRECEDE framework model ขั้นตอนที่ 6 ขั้นตอนที่ 4-5 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 1-2 การวิเคราะห์ทางการ การวิเคราะห์ทางการ การวิเคราะห์ทาง การวิเคราะห์ทางการ ปัญหา บริหาร ศึกษา พฤติกรรม ระบาดวิทยาและสังคม อื่น ปัจจัยนํา •ความรู้ •เจตคติ สาเหตุอื่นๆ คุณภาพชีวิต •ค่านิยม •การรับรู้ ปัจจัยเอื้อ องค์ประกอบปัญหา สาเหตุพฤติกรรมทาง •ทรัพยากรที่มีอยู่ ปัญหาสุขภาพ สุขภาพ สุขภาพ •การเข้าถึงทรัพยากร •ทักษะ ปัจจัยเสริม เจตคติและพฤติกรรมของ บุคคลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น กลุ่มเพื่อน พ่อแม่ พนักงาน ฯลฯ Lawrence W.Green, et. al. , 1980
  • 85.
  • 86.
  • 88. PRECEDE PROCEED model • ใช้อธิบายพฤติกรรมของชุมชนหรือกลุ่มบุคคล • ใช้วิเคราะห์ปัญหาสุขภาพ และหาสาเหตุเพื่อวางแผนงานส่งเสริมสุขภาพ • วิเคราะห์ในหลายประเด็น • สาเหตุทางสังคม • สาเหตุทางชีวภาพการแพทย์ • สาเหตุทางพฤติกรรมศาสตร์ • สาเหตุทางด้านการบริหาร
  • 90. หลักการของ PRECEDE PROCEED model 1 การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย
  • 91. หลักการของ PRECEDE PROCEED model 1 การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย 2 ปัจจัยสิ่งแวดล้อมเป็นตัวกําหนดสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ
  • 92. หลักการของ PRECEDE PROCEED model PRECEDE PROCEED Model 1 การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย 2 ปัจจัยสิ่งแวดล้อมเป็นตัวกําหนดสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ
  • 94. The behavioral matrix ความสําคัญ/ความสามารถ มีสําคัญมาก มีสําคัญน้อย ในการเปลี่ยนแปลง มีความสําคัญมากและ มีความสําคัญน้อยแต่ สามารถเปลี่ยนแปลงได้มาก เปลี่ยนแปลงได้มาก เปลี่ยนแปลงได้มาก มีความสําคัญมากแต่ มีความสําคัญน้อยและ สามารถเปลี่ยนแปลงได้น้อย เปลี่ยนแปลงได้น้อย เปลี่ยนแปลงได้น้อย
  • 95. Empowerment education model Paulo Freire , 1975
  • 97. Empowerment education model การศึกษาเพื่อสร้างพลัง การสร้างพลัง •การเรียนการสอนเน้นการสร้างพลังให้แก่บุคคล เป็นการสนับสนุนให้บุคคลเล็งเห็นความสัมพันธ์ของตนกับสิ่ง แวดล้อม และเชื่อว่าตนสามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตนเอง ชุมชน และสังคมได้ •การเรียนรู้ที่จะเริ่มจากประสบการณ์ของผู้เรียน แล้วให้ผู้เรียนวิทเคราะห์ โยงใยปัญหาต่างๆ ของบุคคลเข้ากับ ปัจจัยทางสังคมที่เป็นเหตุนําไปสู่การปรับพฤติกรรม •การเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนเข้ามามีส่วนร่วมในทุกๆ ขั้นตอน ตั้งแต่การ เลือกปัญหา การวางแผน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การประเมินผลตนเอง และการประเมินผลโครงการ •การเรียนรู้ร่วมกันเป้นกลุ่ม ให้โอกาสผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดซึ่งกันและกัน •การเรียนรู้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งความรู้ ทัศนคติ และทักษะซึ่งอาจจะเป็นการเปลี่ยนแปลงทันทีหรือภาย หลังการลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในการเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม •การเรียนการสอนที่มีความยืดหยุ่นและมีความต่อเนื่องในกระบวนการเรียนการสอน •การเรียนการสอนที่สนุกสนานไม่น่าเบื่อ และมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน Paulo Freire , 1975
  • 99. กระบวนการของ Empowerment ประสบการณ์ (Experience) การนําประสบการณ์ที่ผู้เรียนหรือบุคคล การระบุประสบการณ์ (Naming) กระทํา รู้สึก มองเห็น หรือได้ยิน การ การแลกเปลี่ยนความคิด ความรู้สึกต่อ จําลองประสบการณ์เป็นจุดเริ่มต้นของ ประสบการณ์โดยผู้เรียน กระบวนการเรียนรู้ การวิเคราะห์ (Analysis) การให้ผู้เรียนแต่ละคนและกลุ่มเกิดความ เข้าใจในอิทธิพลและความสัมพันธ์กับสิง่ ต่างๆ และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากเหตุกา รณ์นั้นๆ การปฎิบัติ (Doing) การวางแผน (Planning) การกระทําเพื่อค้นหาข้อเท็จจริงและการ ผู้เรียนได้หาแนวทางหรือกลวิธีเพื่อการ ปฏิบัติ โดยการปฏิบัติจะกลายเป็น เปลี่ยนแปลงโดยกําหนดว่าจะทําอะไร ประสบการณ์ใหม่ที่จะทําไปสู่การเรียนรู้ที่ และอย่างไรต่อไปจากประสบการณ์นั้น ต่อเนื่องต่อไป
  • 101. การวางแผนเพื่อพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ • การวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพ/ปัญหาสาธารณสุข • การวิเคราะห์สาเหตุของพฤติกรรม • ปัจจัยนํา (Predisposing factors) คือ ปัจจัยที่เป็นฐานและก่อให้เกิดแรงจูงใจในการแสดงพฤติกรรมของ บุคคล ได้แก่ ความรู้ ความเชื่อ ค่านิยม การรับรู้ และทักษะดั้งเดิม • ปัจจัยเอื้อ (Enabling factors) คือ สิ่งที่เป็นแหล่งทรัพยากรที่จําเป็นในการแสดงพฤติกรรมของบุคคล ชุมชน และทักษะใหม่ • ปัจจัยเสริม (Reinforcing factors) คือ ปัจจัยที่เป็นผลสะท้อนที่บุคคลจะได้รับหรือคาดว่าจะได้รับจากการ แสดงพฤติกรรมนั้น เช่น รางวัล ผลตอบแทน การลงโทษ • การวิเคราะห์พฤติกรรมเป้าหมาย • การวางแผนดําเนินงาน • การดําเนินงานตามแผนพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่วางไว้ • การประเมินผลการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
  • 102. การปรับพฤติกรรม Behavior = f ( Organism * Environment) Knowledge Attitude Belief Value Perception Skill Intention practice

Notas del editor

  1. \n
  2. \n
  3. \n
  4. \n
  5. \n
  6. \n
  7. \n
  8. \n
  9. \n
  10. \n
  11. \n
  12. \n
  13. \n
  14. \n
  15. \n
  16. \n
  17. \n
  18. \n
  19. \n
  20. \n
  21. \n
  22. \n
  23. \n
  24. \n
  25. \n
  26. \n
  27. \n
  28. \n
  29. \n
  30. \n
  31. \n
  32. \n
  33. \n
  34. \n
  35. \n
  36. \n
  37. \n
  38. \n
  39. \n
  40. \n
  41. \n
  42. \n
  43. \n
  44. \n
  45. \n
  46. \n
  47. \n
  48. \n
  49. \n
  50. \n
  51. \n
  52. \n
  53. \n
  54. \n
  55. \n
  56. \n
  57. \n
  58. \n
  59. \n
  60. \n
  61. \n
  62. \n
  63. \n
  64. \n
  65. \n
  66. \n
  67. \n
  68. \n
  69. \n
  70. \n
  71. \n
  72. \n
  73. \n
  74. \n