SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 68
Descargar para leer sin conexión
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
นางเอเดียน คุณาสิทธิ์
โรงเรียนบ้านกาเกาะระโยง
อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1
ข
คานา
ชุดกิจกรรมนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 23101 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง หน่วยของชีวิตและชีวิตพืช ซึ่งเป็นชุดกิจกรรมที่เน้นทักษะการทา
โครงงานวิทยาศาสตร์ควบคู่กับการฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นักเรียนสามารถปฏิบัติ
กิจกรรมได้ตามความสนใจ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้มี จานวน 8 ชุด เวลาเรียน 24 ชั่วโมง ดังนี้
1. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ (เวลา 3 ชั่วโมง)
2. ชุดกิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์ (เวลา 3 ชั่วโมง)
3. ชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (เวลา 3 ชั่วโมง)
4. ชุดกิจกรรมที่ 4 เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (เวลา 3 ชั่วโมง)
5. ชุดกิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช (เวลา 3 ชั่วโมง)
6. ชุดกิจกรรมที่ 6 เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของพืช (เวลา 3 ชั่วโมง)
7. ชุดกิจกรรมที่ 7 เรื่อง การเจริญเติบโตและการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช(เวลา3ชั่วโมง)
8. ชุดกิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช (เวลา 3 ชั่วโมง)
ชุดกิจกรรมนี้เป็นชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ในการใช้
ชุดกิจกรรมให้นักเรียนปฏิบัติตามคาชี้แจงของชุดกิจกรรมแต่ละชุดอย่างละเอียดโดยปฏิบัติกิจกรรม
ตามลาดับที่ของชุดกิจกรรม
ค
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ปก ............................................................................................................................................ ก
คานา......................................................................................................................................... ข
สารบัญ..................................................................................................................................... ค
สารบัญภาพประกอบ..................................................................................................................ง
ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ...................................................................................... จ
คาชี้แจงสาหรับครู .....................................................................................................................ฉ
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน..................................................................................................................ช
แผนผังการจัดกลุ่มการเรียน........................................................................................................... ซ
ชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์....................................................1
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์.............................................................2
กิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์.............................................................9
ตอนที่ 1 เรื่อง การแพร่ของสาร...................................................................................9
ตอนที่ 2 เรื่อง การออสโมซิส..................................................................................12
แนวการตอบกิจกรรมที่ 3...............................................................................................................16
เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 3..................................................................................................23
บรรณานุกรม..................................................................................................................................25
ง
สารบัญภาพประกอบ
ภาพที่ หน้า
ภาพที่ 3.1 แบบจาลองการออสโมซิส...........................................................................................1
ภาพที่ 3.2 แบบจาลองการแพร่ของสีผสมอาหารในน้า ................................................................2
ภาพที่ 3.3 การแพร่ของออกซิเจนเข้าสู่รากพืช...........................................................................3
ภาพที่ 3.4 การแพร่ของออกซิเจนเข้าสู่รากพืช...........................................................................4
ภาพที่ 3.5 การออสโมซิสของน้าเข้าสู่รากพืช............................................................................5
ภาพที่ 3.6 การแพร่โมเลกุลของน้าผ่านเยื่อเลือกผ่านโดยการออสโมซิส...................................5
ภาพที่ 3.7 การแพร่โมเลกุลของน้าผ่านเยื่อเลือกผ่านโดยการออสโมซิส...................................6
ภาพที่ 3.8 การออสโมซิสของน้าเข้าไปในไข่ผ่านเยื่อบาง ๆ ของไข่ ........................................7
ภาพที่ 3.9 ภาพการทดลองการแพร่ของด่างทับทิมในน้าร้อนและน้าเย็น...............................10
ภาพที่ 3.10 ภาพขั้นตอนการทดลองการออสโมซิส...............................................................13
จ
ชุดกิจกรรมที่3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ มีส่วนประกอบที่สาคัญดังนี้
1. เป็นชุดกิจกรรมที่ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 และ 6 (ในเล่มคู่มือการใช้)
2. ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
3. ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
ตอนที่ 1 เรื่อง การแพร่ของสาร(1ชั่วโมง)
ตอนที่ 2 เรื่อง การออสโมซิส ( 2 ชั่วโมง)
4. แนวการตอบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
5. เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมที่ 3
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
ฉ
คาชี้แจงสาหรับครู
การใช้ชุดกิจกรรมเพื่อให้บรรลุผลตามจุดประสงค์ที่กาหนดไว้ สิ่งที่ครูผู้สอนต้องเตรียม
มีดังนี้
1. ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5และ 6 ในคู่มือการใช้ชุดกิจกรรมให้ละเอียด
2. ศึกษาเนื้อหาและคาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมแต่ละชุด และปฏิบัติตามขั้นตอนใน
คาชี้แจงของกิจกรรมตามลาดับอย่าข้ามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง
3. ครูเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในชุดกิจกรรมไว้ล่วงหน้าก่อนทาการเรียนการสอน
4. ครูจัดชั้นเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 8 กลุ่ม ๆ ละ 5 คน ตามแผนผังที่กาหนดไว้
โดยมีหัวหน้าประจาทุกกลุ่ม ผู้นากลุ่มอาจมีการผลัดเปลี่ยนกันแต่ละกลุ่มควรเป็นกลุ่มเดิมเพื่อจะได้
ทางานที่ต่อเนื่องกัน
5. ครูต้องชี้แจงให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และรู้บทบาทหน้าที่ของตนในกลุ่ม
โดยไม่ให้ดูเฉลยก่อน หลังจากปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแล้วจึงเปิดดูเฉลยได้และมีการแลกเปลี่ยนกัน
ตรวจตามเกณฑ์การให้คะแนนที่กาหนดไว้ในแต่ละกิจกรรม
6. ครูต้องให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 40 ข้อก่อนเรียนชุดกิจกรรมที่ 1
7. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบ่งออกเป็น 5
ขั้นตอน คือ 1) ขั้นสร้างความสนใจ 2) ขั้นสารวจและค้นหา 3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
4) ขั้นขยายความรู้ 5) ขั้นประเมินผล
8. ชุดกิจกรรมที่ 3 เป็นการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในเนื้อหาประจาหน่วย ซึ่ง
บูรณาการทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
ไปพร้อม ๆ กัน
9. ขณะที่นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมครูต้องคอยดูแลและแนะนาการปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด
เมื่อนักเรียนพบปัญหาในการเรียนจะได้ช่วยแก้ไขปัญหาได้ทันที
10. เมื่อนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้วให้นักเรียนเก็บสื่อและวัสดุอุปกรณ์ของ
แต่ละกลุ่มให้เรียบร้อย โดยเน้นการเก็บและดูแลรักษาความสะอาดฝึกให้เป็นระเบียบจนเป็นนิสัย
11. เมื่อสิ้นสุดการเรียนชุดกิจกรรมที่ 8 แล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน
จานวน 40 ข้อซึ่งเป็นแบบทดสอบคู่ขนานกับแบบทดสอบก่อนเรียน
12. แจ้งผลการเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมทันทีที่ตรวจเสร็จแล้ว
ช
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน
การใช้ชุดกิจกรรมนักเรียนควรทราบถึงบทบาทของตนเองดังนี้
1. ศึกษาคาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมแต่ละชุดอย่างละเอียด
2. ศึกษาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ แล้วปฏิบัติกิจกรรม
ตามใบกิจกรรม ดังนี้
ตอนที่ 1 เรื่อง การแพร่ของสาร(1ชั่วโมง)
ตอนที่ 2 เรื่อง การออสโมซิส ( 2 ชั่วโมง)
3. นักเรียนต้องตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างจริงจังไม่เล่นหรือทาให้ล่าช้า
4. กิจกรรมการทดลองต้องทาตามขั้นตอนทุกขั้นตอนด้วยความระมัดระวังเพราะ
อุปกรณ์อาจแตกหรือเสียหายได้
5. หลังทากิจกรรมเสร็จแล้วให้นักเรียนส่งผลงานการทากิจกรรมให้ครูตรวจหรือ
แลกเปลี่ยนกันตรวจก่อนที่จะดาเนินการศึกษากิจกรรมต่อไป ถ้ามีอะไรชารุดเสียหายต้องแจ้งให้ครู
ทราบทันที
6. เมื่อทากิจกรรมเสร็จทั้ง 8 ชุดแล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน 40 ข้อ เพื่อ
ประเมินความรู้หลังเรียน
ซ
แผนผังการจัดกลุ่มการเรียน
การประเมินผล
1. ประเมินจากการทาแบบทดสอบก่อนเรียน -หลังเรียน จานวน 40 ข้อ
2. ประเมินผลจากการทากิจกรรมที่ 3 ตอนที่ 1 การแพร่ของสาร ตามเกณฑ์การประเมิน
ที่กาหนด
3. ประเมินการทากิจกรรมการทดลองตอนที่ 2 เรื่อง การออสโมซิส ตามเกณฑ์การ
ประเมินที่กาหนด
4. สังเกตความสนใจและความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมและพฤติกรรมการทางาน
กลุ่มทุกครั้งที่เรียน
โต๊ะครู
กลุ่มที่ 7 กลุ่มที่ 1
กลุ่มที่ 6 กลุ่มที่ 2
กลุ่มที่ 3
กลุ่มที่ 8
กลุ่มที่ 5
กลุ่มที่ 4
1
ชุดกิจกรรมที่ 3
เรื่องย่อยที่ 3 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 – 6 (เวลา 3 ชั่วโมง)
คาชี้แจง
1. ให้นักเรียนทากิจกรรมที่ 3 ตอนที่ 1 เรื่อง การแพร่ของสารสรุปผล
การศึกษาและตอบคาถาม
2.ให้นักเรียนทากิจกรรมที่ 3 ตอนที่ 2 เรื่อง การออสโมซิสสรุปผลการศึกษา
และตอบคาถาม
3. ศึกษาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์แล้ว
ร่วมกันอภิปรายและเสนอชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับการแพร่และ
การออสโมซิสได้
4. ตรวจคาตอบจากแนวการตอบ
ภาพที่ 3.1 แบบจาลองการออสโมซิส
(ที่มาของภาพ ปรับปรุงจาก : http://pirun.ku.ac.th/~g4686042/test/osmo.htm)
2
ใบความรู้ที่ 3
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
จุดประสงค์การเรียนรู้
เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ แล้วสามารถ
1. ทดลองและอธิบายกระบวนการของสารผ่านเข้าออกเซลล์ โดยการแพร่ได้
2.ทดลองและอธิบายกระบวนการของสารผ่านเข้าออกเซลล์โดยการออสโมซิสได้
3. อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่และการออสโมซิสได้
4. ยกตัวอย่างการแพร่และการออสโมซิสในชีวิตประจาวันได้
5. บอกชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักการแพร่และการออสโมซิสได้
1. การแพร่ของสาร
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องการน้า แร่ธาตุ และอาหารในการดารงชีวิต และมีการกาจัดของเสีย
ต่าง ๆ ออกสู่ภายนอก ซึ่งสารเหล่านี้จะต้องผ่านเข้าออกเยื่อหุ้มเซลล์ สารที่ผ่านเข้าออกเยื่อหุ้มเซลล์
เกิดทั้งในการแพร่และการออสโมซิส
การแพร่ หมายถึง การเคลื่อนที่หรือการกระจายของโมเลกุลของสาร จากบริเวณที่มีความ
เข้มข้นของสารมากไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารน้อย โดยอาจผ่านเยื่อเลือกผ่านหรือไม่
ผ่านก็ได้ จนกระทั่ง 2 บริเวณมีความเข้มข้นเท่ากัน การแพร่เกิดได้กับสารทุกสถานะ ทั้งของแข็ง
ของเหลวและแก๊ส แต่สถานะแก๊สจะแพร่ได้เร็วกว่า เช่น การแพร่ของสีผสมอาหารในน้า หรือการ
แพร่ของน้าหอมในอากาศ การแพร่ของน้าและเกลือแร่จากดินสู่รากพืช
ภาพที่ 3.2 แบบจาลองการแพร่ของสีผสมอาหารในน้า
(ที่มาของภาพ ปรับปรุงจาก : http://server.thaigoodview.com)
3
1.1 ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่
ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่ของสาร
1) ความเข้มข้นของสาร ถ้าความเข้มข้นระหว่าสองบริเวณแตกต่างกันมาก การแพร่จะ
เกิดขึ้นได้รวดเร็ว โดยสารจะแพร่จากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นต่า
2) อุณหภูมิ ถ้าอุณหภูมิสูง การแพร่ของสารจะเป็นไปอย่างรวดเร็ว เพราะโมเลกุลของ
สารมีพลังงานจลน์สูง
3) ขนาดของอนุภาคของสาร ถ้าสารมีขนาดอนุภาคเล็กการแพร่จะเกิดขึ้นได้รวดเร็ว
4) ความสามารถในการละลายของสาร ถ้าสารมีความสามารถในการละลายได้ดีจะมี
อัตราการแพร่สูง
5) ความดัน การเพิ่มความดันทาให้การแพร่เกิดเร็วขึ้น
6) ตัวกลาง ในตัวกลางที่มีความหนืดสูง โมเลกุลของสารที่แพร่จะถูกดูดซับ ทาให้
อัตราการแพร่เกิดได้ช้า รวมทั้งถ้าในตัวกลางนั้นมีอนุภาคอื่นเจือปนก็จะทาให้อัตราการแพร่ช้าลง
1.2 การแพร่ในพืช
เซลล์พืชต้องใช้แก๊สออกซิเจนในกระบวนการหายใจ แก๊สออกซิเจนที่แทรกอยู่ตาม
ช่องว่างระหว่างเม็ดดินจะแพร่เข้าสู่เซลล์ของพืชที่บริเวณขนราก แล้วเกิดการแพร่ไปยังเซลล์
ข้างเคียงที่มีปริมาณแก๊สออกซิเจนน้อยกว่า ทั้งนี้เซลล์จะใช้แก๊สออกซิเจนในกระบวนการทางเคมี
ของเซลล์เพื่อสลายอาหารให้เป็นพลังงาน จะได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ออกมาจากเซลล์ แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมา จะแพร่ในทิศทางตรงข้ามกับการแพร่ออกซิจน ซึ่งจะถูกปล่อย
ออกจากพืช โดยการแพร่ออกทางปากใบ
ภาพที่ 3.3 การแพร่ของออกซิเจนเข้าสู่รากพืช
(ที่มาของภาพ : ถนัดศรีบุญเรืองและคณะ.ม.ป.ป.:39)
4
ในทางกลับกัน เซลล์พืชใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นสารเริ่มต้นใน
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งเป็นกระบวนการสร้างอาหารของพืช โดยภายในเซลล์พืชมี
ความเข้มข้นของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ต่ากว่านอกเซลล์ ดังนั้นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่อยู่
นอกเซลล์ จึงสามารถแพร่ผ่านเข้าสู่เซลล์พืชบริเวณปากใบได้ เมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสงแล้วจะได้น้าตาลกลูโคสและแก๊สออกซิเจนเป็นผลิตภัณฑ์ทาให้ภายในเซลล์มีปริมาณแก๊ส
ออกซิเจนมากกว่าในบรรยากาศ จึงทาให้แก๊สออกซิเจนออกมานอกเซลล์ทางปากใบได้
ภาพที่ 3.4 การแพร่ของออกซิเจนเข้าสู่รากพืช
(ที่มาของภาพ : ถนัดศรีบุญเรืองและคณะ. ม.ป.ป. : 70)
1.3 การแพร่ในชีวิตประจาวัน
ในชีวิตประจาวันจะพบการแพร่ของสารเกิดขึ้น ดังนี้
1) ของแข็งแพร่เข้าไปในของเหลว เช่น น้าตาลในน้า เกลือในน้า
2) ของแข็งแพร่เข้าไปในแก๊ส เช่น ลูกเหม็น การบูร
3) ของเหลวแพร่เข้าไปในแก๊ส เช่น การฟุ้งกระจายของน้าหอม
4) แก๊สแพร่เข้าไปในแก๊ส เช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในแก๊สออกซิเจน
(ที่มา ปรับปรุงจาก : ถนัด ศรีบุญเรืองและคณะ. ม.ป.ป. วิทยาศาสตร์ ม. 1. อักษรเจริญทัศน์ :
กรุงเทพฯ)
อย่าลืมว่า.. การแพร่ เป็นการเคลื่อนที่
ของสาร จากบริเวณที่มีความเข้มข้น
ของสารมากไปสู่บริเวณที่มี
ความเข้มข้นของสารน้อย นะครับ
5
2. การออสโมซิส
น้าในดินเคลื่อนที่เข้าสู่เยื่อหุ้มเซลล์บริเวณรากพืชโดยวิธีการออสโมซิส เนื่องจากน้าในดิน
มีมากกว่าในเซลล์ขนราก น้าจะถูกลาเลียงจากเซลล์ขนรากไปตามท่อลาเลียงน้าเข้าสู่ลาต้นพืช
ภาพที่ 3.5 การออสโมซิสของน้าเข้าสู่รากพืช
(ที่มาของภาพ : ถนัดศรีบุญเรืองและคณะ. ม.ป.ป. : 42)
การออสโมซิส(Osmosis)หมายถึงการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของน้าจากบริเวณที่มีความเข้มข้น
ของน้ามาก ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้าน้อย โดยผ่านเยื่อบาง ๆ ที่ทาหน้าที่เป็นเยื่อเลือก
ผ่าน(Semipermeable membrane) เช่น เยื่อหุ้มเซลล์ เยื่อหุ้มนิวเคลียส เยื่อชั้นในของเปลือกไข่
กระดาษเซลโลเฟน ทาหน้าที่เป็นเยื่อเลือกผ่าน
ภาพที่ 3.6 การแพร่โมเลกุลของน้าผ่านเยื่อเลือกผ่านโดยการออสโมซิส
(ที่มาของภาพ : ถนัดศรีบุญเรืองและคณะ. ม.ป.ป. : 43)
6
2.1 ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดน้าของราก
การดูดน้าของรากพืช มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องดังนี้
1) ปริมาณน้าในดิน ดินที่มีประมาณของน้ามากจะทาให้สารละลายพวกแร่ธาตุที่มีอยู่
ในดินมีความเข้มข้นต่ากว่าความเข้มข้นของสารละลายในเซลล์ราก อัตราการดูดน้าของรากจะสูงขึ้น
บริเวณที่มีน้าขังเป็นเวลานาน รากพืชจะไม่ได้รับออกซิเจนอาจทาให้พืชตายได้
2) ความเข้มข้นของสารละลายในดิน ในดินที่มีแร่ธาตุปริมาณมาก จะทาให้ความ
เข้มข้นของสารละลายในดินสูงกว่าความเข้มเข้นของสารละลายในรากพืช น้าในเซลล์รากจะแพร่
ออกจากรากไปสู่ดิน เมื่อเกิดต่อเนื่องเป็นเวลานานพืชจะเหี่ยวและตายได้
3) อุณหภูมิของดิน อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการดูดน้าของพืชยู่ระหว่าง 20 – 30 องศา
เซลเซียส ถ้าอุณหภูมิสูงเกินไป ปากใบจะปิดเพื่อลดการคายน้า ทาให้การดูดน้าลดลงไป เพราะ
การคายน้าจะทาให้เกิดแรงดึงน้าจากรากขึ้นสู่ยอดพืชเพื่อทดแทนน้าที่คายน้าออกไป
4) การถ่ายเทอากาศในดิน ในดินที่มีอากาศถ่ายเทได้ดี จะทาให้พืชได้รับออกซิเจน
เพียงพอต่อความต้องการในกระบวนการต่าง ๆ ของพืช และการดูดน้าของรากจะเกิดในอัตราสูงด้วย
ดังนั้นการพรวนดินให้แก่พืชจึงมีความจาเป็นเพราะช่วยให้อากาศในดินเกิดการถ่ายเทได้ดี
ภาพที่ 3.7 การแพร่โมเลกุลของน้าผ่านเยื่อเลือกผ่านโดยการออสโมซิส
(ที่มาของภาพ : ประดับ นาคแก้วและดาวัลย์ เสริมบุญสุข. 2551 : 45)
7
2.2 การออสโมซิสในชีวิตประจาวัน
ในชีวิตประจาวันเกี่ยวข้องกับการออสโมซิสมากมาย เช่น การทาไข่เค็ม การดอง
การแช่อิ่ม การแช่ผักในน้าเพื่อป้ องกันไม่ให้ผักเหี่ยว การปลูกพืชต่าง ๆ ซึ่งพืชต้องการน้าเพื่อใช้ใน
การเจริญเติบโต เป็นต้น
ภาพที่ 3.8 การออสโมซิสของน้าเข้าไปในไข่ผ่านเยื่อบาง ๆ ของไข่
(ที่มาของภาพ : ประดับ นาคแก้วและดาวัลย์ เสริมบุญสุข. 2551 : 45)
(ที่มา ปรับปรุงจาก : ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะและคณะ. (2545). วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 (ม. 1 – 3).
นิยมวิทยา : กรุงเทพฯ)
8
กิจกรรมที่ 3
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
จุดประสงค์การเรียนรู้
เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ แล้วสามารถ
1. ทดลองและอธิบายกระบวนการของสารผ่านเข้าออกเซลล์ โดยการแพร่ได้
2.ทดลองและอธิบายกระบวนการของสารผ่านเข้าออกเซลล์โดยการออสโมซิสได้
3. อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่และการออสโมซิสได้
4. ยกตัวอย่างการแพร่และการออสโมซิสในชีวิตประจาวันได้
5. บอกชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักการแพร่และการออสโมซิสได้
คาชี้แจง
1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 8 กลุ่ม ๆ ละ 5 คน โดยคละเพศและความสามารถ
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนรับอุปกรณ์การทดลองและชุดกิจกรรมที่ 3 แล้ว
ทากิจกรรมที่ 3 ตอนที่ 1 และตอนที่ 2 แล้วตอบคาถามท้ายกิจกรรม
ตอนที่ 1 เรื่อง การแพร่ของสาร
1. กาหนดปัญหา ................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
2. ตั้งสมมุติฐาน .................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
3. ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม ของการศึกษาเรื่องนี้คืออะไร
.............................................................................................................................................................
4. อุปกรณ์
1) น้าเย็น 30 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อกลุ่ม
2) เกล็ดด่างทับทิม 2 – 3 เกล็ดต่อกลุ่ม
3) บีกเกอร์ขนาด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 3 ใบ ต่อกลุ่ม
4) น้าอุ่น 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร ต่อกลุ่ม
5) ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์ 1 ชุดต่อกลุ่ม
6) กระดาษขาว 1 แผ่นต่อกลุ่ม
9
5. วิธีศึกษาทดลอง
ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาการแพร่ของสารโดยปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอน ดังนี้
1) ตวงน้าเย็น 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร ลงไปในบีกเกอร์ ขนาดกลาง 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
2) หย่อนเกล็ดด่างทับทิมหรือโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (KMnO4) จานวน 2 - 3 เกล็ดลง
ไปในน้าเย็น สังเกตการเปลี่ยนแปลง
3) ตั้งทิ้งไว้ 5 นาที สังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผล
4) เตรียมน้าร้อนและน้าเย็นจานวน30ลูกบาศก์เซนติเมตร หย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงไป 2-3
เกล็ด ลงไปในน้าแต่ละชนิด เปรียบเทียบผลการเคลื่อนที่ของสารแล้วบันทึกผล
ภาพที่ 3.9 ภาพการทดลองการแพร่ของด่างทับทิมในน้าร้อนและน้าเย็น
(ที่มาของภาพ ปรับปรุงจาก : ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะและคณะ. 2545 : 19)
10
6. ตารางบันทึกผลการทดลอง
การทดลอง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
1. หย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงในน้าเย็น
2. เมื่อตั้งทิ้งไว้ 5 นาที
3. หย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงในน้าร้อน
7. คาถามท้ายการทดลอง
1) เมื่อหย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงในน้าเย็น สีของน้าจะเริ่มเปลี่ยนแปลงอย่างไร
.............................................................................................................................................................
2) หลังจากหย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงในน้าเย็นแล้ว 5 นาที การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตเห็น คือ
.............................................................................................................................................................
3) เมื่อหย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงในน้าร้อนและน้าเย็นมีการเปลี่ยนแปลงแตกต่างกันหรือไม่
อย่างไร
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
4) การเคลื่อนที่ของเกล็ดด่างทับทิมจากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปหาบริเวณที่มีความเข้มข้น
ต่าเรียกว่า.............................................................................................................................................
5) การแพร่ของสารจะเกิดขึ้นเร็วหรือช้า ขึ้นอยู่กับปัจจัยใดบ้าง
.............................................................................................................................................................
6) จงยกตัวอย่างการแพร่ในชีวิตประจาวัน
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
8. สรุปผลการศึกษา
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
11
ตอนที่ 2 เรื่อง การออสโมซิส
1. กาหนดปัญหา ................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
2. ตั้งสมมุติฐาน .................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
3. ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม ของการศึกษาเรื่องนี้คืออะไร
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
4. อุปกรณ์
1) น้าปริมาตร 100 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อกลุ่ม
2) น้าตาลทรายความเข้มข้น 40% โดยมีมวลต่อปริมาตร 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร (เตรียม
โดย ชั่งน้าตาล 40 กรัม ละลายน้า 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร)
3) บีกเกอร์ จานวน 2 ใบ ต่อกลุ่ม
4) หลอดแก้วปลายเปิดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 เซนติเมตร จานวน 1 อันต่อกลุ่ม
5) กระดาษเซลโลเฟน ขนาด 15 X 15 เซนติเมตร จานวน 1 แผ่นต่อกลุ่ม
6) ขาตั้งพร้อมที่หนีบ จานวน 1 ชุด ต่อกลุ่ม
7) ยางรัด จานวน 1 เส้น
5. วิธีศึกษาทดลอง
ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาการออสโมซิส โดยปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอน ดังนี้
1) นาแผ่นกระดาษเซลโลเฟนชุบน้าให้เปียก
ทาเป็นถุงแล้วใส่ลงในบีกเกอร์ รินสารละลาย
น้าตาลทรายความเข้มข้นลงไป 30 ลูกบาศก์
เซนติเมตร
2) จุ่มหลอดแก้วใส่ลงในถุงกระดาษเซลโลเฟน
ลึก 3 เซนติเมตร ใช้ยางยืดมัดให้แน่น ระวังอย่างให้
มีฟองอากาศในถุง
12
3) นาถุงที่มัดแล้วในข้อ 2 จุ่มลงในบีกเกอร์ที่มี
น้าบรรจุอยู่ โดยให้รอยยางรัดอยู่สูงกว่าระดับน้าใน
บีกเกอร์ ดังรูป ทาเครื่องหมายแสดงระดับน้า ตั้งทิ้ง
ไว้5 นาที สังเกตระดับของเหลวในหลอดแก้ว แล้ว
บันทึกผล
4) รินน้าหมึกสีแดงลงในบีกเกอร์อีกใบหนึ่ง
นาถุงกระดาษเซลโลเฟนในข้อ 4 จุ่มลงไป ตั้งทิ้งไว้
อีก 5 นาที สังเกตสีของสารละลายแล้ว บันทึก
ผลการศึกษา
ภาพที่ 3.10 ภาพขั้นตอนการทดลองการออสโมซิส
(ที่มาของภาพ : ประดับ นาคแก้วและดาวัลย์ เสริมบุญสุข. 2551 : 47)
6. ตารางบันทึกผลการทดลอง
ของเหลวที่ใช้แช่ถุงสารละลายน้าตาลทราย การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
1. แช่ในน้า
2. แช่ในน้าหมึกสีแดง
7. คาถามท้ายการทดลอง
1) เมื่อแช่ถุงกระดาษโซลโลเฟนที่มีสารละลายน้าตาลเข้มข้นลงในน้าและน้าหมึกสีแดง
ระดับน้าในหลอดแก้วมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
............................................................................................................................................................
2) การที่ระดับน้าในหลอดแก้วมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจาก
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
13
3) เมื่อเปรียบเทียบความเข้มข้นของน้าระหว่างภายในถุงกับภายนอกถุงกระดาษเซลโลเฟน
บริเวณใดจะมีความเข้มข้นของน้ามากกว่า
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
4) น้าและน้าหมึกสีแดงมีการเคลื่อนที่เข้าหรือออกจากถุงกระดาษเซลโลเฟนอย่างไร
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
5) การเคลื่อนที่ของน้าผ่านเยื่อกระดาษเซลโลเฟนจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้ามาก
ไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นของน้าน้อย เรียกว่า................................................................................
6) ถ้าต้องการให้ระดับน้าในหลอดแก้วสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว นักเรียนคิดว่าควรทาอย่างไร
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
7) ถ้าเปลี่ยนน้าสีแดงให้อยู่ในถุงกระดาษเซลโลเฟนแทน โดยให้สารลายน้าตาลเข้มข้นอยู่
ข้างนอกถุง ระดับน้าในหลอดแก้วจะเป็นอย่างไร เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
8) ถ้าแช่ถุงสารละลายนี้ในสารละลายน้าตาลเหมือนกัน นักเรียนคิดว่าระดับน้าในหลอดแก้ว
จะเป็นอย่างไร เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
9) ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อการดูดน้าของรากพืช
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
10) จงยกตัวอย่างการออสโมซิสในชีวิตประจาวัน
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
14
8. สรุปผลการศึกษา
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
9. ถ้านักเรียนจะทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ที่นาหลักการแพร่ของสารและการออสโมซิส นักเรียนจะ
ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องใดได้บ้าง
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
การใส่ปุ๋ ยให้แก่พืช อย่าใส่มากเกินไปนะครับ
เมื่อใส่ปุ๋ ยแล้วให้รดน้าตามให้มาก ๆ นะครับ
ไม่เช่นนั้นรากพืชจะเกิดการออสโมซิสน้า
ออกจากลาต้นสู่ดิน ทาให้พืชเหี่ยว
และตายได้นะครับ
16
แนวการตอบกิจกรรมที่ 3
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
จุดประสงค์การเรียนรู้
เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ แล้วสามารถ
1. ทดลองและอธิบายกระบวนการของสารผ่านเข้าออกเซลล์ โดยการแพร่ได้
2.ทดลองและอธิบายกระบวนการของสารผ่านเข้าออกเซลล์โดยการออสโมซิสได้
3. อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่และการออสโมซิสได้
4. ยกตัวอย่างการแพร่และการออสโมซิสในชีวิตประจาวันได้
5. บอกชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักการแพร่และการออสโมซิสได้
คาชี้แจง
1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 8 กลุ่ม ๆ ละ 5 คน โดยคละเพศและความสามารถ
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนรับอุปกรณ์การทดลองและชุดกิจกรรมที่ 3 แล้ว
ทากิจกรรมที่ 3 ตอนที่ 1 และตอนที่ 2 แล้วตอบคาถามท้ายกิจกรรม
ตอนที่ 1 เรื่อง การแพร่ของสาร
1. กาหนดปัญหา
อุณหภูมิของน้ามีผลต่อการเคลื่อนที่ของเกล็ดด่างทับทิมหรือไม่
2. ตั้งสมมุติฐาน
เกล็ดด่างทับทิมมีการเคลื่อนที่ในน้าร้อนได้เร็วกว่าในน้าเย็น
3. ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม ของการศึกษาเรื่องนี้คืออะไร
ตัวแปรต้น คือ น้าร้อนและน้าเย็น
ตัวแปรตาม คือ ลักษณะการเคลื่อนที่ของเกล็ดด่างทับทิมในน้าทั้งสองชนิด
ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณของด่างทับทิม , ปริมาตรของน้า , ขนาดของบีกเกอร์
17
4. อุปกรณ์
1) น้าเย็น 30 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อกลุ่ม
2) เกล็ดด่างทับทิม 2 – 3 เกล็ดต่อกลุ่ม
3) บีกเกอร์ขนาด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 3 ใบ ต่อกลุ่ม
4) น้าอุ่น 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร ต่อกลุ่ม
5) ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์ ชุดต่อกลุ่ม
6) กระดาษขาว 1 แผ่นต่อกลุ่ม
5. วิธีศึกษาทดลอง
ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาการแพร่ของสารโดยปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอน ดังนี้
1) ตวงน้าเย็น 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร ลงไปในบีกเกอร์ ขนาดกลาง 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
2) หย่อนเกล็ดด่างทับทิมหรือโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (KMnO4) จานวน 2 - 3 เกล็ดลง
ไปในน้าเย็น สังเกตการเปลี่ยนแปลง
3) ตั้งทิ้งไว้ 5 นาที สังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผล
4) เตรียมน้าร้อนและน้าเย็นจานวน30ลูกบาศก์เซนติเมตร หย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงไป 2-3
เกล็ด ลงไปในน้าแต่ละชนิด เปรียบเทียบผลการเคลื่อนที่ของสารแล้วบันทึกผล
ภาพที่ 30 ภาพการทดลองการแพร่ของด่างทับทิมในน้าร้อนและน้าเย็น
(ที่มาภาพ ปรับปรุงจาก : ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะและคณะ. (2545). : 19)
18
6. ตารางบันทึกผลการทดลอง
การทดลอง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
1. หย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงในน้าเย็น เกล็ดด่างทับทิมจะมีการเคลื่อนที่ช้า ๆ จากบริเวณที่มี
ความเข้มข้นสูงไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นต่า
2. เมื่อตั้งทิ้งไว้ 5 นาที สารละลายจะเป็นสีม่วงทั้งหมด
3. หย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงในน้าร้อน เกล็ดด่างทับทิมจะมีการเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วจากบริเวณ
ที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นต่า
7. คาถามท้ายการทดลอง
1) เมื่อหย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงในน้าเย็น สีของน้าจะเริ่มเปลี่ยนแปลงอย่างไร
เกล็ดด่างทับทิมจะมีการเคลื่อนที่ช้า ๆ จากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่บริเวณที่มี
ความเข้มข้นต่า
2) หลังจากหย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงในน้าเย็นแล้ว 5 นาที การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตเห็น คือ
สารละลายจะเป็นสีม่วงทั้งหมด
3) เมื่อหย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงในน้าร้อนและน้าเย็นมีการเปลี่ยนแปลงแตกต่างกันหรือไม่
อย่างไร ในน้าร้อนเกล็ดด่างทับทิมจะมีการเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว สารละลายจะเป็นสีม่วงได้เร็วกว่า
ในน้าเย็น
4) การเคลื่อนที่ของเกล็ดด่างทับทิมจากบริเวณที่มีความเข้มสูงไปหาบริเวณที่มีความเข้มข้นต่า
เรียกว่า การแพร่ของสาร
5) การแพร่ของสารจะเกิดขึ้นเร็วหรือช้า ขึ้นอยู่กับปัจจัยใดบ้าง
อุณหภูมิของสาร ขนาดอนุภาคของสาร ความเข้มข้นของสาร ความสามารถในการละลาย
ของสาร
6) จงยกตัวอย่างการแพร่ในชีวิตประจาวัน
สารละลายจะเป็นสีม่วงทั้งหมด
8. สรุปผลการศึกษา
การแพร่เป็นการเคลื่อนที่ของสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปหาบริเวณที่มีความเข้มข้นต่า
ซึ่งการที่พืชสามารถรับธาตุอาหารทางรากได้นั้นเกิดจากกระบวนการแพร่ การแพร่จเกิดขึ้นช้าหรือ
เร็วขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของสาร ขนาดอนุภาคของสาร ความเข้มข้นของสาร และความสามารถใน
การละลายของสาร
19
ตอนที่ 2 เรื่อง การออสโมซิส
1. กาหนดปัญหา
ถ้าน้าสีแดงที่อยู่ข้างนอกถุงสามารถเคลื่อนที่เข้าไปในถุงกระดาษเซลโลเฟนที่มีสารละลาย
น้าตาลเข้มข้นอยู่ได้แล้ว ดังนั้นจะทาให้ปริมาตรของน้าในหลอดแก้วสูงขึ้น
2. ตั้งสมมุติฐาน
ถ้าน้าและน้าสีแดงที่อยู่ข้างนอกถุงสามารถเคลื่อนที่เข้าไปในถุงกระดาษเซลโลเฟนที่มี
สารละลายน้าตาลเข้มข้นอยู่ได้แล้ว ดังนั้นจะทาให้ปริมาตรของน้าในหลอดแก้วสูงขึ้นและมีสีแดง
3. ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม ของการศึกษาเรื่องนี้คืออะไร
ตัวแปรต้น คือ สารละลายน้าตาลเข้มข้นในถุงกระดาษเซลโลเฟน และปริมาตรของน้าและ
น้าสีแดงที่อยู่นอกถุงกระดาษเซลโลเฟน
ตัวแปรตาม คือ การเคลื่อนที่ของน้าและน้าสีแดงที่อยู่นอกถุงผ่านกระดาษเซลโลเฟน
ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาตรของสารละลายน้าตาลทราย เข้มข้น 40 %, ขนาดของกระดาษ
เซลโลเฟน, ระยะเวลาการทดลอง,
4. อุปกรณ์
1) น้าปริมาตร 100 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อกลุ่ม
2) น้าตาลทรายความเข้มข้น 40% โดยมมวลต่อปริมาตร 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร (เตรียม
โดย ชั่งน้าตาล 40 กรัม ละลายน้า 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร)
3) บีกเกอร์ จานวน 2 ใบ ต่อกลุ่ม
4) หลอดแก้วปลายเปิดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 เซนติเมตร จานวน 1 อันต่อกลุ่ม
5) กระดาษเซลโลเฟน ขนาด 15 X 15 เซนติเมตร จานวน 1 แผ่นต่อกลุ่ม
6) ขาตั้งพร้อมที่หนีบ จานวน 1 ชุด ต่อกลุ่ม
7) ยางรัด จานวน 1 เส้น
5. วิธีศึกษาทดลอง
ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาการออสโมซิส โดยปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอน ดังนี้
1) นาแผ่นกระดาษเซลโลเฟนชุบน้าให้เปียก
ทาเป็นถุงแล้วใส่ลงในบีกเกอร์ รินสารละลาย
น้าตาลทรายความเข้มข้นลงไป 30 ลูกบาศก์
เซนติเมตร
20
2) จุ่มหลอดแก้วใส่ลงในถุงกระดาษเซลโลเฟน
ลึก 3 เซนติเมตร ใช้ยางยืดมัดให้แน่น ระวังอย่างให้
มีฟองอากาศในถุง
3) นาถุงที่มัดแล้วในข้อ 2 จุ่มลงในบีกเกอร์ที่มี
น้าบรรจุอยู่ โดยให้รอยยางรัดอยู่สูงกว่าระดับน้าใน
บีกเกอร์ ดังรูป ทาเครื่องหมายแสดงระดับน้า ตั้งทิ้ง
ไว้5 นาที สังเกตระดับของเหลวในหลอดแก้ว แล้ว
บันทึกผล
4) รินน้าหมึกสีแดงลงในบีกเกอร์อีกใบหนึ่ง
นาถุงกระดาษเซลโลเฟนในข้อ 4 จุ่มลงไป ตั้งทิ้งไว้
อีก 5 นาที สังเกตสีของสารละลายแล้ว บันทึก
ผลการศึกษา
ภาพที่ 32 ภาพขั้นตอนการทดลองการออสโมซิส
(ที่มาภาพ : ประดับ นาคแก้วและดาวัลย์ เสริมบุญสุข. (2551). : 47)
6. ตารางบันทึกผลการทดลอง
ของเหลวที่ใช้แช่ถุงสารละลายน้าตาลทราย การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
1. แช่ในน้า ของเหลวที่อยู่ในหลอดแก้วสูงขึ้นจากเดิม
2. แช่ในน้าหมึกสีแดง ของเหลวในหลอดแก้วสูงขึ้นและมีสีแดง
21
7. คาถามท้ายการทดลอง
1) เมื่อแช่ถุงกระดาษโซลโลเฟนที่มีสารละลายน้าตาลเข้มข้นลงในน้าและในน้าหมึกสีแดง
ระดับน้าในหลอดแก้วมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
ระดับน้าในหลอดแก้วสูงขึ้นกว่าเดิมและเมื่อแช่ในน้าหมึกสีแดงน้าในหลอดแก้วสูงขึ้นและ
มีแดง
2) การที่ระดับน้าในหลอดแก้วมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจาก
น้าและน้าหมึกสีแดงสามารถเคลื่อนที่ผ่านกระดาษเซลโลเฟนเข้าไปข้างในถุงได้
3) เมื่อเปรียบเทียบความเข้มข้นของน้าระหว่างภายในถุงกับภายนอกถุงกระดาษเซลโลเฟน
บริเวณใดจะมีความเข้มข้นของน้ามากกว่า
บริเวณข้างนอกถุงกระดาษเซลโลเฟนมีความเข้มข้นของน้าสูงกว่า
4) น้าและน้าหมึกสีแดงมีการเคลื่อนที่เข้าหรือออกจากถุงกระดาษเซลโลเฟน
น้าและน้าหมึกสีแดงมีการเคลื่อนที่เข้าไปในถุงกระดาษเซลโลเฟน
5) การเคลื่อนที่ของน้าผ่านเยื่อกระดาษเซลโลเฟนจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้ามาก
ไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นของน้าน้อย เรียกว่า การออสโมซิส
6) ถ้าต้องการให้ระดับน้าในหลอดแก้วสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว นักเรียนคิดว่าควรทาอย่างไร
เพิ่มความเข้มข้นของสารละลายน้าตาลให้มีความเข้มข้นสูงขึ้น
7) ถ้าเปลี่ยนน้าสีแดงให้อยู่ในถุงกระดาษเซลโลเฟนแทน โดยให้สารลายน้าตาลเข้มข้นอยู่
ข้างนอกถุง ระดับน้าในหลอดแก้วจะเป็นอย่างไร เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น
ระดับน้าในหลอดแก้วจะลดลง เพราะน้าในถุงกระดาษเซลโลเฟนเคลื่อนที่ออกมานอกถุง
8) ถ้าแช่ถุงสารละลายนี้ในสารละลายน้าตาลเหมือนกัน นักเรียนคิดว่าระดับน้าในหลอดแก้ว
จะเป็นอย่างไร เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น
ระดับน้าในหลอดแก้วจะไม่เปลี่ยนแปลง เพราะความเข้มข้นของน้าเท่ากัน
9) ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อการดูดน้าของรากพืช
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดน้าของรากพืชได้แก่ ปริมาณน้าในดิน ความเข้มข้นของสารละลาย
ในดิน อุณหภูมิของดิน และการถ่ายเทอากาศในดิน
10) จงยกตัวอย่างการออสโมซิสในชีวิตประจาวัน
ตัวอย่างการออสโมซิสในชีวิตประจาวัน เช่น การแช่ผักในน้าเพื่อป้ องกันผักเหี่ยว
การดองหวาน ดองเค็ม การแช่อิ่มผลไม้ การทาไข่เค็ม การใช้โอเอซีสปักแจกันดอกไม้สด
22
8. สรุปผลการศึกษา
การออสโมซิสเป็นการเคลื่อนที่ของน้าผ่านเยื่อเลือกผ่าน โดยแพร่จากบริเวณที่มี
ความเข้มข้นของน้ามากไปหาบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้าน้อย ซึ่งการแพร่ของน้าในรากพืช
เกิดจากน้าในดินออสโมซิสเข้าสู่รากพืชได้ เนื่องจากปริมาณของน้าดินสูงกว่าในลาต้นพืช
9. ถ้านักเรียนจะทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ที่นาหลักการแพร่ของสารและการออสโมซิส นักเรียนจะ
ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องใดได้บ้าง
1) เรื่อง สารส้มชะลอความเหี่ยวของผัก
2) โอเอซิสจากกาบมะพร้าว
3) การทาไข่เค็มสมุนไพร
4) การศึกษาการฟอกสีไหมจากด่างเปลือกนุ่น
23
เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 3
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
ข้อ รายการประเมิน ระดับคะแนน
ตอนที่ 1 (13 คะแนน)
1 -3 ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นมากไม่มีส่วนผิด 1
ตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบ 0
4-5 ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและมีการบันทึกผลการทดลองครบทุกส่วน
ไม่มีส่วนใดผิดหรือผิดไม่เกิน 1 รายการ
3
ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและมีการบันทึกผลการทดลองครบทุกส่วน
ไม่มีส่วนใดผิดหรือผิดไม่เกิน 2 รายการ
2
ไม่ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและไม่มีการบันทึกผลการทดลองหรือ
บันทึกผลการทดลองไม่ครบส่วนผิดมากกว่า 2 รายการ
1
7
(1- 6)
ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นมากไม่มีส่วนผิด 1
ตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบ 0
8 สรุปผลการศึกษาได้ถูกต้องตรงตามผลการทดลอง 1
ไม่ได้สรุปผลการศึกษาหรือสรุปแต่ไม่ถูกต้อง 0
24
ข้อ รายการประเมิน ระดับคะแนน
ตอนที่ 2 (17 คะแนน)
1 -3 ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นมากไม่มีส่วนผิด 1
ตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบ 0
4-5 ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและมีการบันทึกผลการทดลองครบทุกส่วน
ไม่มีส่วนใดผิดหรือผิดไม่เกิน 1 รายการ
3
ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและมีการบันทึกผลการทดลองครบทุกส่วน
ไม่มีส่วนใดผิดหรือผิดไม่เกิน 2 รายการ
2
ไม่ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและไม่มีการบันทึกผลการทดลองหรือ
บันทึกผลการทดลองไม่ครบส่วนผิดมากกว่า 2 รายการ
1
7
(1- 10)
ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นมากไม่มีส่วนผิด 1
ตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบ 0
8 สรุปผลการศึกษาได้ถูกต้องตรงตามผลการทดลอง 1
ไม่ได้สรุปผลการศึกษาหรือสรุปแต่ไม่ถูกต้อง 0
9 บอกชื่อโครงงานที่สอดคล้องกับการใช้หลักการแพร่และการออสโมซิส
ได้1-2 ชื่อ
1
บอกชื่อโครงงานที่สอดคล้องกับการใช้หลักการแพร่และการออสโมซิส
ไม่ได้หรือบอกไม่สอดคล้อง
0
รวมตอนที่ 1 และ 2 (13+17) = 30 คะแนน
สรุปผลการประเมิน
 ดีมาก (26 – 30 คะแนน)  ดี (21 –25 คะแนน)
 ปานกลาง ( 16 – 20 คะแนน)  ผ่าน ( 11 – 15 คะแนน)
 ต้องปรับปรุง (ต่ากว่า 11 คะแนน)
ผู้ประเมิน ............................................
(............................................)
25
บรรณานุกรม
กนก จันทร์ขจร และคณะ. (2533). วิทยาศาสตร์ ม.1. พิมพ์ครั้งที่ 5. นนทบุรี : ไทยร่วมเกล้า.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544
คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : องค์การรับส่ง
สินค้าและพัสดุภัณฑ์.
. (2545). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ :
คุรุสภาลาดพร้าว.
กฤษณีย์ ปิตุรัตน์. (2548). ผลการใช้ชุดฝึกเพื่อส่งเสริมความสามารถในการทาโครงงาน
วิทยาศาสตร์ที่พัฒนามาจากภูมิปัญญาท้องถิ่นของนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
จังหวัดแม่ฮ่องสอน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
กุณฑรี เพชรทวีพรเดช และนิตยา บุญมี. (2548). วิทยาศาสตร์ ม.1. เล่ม 1. กรุงเทพฯ :
อักษรเจริญทัศน์.
เกริก ท่วมกลาง. (2546). แบบฝึกปฏิบัติการทาโครงงาน คู่มือการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ช่วงชั้นที่ 2 (ประถมศึกษาปีที่ 4- 6). : กรุงเทพฯ : สถาพรบุ๊คส์.
จักฬพล สว่างอารมณ์. (2543). ผลการใช้ชุดกิจกรรมฝึกทาโครงงานวิทยาศาสตร์ที่มีต่อ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาบูรพา.
ชาตรี เกิดธรรม. (2547). เทคนิคการสอนแบบโครงงาน. กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก.
เตือนใจ ไชยโย. (2545). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความสามารถในการทา
โครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการสอนโดยการใช้แบบฝึกคิดหัวข้อและ
วางแผนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต
สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ถนัด ศรีบุญเรือง. (2549). วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 7. นนทบุรี : ไทยร่วมเกล้า.
. (2551). วิทยาศาสตร์ ม.1. เล่ม 1. นนทบุรี : ไทยร่วมเกล้า.
ถวัลย์ มาศจรัสและมณี เรืองขา. (2549). แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโครงงาน.
กรุงเทพฯ : ดวงกมลสมัย.
26
บัญชา แสนทวี และคณะ. (2546). วิทยาศาสตร์ เล่ม 1 ช่วงชั้นที่ 3 ชั้น ม.1. กรุงเทพฯ :
วัฒนาพาณิช.
ประดับ นาคแก้ว และดาวัลย์ เสริมบุญสุข. (2551). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์แม็ค .
ปิ่นศักดิ์ ชุมเกษียน และปิยาณี สมคิด. (2545). วิทยาศาสตร์ 2 ช่วงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3). นนทบุรี :
ไทยร่มเกล้า.
พเยาว์ ยินดีสุข และคณะ. (2546). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2545). พฤติกรรมการสอนวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ
(วพ)จากัด
. (2551). การสอนคิดด้วยโครงงาน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิมพ์พันธุ์ เดชะคุปต์ และคณะ. (2548). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพ
วิชาการ.
. (2550). สุดยอดคู่มือครูแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนา
คุณภาพวิชาการ.
พีระ พนาสุภน. (2551). แม็ค ม.ต้น. กรุงเทพฯ : ซีวีแอลการพิมพ์.
โรงเรียนบ้านกาเกาะระโยง. (2551). แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2551.
กลุ่มบริหารงานทั่วไป.
. (2550). หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
(ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 2). ฝ่ายวิชาการ.
ลิขิต ฉัตรสกุล และคณะ. (2533). วิทยาศาสตร์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : วัฒนาพาณิช.
วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2550). นวัตกรรมตามแนวคิดแบบ Backward Design.กรุงเทพฯ :
ช้างทอง.
ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ. (2545). วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3). กรุงเทพฯ : นิยมวิทยา
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2548). ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.
สมพงศ์ จันทร์โพธิ์ศรี. (2549). โครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา. : กรุงเทพฯ :
เจ้าพระยาระบบการพิมพ์.
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
นางเอเดียน คุณาสิทธิ์
โรงเรียนบ้านกาเกาะระโยง
อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1
ข
คานา
ชุดกิจกรรมนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 23101 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง หน่วยของชีวิตและชีวิตพืช ซึ่งเป็นชุดกิจกรรมที่เน้นทักษะการทา
โครงงานวิทยาศาสตร์ควบคู่กับการฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นักเรียนสามารถปฏิบัติ
กิจกรรมได้ตามความสนใจ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้มี จานวน 8 ชุด เวลาเรียน 24 ชั่วโมง ดังนี้
1. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ (เวลา 3 ชั่วโมง)
2. ชุดกิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์ (เวลา 3 ชั่วโมง)
3. ชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (เวลา 3 ชั่วโมง)
4. ชุดกิจกรรมที่ 4 เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (เวลา 3 ชั่วโมง)
5. ชุดกิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช (เวลา 3 ชั่วโมง)
6. ชุดกิจกรรมที่ 6 เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของพืช (เวลา 3 ชั่วโมง)
7. ชุดกิจกรรมที่ 7 เรื่อง การเจริญเติบโตและการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช(เวลา3ชั่วโมง)
8. ชุดกิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช (เวลา 3 ชั่วโมง)
ชุดกิจกรรมนี้เป็นชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ในการใช้
ชุดกิจกรรมให้นักเรียนปฏิบัติตามคาชี้แจงของชุดกิจกรรมแต่ละชุดอย่างละเอียดโดยปฏิบัติกิจกรรม
ตามลาดับที่ของชุดกิจกรรม
ค
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ปก ............................................................................................................................................ ก
คานา......................................................................................................................................... ข
สารบัญ..................................................................................................................................... ค
สารบัญภาพประกอบ..................................................................................................................ง
ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ...................................................................................... จ
คาชี้แจงสาหรับครู .....................................................................................................................ฉ
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน..................................................................................................................ช
แผนผังการจัดกลุ่มการเรียน........................................................................................................... ซ
ชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์....................................................1
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์.............................................................2
กิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์.............................................................9
ตอนที่ 1 เรื่อง การแพร่ของสาร...................................................................................9
ตอนที่ 2 เรื่อง การออสโมซิส..................................................................................12
แนวการตอบกิจกรรมที่ 3...............................................................................................................16
เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 3..................................................................................................23
บรรณานุกรม..................................................................................................................................25
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
โครงสร้างของราก
 โครงสร้างของราก โครงสร้างของราก
โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
Microsoft word ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์
Microsoft word   ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์Microsoft word   ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์
Microsoft word ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์Thanyamon Chat.
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 

La actualidad más candente (20)

8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
โครงสร้างของราก
 โครงสร้างของราก โครงสร้างของราก
โครงสร้างของราก
 
ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
Microsoft word ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์
Microsoft word   ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์Microsoft word   ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์
Microsoft word ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 

Similar a 6.ชุด 3 การแพร่

5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้าkai kk
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วนWareerut Hunter
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64Oui Nuchanart
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานKrupol Phato
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...Ketsarin Prommajun
 

Similar a 6.ชุด 3 การแพร่ (20)

5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า
 
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
 
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
 
สุขภาพ
สุขภาพสุขภาพ
สุขภาพ
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
R61(1)
R61(1)R61(1)
R61(1)
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

6.ชุด 3 การแพร่

  • 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางเอเดียน คุณาสิทธิ์ โรงเรียนบ้านกาเกาะระโยง อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1
  • 2. ข คานา ชุดกิจกรรมนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 23101 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง หน่วยของชีวิตและชีวิตพืช ซึ่งเป็นชุดกิจกรรมที่เน้นทักษะการทา โครงงานวิทยาศาสตร์ควบคู่กับการฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นักเรียนสามารถปฏิบัติ กิจกรรมได้ตามความสนใจ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้มี จานวน 8 ชุด เวลาเรียน 24 ชั่วโมง ดังนี้ 1. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ (เวลา 3 ชั่วโมง) 2. ชุดกิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์ (เวลา 3 ชั่วโมง) 3. ชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (เวลา 3 ชั่วโมง) 4. ชุดกิจกรรมที่ 4 เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (เวลา 3 ชั่วโมง) 5. ชุดกิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช (เวลา 3 ชั่วโมง) 6. ชุดกิจกรรมที่ 6 เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของพืช (เวลา 3 ชั่วโมง) 7. ชุดกิจกรรมที่ 7 เรื่อง การเจริญเติบโตและการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช(เวลา3ชั่วโมง) 8. ชุดกิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช (เวลา 3 ชั่วโมง) ชุดกิจกรรมนี้เป็นชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ในการใช้ ชุดกิจกรรมให้นักเรียนปฏิบัติตามคาชี้แจงของชุดกิจกรรมแต่ละชุดอย่างละเอียดโดยปฏิบัติกิจกรรม ตามลาดับที่ของชุดกิจกรรม
  • 3. ค สารบัญ เรื่อง หน้า ปก ............................................................................................................................................ ก คานา......................................................................................................................................... ข สารบัญ..................................................................................................................................... ค สารบัญภาพประกอบ..................................................................................................................ง ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ...................................................................................... จ คาชี้แจงสาหรับครู .....................................................................................................................ฉ คาชี้แจงสาหรับนักเรียน..................................................................................................................ช แผนผังการจัดกลุ่มการเรียน........................................................................................................... ซ ชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์....................................................1 ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์.............................................................2 กิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์.............................................................9 ตอนที่ 1 เรื่อง การแพร่ของสาร...................................................................................9 ตอนที่ 2 เรื่อง การออสโมซิส..................................................................................12 แนวการตอบกิจกรรมที่ 3...............................................................................................................16 เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 3..................................................................................................23 บรรณานุกรม..................................................................................................................................25
  • 4. ง สารบัญภาพประกอบ ภาพที่ หน้า ภาพที่ 3.1 แบบจาลองการออสโมซิส...........................................................................................1 ภาพที่ 3.2 แบบจาลองการแพร่ของสีผสมอาหารในน้า ................................................................2 ภาพที่ 3.3 การแพร่ของออกซิเจนเข้าสู่รากพืช...........................................................................3 ภาพที่ 3.4 การแพร่ของออกซิเจนเข้าสู่รากพืช...........................................................................4 ภาพที่ 3.5 การออสโมซิสของน้าเข้าสู่รากพืช............................................................................5 ภาพที่ 3.6 การแพร่โมเลกุลของน้าผ่านเยื่อเลือกผ่านโดยการออสโมซิส...................................5 ภาพที่ 3.7 การแพร่โมเลกุลของน้าผ่านเยื่อเลือกผ่านโดยการออสโมซิส...................................6 ภาพที่ 3.8 การออสโมซิสของน้าเข้าไปในไข่ผ่านเยื่อบาง ๆ ของไข่ ........................................7 ภาพที่ 3.9 ภาพการทดลองการแพร่ของด่างทับทิมในน้าร้อนและน้าเย็น...............................10 ภาพที่ 3.10 ภาพขั้นตอนการทดลองการออสโมซิส...............................................................13
  • 5. จ ชุดกิจกรรมที่3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ มีส่วนประกอบที่สาคัญดังนี้ 1. เป็นชุดกิจกรรมที่ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 และ 6 (ในเล่มคู่มือการใช้) 2. ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ 3. ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ตอนที่ 1 เรื่อง การแพร่ของสาร(1ชั่วโมง) ตอนที่ 2 เรื่อง การออสโมซิส ( 2 ชั่วโมง) 4. แนวการตอบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ 5. เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
  • 6. ฉ คาชี้แจงสาหรับครู การใช้ชุดกิจกรรมเพื่อให้บรรลุผลตามจุดประสงค์ที่กาหนดไว้ สิ่งที่ครูผู้สอนต้องเตรียม มีดังนี้ 1. ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5และ 6 ในคู่มือการใช้ชุดกิจกรรมให้ละเอียด 2. ศึกษาเนื้อหาและคาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมแต่ละชุด และปฏิบัติตามขั้นตอนใน คาชี้แจงของกิจกรรมตามลาดับอย่าข้ามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง 3. ครูเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในชุดกิจกรรมไว้ล่วงหน้าก่อนทาการเรียนการสอน 4. ครูจัดชั้นเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 8 กลุ่ม ๆ ละ 5 คน ตามแผนผังที่กาหนดไว้ โดยมีหัวหน้าประจาทุกกลุ่ม ผู้นากลุ่มอาจมีการผลัดเปลี่ยนกันแต่ละกลุ่มควรเป็นกลุ่มเดิมเพื่อจะได้ ทางานที่ต่อเนื่องกัน 5. ครูต้องชี้แจงให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และรู้บทบาทหน้าที่ของตนในกลุ่ม โดยไม่ให้ดูเฉลยก่อน หลังจากปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแล้วจึงเปิดดูเฉลยได้และมีการแลกเปลี่ยนกัน ตรวจตามเกณฑ์การให้คะแนนที่กาหนดไว้ในแต่ละกิจกรรม 6. ครูต้องให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 40 ข้อก่อนเรียนชุดกิจกรรมที่ 1 7. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นสร้างความสนใจ 2) ขั้นสารวจและค้นหา 3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป 4) ขั้นขยายความรู้ 5) ขั้นประเมินผล 8. ชุดกิจกรรมที่ 3 เป็นการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในเนื้อหาประจาหน่วย ซึ่ง บูรณาการทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์ ไปพร้อม ๆ กัน 9. ขณะที่นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมครูต้องคอยดูแลและแนะนาการปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด เมื่อนักเรียนพบปัญหาในการเรียนจะได้ช่วยแก้ไขปัญหาได้ทันที 10. เมื่อนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้วให้นักเรียนเก็บสื่อและวัสดุอุปกรณ์ของ แต่ละกลุ่มให้เรียบร้อย โดยเน้นการเก็บและดูแลรักษาความสะอาดฝึกให้เป็นระเบียบจนเป็นนิสัย 11. เมื่อสิ้นสุดการเรียนชุดกิจกรรมที่ 8 แล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 40 ข้อซึ่งเป็นแบบทดสอบคู่ขนานกับแบบทดสอบก่อนเรียน 12. แจ้งผลการเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมทันทีที่ตรวจเสร็จแล้ว
  • 7. ช คาชี้แจงสาหรับนักเรียน การใช้ชุดกิจกรรมนักเรียนควรทราบถึงบทบาทของตนเองดังนี้ 1. ศึกษาคาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมแต่ละชุดอย่างละเอียด 2. ศึกษาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ แล้วปฏิบัติกิจกรรม ตามใบกิจกรรม ดังนี้ ตอนที่ 1 เรื่อง การแพร่ของสาร(1ชั่วโมง) ตอนที่ 2 เรื่อง การออสโมซิส ( 2 ชั่วโมง) 3. นักเรียนต้องตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างจริงจังไม่เล่นหรือทาให้ล่าช้า 4. กิจกรรมการทดลองต้องทาตามขั้นตอนทุกขั้นตอนด้วยความระมัดระวังเพราะ อุปกรณ์อาจแตกหรือเสียหายได้ 5. หลังทากิจกรรมเสร็จแล้วให้นักเรียนส่งผลงานการทากิจกรรมให้ครูตรวจหรือ แลกเปลี่ยนกันตรวจก่อนที่จะดาเนินการศึกษากิจกรรมต่อไป ถ้ามีอะไรชารุดเสียหายต้องแจ้งให้ครู ทราบทันที 6. เมื่อทากิจกรรมเสร็จทั้ง 8 ชุดแล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน 40 ข้อ เพื่อ ประเมินความรู้หลังเรียน
  • 8. ซ แผนผังการจัดกลุ่มการเรียน การประเมินผล 1. ประเมินจากการทาแบบทดสอบก่อนเรียน -หลังเรียน จานวน 40 ข้อ 2. ประเมินผลจากการทากิจกรรมที่ 3 ตอนที่ 1 การแพร่ของสาร ตามเกณฑ์การประเมิน ที่กาหนด 3. ประเมินการทากิจกรรมการทดลองตอนที่ 2 เรื่อง การออสโมซิส ตามเกณฑ์การ ประเมินที่กาหนด 4. สังเกตความสนใจและความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมและพฤติกรรมการทางาน กลุ่มทุกครั้งที่เรียน โต๊ะครู กลุ่มที่ 7 กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 6 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 8 กลุ่มที่ 5 กลุ่มที่ 4
  • 9. 1 ชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่องย่อยที่ 3 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 – 6 (เวลา 3 ชั่วโมง) คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนทากิจกรรมที่ 3 ตอนที่ 1 เรื่อง การแพร่ของสารสรุปผล การศึกษาและตอบคาถาม 2.ให้นักเรียนทากิจกรรมที่ 3 ตอนที่ 2 เรื่อง การออสโมซิสสรุปผลการศึกษา และตอบคาถาม 3. ศึกษาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์แล้ว ร่วมกันอภิปรายและเสนอชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับการแพร่และ การออสโมซิสได้ 4. ตรวจคาตอบจากแนวการตอบ ภาพที่ 3.1 แบบจาลองการออสโมซิส (ที่มาของภาพ ปรับปรุงจาก : http://pirun.ku.ac.th/~g4686042/test/osmo.htm)
  • 10. 2 ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ จุดประสงค์การเรียนรู้ เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ แล้วสามารถ 1. ทดลองและอธิบายกระบวนการของสารผ่านเข้าออกเซลล์ โดยการแพร่ได้ 2.ทดลองและอธิบายกระบวนการของสารผ่านเข้าออกเซลล์โดยการออสโมซิสได้ 3. อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่และการออสโมซิสได้ 4. ยกตัวอย่างการแพร่และการออสโมซิสในชีวิตประจาวันได้ 5. บอกชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักการแพร่และการออสโมซิสได้ 1. การแพร่ของสาร สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องการน้า แร่ธาตุ และอาหารในการดารงชีวิต และมีการกาจัดของเสีย ต่าง ๆ ออกสู่ภายนอก ซึ่งสารเหล่านี้จะต้องผ่านเข้าออกเยื่อหุ้มเซลล์ สารที่ผ่านเข้าออกเยื่อหุ้มเซลล์ เกิดทั้งในการแพร่และการออสโมซิส การแพร่ หมายถึง การเคลื่อนที่หรือการกระจายของโมเลกุลของสาร จากบริเวณที่มีความ เข้มข้นของสารมากไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารน้อย โดยอาจผ่านเยื่อเลือกผ่านหรือไม่ ผ่านก็ได้ จนกระทั่ง 2 บริเวณมีความเข้มข้นเท่ากัน การแพร่เกิดได้กับสารทุกสถานะ ทั้งของแข็ง ของเหลวและแก๊ส แต่สถานะแก๊สจะแพร่ได้เร็วกว่า เช่น การแพร่ของสีผสมอาหารในน้า หรือการ แพร่ของน้าหอมในอากาศ การแพร่ของน้าและเกลือแร่จากดินสู่รากพืช ภาพที่ 3.2 แบบจาลองการแพร่ของสีผสมอาหารในน้า (ที่มาของภาพ ปรับปรุงจาก : http://server.thaigoodview.com)
  • 11. 3 1.1 ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่ ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่ของสาร 1) ความเข้มข้นของสาร ถ้าความเข้มข้นระหว่าสองบริเวณแตกต่างกันมาก การแพร่จะ เกิดขึ้นได้รวดเร็ว โดยสารจะแพร่จากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นต่า 2) อุณหภูมิ ถ้าอุณหภูมิสูง การแพร่ของสารจะเป็นไปอย่างรวดเร็ว เพราะโมเลกุลของ สารมีพลังงานจลน์สูง 3) ขนาดของอนุภาคของสาร ถ้าสารมีขนาดอนุภาคเล็กการแพร่จะเกิดขึ้นได้รวดเร็ว 4) ความสามารถในการละลายของสาร ถ้าสารมีความสามารถในการละลายได้ดีจะมี อัตราการแพร่สูง 5) ความดัน การเพิ่มความดันทาให้การแพร่เกิดเร็วขึ้น 6) ตัวกลาง ในตัวกลางที่มีความหนืดสูง โมเลกุลของสารที่แพร่จะถูกดูดซับ ทาให้ อัตราการแพร่เกิดได้ช้า รวมทั้งถ้าในตัวกลางนั้นมีอนุภาคอื่นเจือปนก็จะทาให้อัตราการแพร่ช้าลง 1.2 การแพร่ในพืช เซลล์พืชต้องใช้แก๊สออกซิเจนในกระบวนการหายใจ แก๊สออกซิเจนที่แทรกอยู่ตาม ช่องว่างระหว่างเม็ดดินจะแพร่เข้าสู่เซลล์ของพืชที่บริเวณขนราก แล้วเกิดการแพร่ไปยังเซลล์ ข้างเคียงที่มีปริมาณแก๊สออกซิเจนน้อยกว่า ทั้งนี้เซลล์จะใช้แก๊สออกซิเจนในกระบวนการทางเคมี ของเซลล์เพื่อสลายอาหารให้เป็นพลังงาน จะได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ออกมาจากเซลล์ แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมา จะแพร่ในทิศทางตรงข้ามกับการแพร่ออกซิจน ซึ่งจะถูกปล่อย ออกจากพืช โดยการแพร่ออกทางปากใบ ภาพที่ 3.3 การแพร่ของออกซิเจนเข้าสู่รากพืช (ที่มาของภาพ : ถนัดศรีบุญเรืองและคณะ.ม.ป.ป.:39)
  • 12. 4 ในทางกลับกัน เซลล์พืชใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นสารเริ่มต้นใน กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งเป็นกระบวนการสร้างอาหารของพืช โดยภายในเซลล์พืชมี ความเข้มข้นของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ต่ากว่านอกเซลล์ ดังนั้นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่อยู่ นอกเซลล์ จึงสามารถแพร่ผ่านเข้าสู่เซลล์พืชบริเวณปากใบได้ เมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงแล้วจะได้น้าตาลกลูโคสและแก๊สออกซิเจนเป็นผลิตภัณฑ์ทาให้ภายในเซลล์มีปริมาณแก๊ส ออกซิเจนมากกว่าในบรรยากาศ จึงทาให้แก๊สออกซิเจนออกมานอกเซลล์ทางปากใบได้ ภาพที่ 3.4 การแพร่ของออกซิเจนเข้าสู่รากพืช (ที่มาของภาพ : ถนัดศรีบุญเรืองและคณะ. ม.ป.ป. : 70) 1.3 การแพร่ในชีวิตประจาวัน ในชีวิตประจาวันจะพบการแพร่ของสารเกิดขึ้น ดังนี้ 1) ของแข็งแพร่เข้าไปในของเหลว เช่น น้าตาลในน้า เกลือในน้า 2) ของแข็งแพร่เข้าไปในแก๊ส เช่น ลูกเหม็น การบูร 3) ของเหลวแพร่เข้าไปในแก๊ส เช่น การฟุ้งกระจายของน้าหอม 4) แก๊สแพร่เข้าไปในแก๊ส เช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในแก๊สออกซิเจน (ที่มา ปรับปรุงจาก : ถนัด ศรีบุญเรืองและคณะ. ม.ป.ป. วิทยาศาสตร์ ม. 1. อักษรเจริญทัศน์ : กรุงเทพฯ) อย่าลืมว่า.. การแพร่ เป็นการเคลื่อนที่ ของสาร จากบริเวณที่มีความเข้มข้น ของสารมากไปสู่บริเวณที่มี ความเข้มข้นของสารน้อย นะครับ
  • 13. 5 2. การออสโมซิส น้าในดินเคลื่อนที่เข้าสู่เยื่อหุ้มเซลล์บริเวณรากพืชโดยวิธีการออสโมซิส เนื่องจากน้าในดิน มีมากกว่าในเซลล์ขนราก น้าจะถูกลาเลียงจากเซลล์ขนรากไปตามท่อลาเลียงน้าเข้าสู่ลาต้นพืช ภาพที่ 3.5 การออสโมซิสของน้าเข้าสู่รากพืช (ที่มาของภาพ : ถนัดศรีบุญเรืองและคณะ. ม.ป.ป. : 42) การออสโมซิส(Osmosis)หมายถึงการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของน้าจากบริเวณที่มีความเข้มข้น ของน้ามาก ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้าน้อย โดยผ่านเยื่อบาง ๆ ที่ทาหน้าที่เป็นเยื่อเลือก ผ่าน(Semipermeable membrane) เช่น เยื่อหุ้มเซลล์ เยื่อหุ้มนิวเคลียส เยื่อชั้นในของเปลือกไข่ กระดาษเซลโลเฟน ทาหน้าที่เป็นเยื่อเลือกผ่าน ภาพที่ 3.6 การแพร่โมเลกุลของน้าผ่านเยื่อเลือกผ่านโดยการออสโมซิส (ที่มาของภาพ : ถนัดศรีบุญเรืองและคณะ. ม.ป.ป. : 43)
  • 14. 6 2.1 ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดน้าของราก การดูดน้าของรากพืช มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องดังนี้ 1) ปริมาณน้าในดิน ดินที่มีประมาณของน้ามากจะทาให้สารละลายพวกแร่ธาตุที่มีอยู่ ในดินมีความเข้มข้นต่ากว่าความเข้มข้นของสารละลายในเซลล์ราก อัตราการดูดน้าของรากจะสูงขึ้น บริเวณที่มีน้าขังเป็นเวลานาน รากพืชจะไม่ได้รับออกซิเจนอาจทาให้พืชตายได้ 2) ความเข้มข้นของสารละลายในดิน ในดินที่มีแร่ธาตุปริมาณมาก จะทาให้ความ เข้มข้นของสารละลายในดินสูงกว่าความเข้มเข้นของสารละลายในรากพืช น้าในเซลล์รากจะแพร่ ออกจากรากไปสู่ดิน เมื่อเกิดต่อเนื่องเป็นเวลานานพืชจะเหี่ยวและตายได้ 3) อุณหภูมิของดิน อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการดูดน้าของพืชยู่ระหว่าง 20 – 30 องศา เซลเซียส ถ้าอุณหภูมิสูงเกินไป ปากใบจะปิดเพื่อลดการคายน้า ทาให้การดูดน้าลดลงไป เพราะ การคายน้าจะทาให้เกิดแรงดึงน้าจากรากขึ้นสู่ยอดพืชเพื่อทดแทนน้าที่คายน้าออกไป 4) การถ่ายเทอากาศในดิน ในดินที่มีอากาศถ่ายเทได้ดี จะทาให้พืชได้รับออกซิเจน เพียงพอต่อความต้องการในกระบวนการต่าง ๆ ของพืช และการดูดน้าของรากจะเกิดในอัตราสูงด้วย ดังนั้นการพรวนดินให้แก่พืชจึงมีความจาเป็นเพราะช่วยให้อากาศในดินเกิดการถ่ายเทได้ดี ภาพที่ 3.7 การแพร่โมเลกุลของน้าผ่านเยื่อเลือกผ่านโดยการออสโมซิส (ที่มาของภาพ : ประดับ นาคแก้วและดาวัลย์ เสริมบุญสุข. 2551 : 45)
  • 15. 7 2.2 การออสโมซิสในชีวิตประจาวัน ในชีวิตประจาวันเกี่ยวข้องกับการออสโมซิสมากมาย เช่น การทาไข่เค็ม การดอง การแช่อิ่ม การแช่ผักในน้าเพื่อป้ องกันไม่ให้ผักเหี่ยว การปลูกพืชต่าง ๆ ซึ่งพืชต้องการน้าเพื่อใช้ใน การเจริญเติบโต เป็นต้น ภาพที่ 3.8 การออสโมซิสของน้าเข้าไปในไข่ผ่านเยื่อบาง ๆ ของไข่ (ที่มาของภาพ : ประดับ นาคแก้วและดาวัลย์ เสริมบุญสุข. 2551 : 45) (ที่มา ปรับปรุงจาก : ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะและคณะ. (2545). วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 (ม. 1 – 3). นิยมวิทยา : กรุงเทพฯ)
  • 16. 8 กิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ จุดประสงค์การเรียนรู้ เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ แล้วสามารถ 1. ทดลองและอธิบายกระบวนการของสารผ่านเข้าออกเซลล์ โดยการแพร่ได้ 2.ทดลองและอธิบายกระบวนการของสารผ่านเข้าออกเซลล์โดยการออสโมซิสได้ 3. อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่และการออสโมซิสได้ 4. ยกตัวอย่างการแพร่และการออสโมซิสในชีวิตประจาวันได้ 5. บอกชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักการแพร่และการออสโมซิสได้ คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 8 กลุ่ม ๆ ละ 5 คน โดยคละเพศและความสามารถ 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนรับอุปกรณ์การทดลองและชุดกิจกรรมที่ 3 แล้ว ทากิจกรรมที่ 3 ตอนที่ 1 และตอนที่ 2 แล้วตอบคาถามท้ายกิจกรรม ตอนที่ 1 เรื่อง การแพร่ของสาร 1. กาหนดปัญหา ................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................. 2. ตั้งสมมุติฐาน ................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3. ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม ของการศึกษาเรื่องนี้คืออะไร ............................................................................................................................................................. 4. อุปกรณ์ 1) น้าเย็น 30 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อกลุ่ม 2) เกล็ดด่างทับทิม 2 – 3 เกล็ดต่อกลุ่ม 3) บีกเกอร์ขนาด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 3 ใบ ต่อกลุ่ม 4) น้าอุ่น 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร ต่อกลุ่ม 5) ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์ 1 ชุดต่อกลุ่ม 6) กระดาษขาว 1 แผ่นต่อกลุ่ม
  • 17. 9 5. วิธีศึกษาทดลอง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาการแพร่ของสารโดยปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอน ดังนี้ 1) ตวงน้าเย็น 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร ลงไปในบีกเกอร์ ขนาดกลาง 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 2) หย่อนเกล็ดด่างทับทิมหรือโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (KMnO4) จานวน 2 - 3 เกล็ดลง ไปในน้าเย็น สังเกตการเปลี่ยนแปลง 3) ตั้งทิ้งไว้ 5 นาที สังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผล 4) เตรียมน้าร้อนและน้าเย็นจานวน30ลูกบาศก์เซนติเมตร หย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงไป 2-3 เกล็ด ลงไปในน้าแต่ละชนิด เปรียบเทียบผลการเคลื่อนที่ของสารแล้วบันทึกผล ภาพที่ 3.9 ภาพการทดลองการแพร่ของด่างทับทิมในน้าร้อนและน้าเย็น (ที่มาของภาพ ปรับปรุงจาก : ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะและคณะ. 2545 : 19)
  • 18. 10 6. ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 1. หย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงในน้าเย็น 2. เมื่อตั้งทิ้งไว้ 5 นาที 3. หย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงในน้าร้อน 7. คาถามท้ายการทดลอง 1) เมื่อหย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงในน้าเย็น สีของน้าจะเริ่มเปลี่ยนแปลงอย่างไร ............................................................................................................................................................. 2) หลังจากหย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงในน้าเย็นแล้ว 5 นาที การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตเห็น คือ ............................................................................................................................................................. 3) เมื่อหย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงในน้าร้อนและน้าเย็นมีการเปลี่ยนแปลงแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 4) การเคลื่อนที่ของเกล็ดด่างทับทิมจากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปหาบริเวณที่มีความเข้มข้น ต่าเรียกว่า............................................................................................................................................. 5) การแพร่ของสารจะเกิดขึ้นเร็วหรือช้า ขึ้นอยู่กับปัจจัยใดบ้าง ............................................................................................................................................................. 6) จงยกตัวอย่างการแพร่ในชีวิตประจาวัน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 8. สรุปผลการศึกษา ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
  • 19. 11 ตอนที่ 2 เรื่อง การออสโมซิส 1. กาหนดปัญหา ................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................. 2. ตั้งสมมุติฐาน ................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3. ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม ของการศึกษาเรื่องนี้คืออะไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 4. อุปกรณ์ 1) น้าปริมาตร 100 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อกลุ่ม 2) น้าตาลทรายความเข้มข้น 40% โดยมีมวลต่อปริมาตร 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร (เตรียม โดย ชั่งน้าตาล 40 กรัม ละลายน้า 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร) 3) บีกเกอร์ จานวน 2 ใบ ต่อกลุ่ม 4) หลอดแก้วปลายเปิดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 เซนติเมตร จานวน 1 อันต่อกลุ่ม 5) กระดาษเซลโลเฟน ขนาด 15 X 15 เซนติเมตร จานวน 1 แผ่นต่อกลุ่ม 6) ขาตั้งพร้อมที่หนีบ จานวน 1 ชุด ต่อกลุ่ม 7) ยางรัด จานวน 1 เส้น 5. วิธีศึกษาทดลอง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาการออสโมซิส โดยปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอน ดังนี้ 1) นาแผ่นกระดาษเซลโลเฟนชุบน้าให้เปียก ทาเป็นถุงแล้วใส่ลงในบีกเกอร์ รินสารละลาย น้าตาลทรายความเข้มข้นลงไป 30 ลูกบาศก์ เซนติเมตร 2) จุ่มหลอดแก้วใส่ลงในถุงกระดาษเซลโลเฟน ลึก 3 เซนติเมตร ใช้ยางยืดมัดให้แน่น ระวังอย่างให้ มีฟองอากาศในถุง
  • 20. 12 3) นาถุงที่มัดแล้วในข้อ 2 จุ่มลงในบีกเกอร์ที่มี น้าบรรจุอยู่ โดยให้รอยยางรัดอยู่สูงกว่าระดับน้าใน บีกเกอร์ ดังรูป ทาเครื่องหมายแสดงระดับน้า ตั้งทิ้ง ไว้5 นาที สังเกตระดับของเหลวในหลอดแก้ว แล้ว บันทึกผล 4) รินน้าหมึกสีแดงลงในบีกเกอร์อีกใบหนึ่ง นาถุงกระดาษเซลโลเฟนในข้อ 4 จุ่มลงไป ตั้งทิ้งไว้ อีก 5 นาที สังเกตสีของสารละลายแล้ว บันทึก ผลการศึกษา ภาพที่ 3.10 ภาพขั้นตอนการทดลองการออสโมซิส (ที่มาของภาพ : ประดับ นาคแก้วและดาวัลย์ เสริมบุญสุข. 2551 : 47) 6. ตารางบันทึกผลการทดลอง ของเหลวที่ใช้แช่ถุงสารละลายน้าตาลทราย การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 1. แช่ในน้า 2. แช่ในน้าหมึกสีแดง 7. คาถามท้ายการทดลอง 1) เมื่อแช่ถุงกระดาษโซลโลเฟนที่มีสารละลายน้าตาลเข้มข้นลงในน้าและน้าหมึกสีแดง ระดับน้าในหลอดแก้วมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ............................................................................................................................................................ 2) การที่ระดับน้าในหลอดแก้วมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจาก ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
  • 21. 13 3) เมื่อเปรียบเทียบความเข้มข้นของน้าระหว่างภายในถุงกับภายนอกถุงกระดาษเซลโลเฟน บริเวณใดจะมีความเข้มข้นของน้ามากกว่า ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 4) น้าและน้าหมึกสีแดงมีการเคลื่อนที่เข้าหรือออกจากถุงกระดาษเซลโลเฟนอย่างไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 5) การเคลื่อนที่ของน้าผ่านเยื่อกระดาษเซลโลเฟนจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้ามาก ไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นของน้าน้อย เรียกว่า................................................................................ 6) ถ้าต้องการให้ระดับน้าในหลอดแก้วสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว นักเรียนคิดว่าควรทาอย่างไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 7) ถ้าเปลี่ยนน้าสีแดงให้อยู่ในถุงกระดาษเซลโลเฟนแทน โดยให้สารลายน้าตาลเข้มข้นอยู่ ข้างนอกถุง ระดับน้าในหลอดแก้วจะเป็นอย่างไร เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 8) ถ้าแช่ถุงสารละลายนี้ในสารละลายน้าตาลเหมือนกัน นักเรียนคิดว่าระดับน้าในหลอดแก้ว จะเป็นอย่างไร เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 9) ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อการดูดน้าของรากพืช ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 10) จงยกตัวอย่างการออสโมซิสในชีวิตประจาวัน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
  • 22. 14 8. สรุปผลการศึกษา ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 9. ถ้านักเรียนจะทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ที่นาหลักการแพร่ของสารและการออสโมซิส นักเรียนจะ ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องใดได้บ้าง ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. การใส่ปุ๋ ยให้แก่พืช อย่าใส่มากเกินไปนะครับ เมื่อใส่ปุ๋ ยแล้วให้รดน้าตามให้มาก ๆ นะครับ ไม่เช่นนั้นรากพืชจะเกิดการออสโมซิสน้า ออกจากลาต้นสู่ดิน ทาให้พืชเหี่ยว และตายได้นะครับ
  • 23. 16 แนวการตอบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ จุดประสงค์การเรียนรู้ เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ แล้วสามารถ 1. ทดลองและอธิบายกระบวนการของสารผ่านเข้าออกเซลล์ โดยการแพร่ได้ 2.ทดลองและอธิบายกระบวนการของสารผ่านเข้าออกเซลล์โดยการออสโมซิสได้ 3. อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่และการออสโมซิสได้ 4. ยกตัวอย่างการแพร่และการออสโมซิสในชีวิตประจาวันได้ 5. บอกชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักการแพร่และการออสโมซิสได้ คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 8 กลุ่ม ๆ ละ 5 คน โดยคละเพศและความสามารถ 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนรับอุปกรณ์การทดลองและชุดกิจกรรมที่ 3 แล้ว ทากิจกรรมที่ 3 ตอนที่ 1 และตอนที่ 2 แล้วตอบคาถามท้ายกิจกรรม ตอนที่ 1 เรื่อง การแพร่ของสาร 1. กาหนดปัญหา อุณหภูมิของน้ามีผลต่อการเคลื่อนที่ของเกล็ดด่างทับทิมหรือไม่ 2. ตั้งสมมุติฐาน เกล็ดด่างทับทิมมีการเคลื่อนที่ในน้าร้อนได้เร็วกว่าในน้าเย็น 3. ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม ของการศึกษาเรื่องนี้คืออะไร ตัวแปรต้น คือ น้าร้อนและน้าเย็น ตัวแปรตาม คือ ลักษณะการเคลื่อนที่ของเกล็ดด่างทับทิมในน้าทั้งสองชนิด ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณของด่างทับทิม , ปริมาตรของน้า , ขนาดของบีกเกอร์
  • 24. 17 4. อุปกรณ์ 1) น้าเย็น 30 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อกลุ่ม 2) เกล็ดด่างทับทิม 2 – 3 เกล็ดต่อกลุ่ม 3) บีกเกอร์ขนาด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 3 ใบ ต่อกลุ่ม 4) น้าอุ่น 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร ต่อกลุ่ม 5) ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์ ชุดต่อกลุ่ม 6) กระดาษขาว 1 แผ่นต่อกลุ่ม 5. วิธีศึกษาทดลอง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาการแพร่ของสารโดยปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอน ดังนี้ 1) ตวงน้าเย็น 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร ลงไปในบีกเกอร์ ขนาดกลาง 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 2) หย่อนเกล็ดด่างทับทิมหรือโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (KMnO4) จานวน 2 - 3 เกล็ดลง ไปในน้าเย็น สังเกตการเปลี่ยนแปลง 3) ตั้งทิ้งไว้ 5 นาที สังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผล 4) เตรียมน้าร้อนและน้าเย็นจานวน30ลูกบาศก์เซนติเมตร หย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงไป 2-3 เกล็ด ลงไปในน้าแต่ละชนิด เปรียบเทียบผลการเคลื่อนที่ของสารแล้วบันทึกผล ภาพที่ 30 ภาพการทดลองการแพร่ของด่างทับทิมในน้าร้อนและน้าเย็น (ที่มาภาพ ปรับปรุงจาก : ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะและคณะ. (2545). : 19)
  • 25. 18 6. ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 1. หย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงในน้าเย็น เกล็ดด่างทับทิมจะมีการเคลื่อนที่ช้า ๆ จากบริเวณที่มี ความเข้มข้นสูงไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นต่า 2. เมื่อตั้งทิ้งไว้ 5 นาที สารละลายจะเป็นสีม่วงทั้งหมด 3. หย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงในน้าร้อน เกล็ดด่างทับทิมจะมีการเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วจากบริเวณ ที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นต่า 7. คาถามท้ายการทดลอง 1) เมื่อหย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงในน้าเย็น สีของน้าจะเริ่มเปลี่ยนแปลงอย่างไร เกล็ดด่างทับทิมจะมีการเคลื่อนที่ช้า ๆ จากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่บริเวณที่มี ความเข้มข้นต่า 2) หลังจากหย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงในน้าเย็นแล้ว 5 นาที การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตเห็น คือ สารละลายจะเป็นสีม่วงทั้งหมด 3) เมื่อหย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงในน้าร้อนและน้าเย็นมีการเปลี่ยนแปลงแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ในน้าร้อนเกล็ดด่างทับทิมจะมีการเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว สารละลายจะเป็นสีม่วงได้เร็วกว่า ในน้าเย็น 4) การเคลื่อนที่ของเกล็ดด่างทับทิมจากบริเวณที่มีความเข้มสูงไปหาบริเวณที่มีความเข้มข้นต่า เรียกว่า การแพร่ของสาร 5) การแพร่ของสารจะเกิดขึ้นเร็วหรือช้า ขึ้นอยู่กับปัจจัยใดบ้าง อุณหภูมิของสาร ขนาดอนุภาคของสาร ความเข้มข้นของสาร ความสามารถในการละลาย ของสาร 6) จงยกตัวอย่างการแพร่ในชีวิตประจาวัน สารละลายจะเป็นสีม่วงทั้งหมด 8. สรุปผลการศึกษา การแพร่เป็นการเคลื่อนที่ของสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปหาบริเวณที่มีความเข้มข้นต่า ซึ่งการที่พืชสามารถรับธาตุอาหารทางรากได้นั้นเกิดจากกระบวนการแพร่ การแพร่จเกิดขึ้นช้าหรือ เร็วขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของสาร ขนาดอนุภาคของสาร ความเข้มข้นของสาร และความสามารถใน การละลายของสาร
  • 26. 19 ตอนที่ 2 เรื่อง การออสโมซิส 1. กาหนดปัญหา ถ้าน้าสีแดงที่อยู่ข้างนอกถุงสามารถเคลื่อนที่เข้าไปในถุงกระดาษเซลโลเฟนที่มีสารละลาย น้าตาลเข้มข้นอยู่ได้แล้ว ดังนั้นจะทาให้ปริมาตรของน้าในหลอดแก้วสูงขึ้น 2. ตั้งสมมุติฐาน ถ้าน้าและน้าสีแดงที่อยู่ข้างนอกถุงสามารถเคลื่อนที่เข้าไปในถุงกระดาษเซลโลเฟนที่มี สารละลายน้าตาลเข้มข้นอยู่ได้แล้ว ดังนั้นจะทาให้ปริมาตรของน้าในหลอดแก้วสูงขึ้นและมีสีแดง 3. ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม ของการศึกษาเรื่องนี้คืออะไร ตัวแปรต้น คือ สารละลายน้าตาลเข้มข้นในถุงกระดาษเซลโลเฟน และปริมาตรของน้าและ น้าสีแดงที่อยู่นอกถุงกระดาษเซลโลเฟน ตัวแปรตาม คือ การเคลื่อนที่ของน้าและน้าสีแดงที่อยู่นอกถุงผ่านกระดาษเซลโลเฟน ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาตรของสารละลายน้าตาลทราย เข้มข้น 40 %, ขนาดของกระดาษ เซลโลเฟน, ระยะเวลาการทดลอง, 4. อุปกรณ์ 1) น้าปริมาตร 100 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อกลุ่ม 2) น้าตาลทรายความเข้มข้น 40% โดยมมวลต่อปริมาตร 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร (เตรียม โดย ชั่งน้าตาล 40 กรัม ละลายน้า 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร) 3) บีกเกอร์ จานวน 2 ใบ ต่อกลุ่ม 4) หลอดแก้วปลายเปิดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 เซนติเมตร จานวน 1 อันต่อกลุ่ม 5) กระดาษเซลโลเฟน ขนาด 15 X 15 เซนติเมตร จานวน 1 แผ่นต่อกลุ่ม 6) ขาตั้งพร้อมที่หนีบ จานวน 1 ชุด ต่อกลุ่ม 7) ยางรัด จานวน 1 เส้น 5. วิธีศึกษาทดลอง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาการออสโมซิส โดยปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอน ดังนี้ 1) นาแผ่นกระดาษเซลโลเฟนชุบน้าให้เปียก ทาเป็นถุงแล้วใส่ลงในบีกเกอร์ รินสารละลาย น้าตาลทรายความเข้มข้นลงไป 30 ลูกบาศก์ เซนติเมตร
  • 27. 20 2) จุ่มหลอดแก้วใส่ลงในถุงกระดาษเซลโลเฟน ลึก 3 เซนติเมตร ใช้ยางยืดมัดให้แน่น ระวังอย่างให้ มีฟองอากาศในถุง 3) นาถุงที่มัดแล้วในข้อ 2 จุ่มลงในบีกเกอร์ที่มี น้าบรรจุอยู่ โดยให้รอยยางรัดอยู่สูงกว่าระดับน้าใน บีกเกอร์ ดังรูป ทาเครื่องหมายแสดงระดับน้า ตั้งทิ้ง ไว้5 นาที สังเกตระดับของเหลวในหลอดแก้ว แล้ว บันทึกผล 4) รินน้าหมึกสีแดงลงในบีกเกอร์อีกใบหนึ่ง นาถุงกระดาษเซลโลเฟนในข้อ 4 จุ่มลงไป ตั้งทิ้งไว้ อีก 5 นาที สังเกตสีของสารละลายแล้ว บันทึก ผลการศึกษา ภาพที่ 32 ภาพขั้นตอนการทดลองการออสโมซิส (ที่มาภาพ : ประดับ นาคแก้วและดาวัลย์ เสริมบุญสุข. (2551). : 47) 6. ตารางบันทึกผลการทดลอง ของเหลวที่ใช้แช่ถุงสารละลายน้าตาลทราย การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 1. แช่ในน้า ของเหลวที่อยู่ในหลอดแก้วสูงขึ้นจากเดิม 2. แช่ในน้าหมึกสีแดง ของเหลวในหลอดแก้วสูงขึ้นและมีสีแดง
  • 28. 21 7. คาถามท้ายการทดลอง 1) เมื่อแช่ถุงกระดาษโซลโลเฟนที่มีสารละลายน้าตาลเข้มข้นลงในน้าและในน้าหมึกสีแดง ระดับน้าในหลอดแก้วมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ระดับน้าในหลอดแก้วสูงขึ้นกว่าเดิมและเมื่อแช่ในน้าหมึกสีแดงน้าในหลอดแก้วสูงขึ้นและ มีแดง 2) การที่ระดับน้าในหลอดแก้วมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจาก น้าและน้าหมึกสีแดงสามารถเคลื่อนที่ผ่านกระดาษเซลโลเฟนเข้าไปข้างในถุงได้ 3) เมื่อเปรียบเทียบความเข้มข้นของน้าระหว่างภายในถุงกับภายนอกถุงกระดาษเซลโลเฟน บริเวณใดจะมีความเข้มข้นของน้ามากกว่า บริเวณข้างนอกถุงกระดาษเซลโลเฟนมีความเข้มข้นของน้าสูงกว่า 4) น้าและน้าหมึกสีแดงมีการเคลื่อนที่เข้าหรือออกจากถุงกระดาษเซลโลเฟน น้าและน้าหมึกสีแดงมีการเคลื่อนที่เข้าไปในถุงกระดาษเซลโลเฟน 5) การเคลื่อนที่ของน้าผ่านเยื่อกระดาษเซลโลเฟนจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้ามาก ไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นของน้าน้อย เรียกว่า การออสโมซิส 6) ถ้าต้องการให้ระดับน้าในหลอดแก้วสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว นักเรียนคิดว่าควรทาอย่างไร เพิ่มความเข้มข้นของสารละลายน้าตาลให้มีความเข้มข้นสูงขึ้น 7) ถ้าเปลี่ยนน้าสีแดงให้อยู่ในถุงกระดาษเซลโลเฟนแทน โดยให้สารลายน้าตาลเข้มข้นอยู่ ข้างนอกถุง ระดับน้าในหลอดแก้วจะเป็นอย่างไร เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ระดับน้าในหลอดแก้วจะลดลง เพราะน้าในถุงกระดาษเซลโลเฟนเคลื่อนที่ออกมานอกถุง 8) ถ้าแช่ถุงสารละลายนี้ในสารละลายน้าตาลเหมือนกัน นักเรียนคิดว่าระดับน้าในหลอดแก้ว จะเป็นอย่างไร เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ระดับน้าในหลอดแก้วจะไม่เปลี่ยนแปลง เพราะความเข้มข้นของน้าเท่ากัน 9) ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อการดูดน้าของรากพืช ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดน้าของรากพืชได้แก่ ปริมาณน้าในดิน ความเข้มข้นของสารละลาย ในดิน อุณหภูมิของดิน และการถ่ายเทอากาศในดิน 10) จงยกตัวอย่างการออสโมซิสในชีวิตประจาวัน ตัวอย่างการออสโมซิสในชีวิตประจาวัน เช่น การแช่ผักในน้าเพื่อป้ องกันผักเหี่ยว การดองหวาน ดองเค็ม การแช่อิ่มผลไม้ การทาไข่เค็ม การใช้โอเอซีสปักแจกันดอกไม้สด
  • 29. 22 8. สรุปผลการศึกษา การออสโมซิสเป็นการเคลื่อนที่ของน้าผ่านเยื่อเลือกผ่าน โดยแพร่จากบริเวณที่มี ความเข้มข้นของน้ามากไปหาบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้าน้อย ซึ่งการแพร่ของน้าในรากพืช เกิดจากน้าในดินออสโมซิสเข้าสู่รากพืชได้ เนื่องจากปริมาณของน้าดินสูงกว่าในลาต้นพืช 9. ถ้านักเรียนจะทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ที่นาหลักการแพร่ของสารและการออสโมซิส นักเรียนจะ ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องใดได้บ้าง 1) เรื่อง สารส้มชะลอความเหี่ยวของผัก 2) โอเอซิสจากกาบมะพร้าว 3) การทาไข่เค็มสมุนไพร 4) การศึกษาการฟอกสีไหมจากด่างเปลือกนุ่น
  • 30. 23 เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ข้อ รายการประเมิน ระดับคะแนน ตอนที่ 1 (13 คะแนน) 1 -3 ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นมากไม่มีส่วนผิด 1 ตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบ 0 4-5 ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและมีการบันทึกผลการทดลองครบทุกส่วน ไม่มีส่วนใดผิดหรือผิดไม่เกิน 1 รายการ 3 ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและมีการบันทึกผลการทดลองครบทุกส่วน ไม่มีส่วนใดผิดหรือผิดไม่เกิน 2 รายการ 2 ไม่ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและไม่มีการบันทึกผลการทดลองหรือ บันทึกผลการทดลองไม่ครบส่วนผิดมากกว่า 2 รายการ 1 7 (1- 6) ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นมากไม่มีส่วนผิด 1 ตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบ 0 8 สรุปผลการศึกษาได้ถูกต้องตรงตามผลการทดลอง 1 ไม่ได้สรุปผลการศึกษาหรือสรุปแต่ไม่ถูกต้อง 0
  • 31. 24 ข้อ รายการประเมิน ระดับคะแนน ตอนที่ 2 (17 คะแนน) 1 -3 ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นมากไม่มีส่วนผิด 1 ตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบ 0 4-5 ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและมีการบันทึกผลการทดลองครบทุกส่วน ไม่มีส่วนใดผิดหรือผิดไม่เกิน 1 รายการ 3 ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและมีการบันทึกผลการทดลองครบทุกส่วน ไม่มีส่วนใดผิดหรือผิดไม่เกิน 2 รายการ 2 ไม่ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและไม่มีการบันทึกผลการทดลองหรือ บันทึกผลการทดลองไม่ครบส่วนผิดมากกว่า 2 รายการ 1 7 (1- 10) ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นมากไม่มีส่วนผิด 1 ตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบ 0 8 สรุปผลการศึกษาได้ถูกต้องตรงตามผลการทดลอง 1 ไม่ได้สรุปผลการศึกษาหรือสรุปแต่ไม่ถูกต้อง 0 9 บอกชื่อโครงงานที่สอดคล้องกับการใช้หลักการแพร่และการออสโมซิส ได้1-2 ชื่อ 1 บอกชื่อโครงงานที่สอดคล้องกับการใช้หลักการแพร่และการออสโมซิส ไม่ได้หรือบอกไม่สอดคล้อง 0 รวมตอนที่ 1 และ 2 (13+17) = 30 คะแนน สรุปผลการประเมิน  ดีมาก (26 – 30 คะแนน)  ดี (21 –25 คะแนน)  ปานกลาง ( 16 – 20 คะแนน)  ผ่าน ( 11 – 15 คะแนน)  ต้องปรับปรุง (ต่ากว่า 11 คะแนน) ผู้ประเมิน ............................................ (............................................)
  • 32. 25 บรรณานุกรม กนก จันทร์ขจร และคณะ. (2533). วิทยาศาสตร์ ม.1. พิมพ์ครั้งที่ 5. นนทบุรี : ไทยร่วมเกล้า. กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : องค์การรับส่ง สินค้าและพัสดุภัณฑ์. . (2545). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. กฤษณีย์ ปิตุรัตน์. (2548). ผลการใช้ชุดฝึกเพื่อส่งเสริมความสามารถในการทาโครงงาน วิทยาศาสตร์ที่พัฒนามาจากภูมิปัญญาท้องถิ่นของนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. กุณฑรี เพชรทวีพรเดช และนิตยา บุญมี. (2548). วิทยาศาสตร์ ม.1. เล่ม 1. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์. เกริก ท่วมกลาง. (2546). แบบฝึกปฏิบัติการทาโครงงาน คู่มือการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ช่วงชั้นที่ 2 (ประถมศึกษาปีที่ 4- 6). : กรุงเทพฯ : สถาพรบุ๊คส์. จักฬพล สว่างอารมณ์. (2543). ผลการใช้ชุดกิจกรรมฝึกทาโครงงานวิทยาศาสตร์ที่มีต่อ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาบูรพา. ชาตรี เกิดธรรม. (2547). เทคนิคการสอนแบบโครงงาน. กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก. เตือนใจ ไชยโย. (2545). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความสามารถในการทา โครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการสอนโดยการใช้แบบฝึกคิดหัวข้อและ วางแผนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ถนัด ศรีบุญเรือง. (2549). วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 7. นนทบุรี : ไทยร่วมเกล้า. . (2551). วิทยาศาสตร์ ม.1. เล่ม 1. นนทบุรี : ไทยร่วมเกล้า. ถวัลย์ มาศจรัสและมณี เรืองขา. (2549). แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโครงงาน. กรุงเทพฯ : ดวงกมลสมัย.
  • 33. 26 บัญชา แสนทวี และคณะ. (2546). วิทยาศาสตร์ เล่ม 1 ช่วงชั้นที่ 3 ชั้น ม.1. กรุงเทพฯ : วัฒนาพาณิช. ประดับ นาคแก้ว และดาวัลย์ เสริมบุญสุข. (2551). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แม็ค . ปิ่นศักดิ์ ชุมเกษียน และปิยาณี สมคิด. (2545). วิทยาศาสตร์ 2 ช่วงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3). นนทบุรี : ไทยร่มเกล้า. พเยาว์ ยินดีสุข และคณะ. (2546). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ. พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2545). พฤติกรรมการสอนวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ (วพ)จากัด . (2551). การสอนคิดด้วยโครงงาน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พิมพ์พันธุ์ เดชะคุปต์ และคณะ. (2548). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพ วิชาการ. . (2550). สุดยอดคู่มือครูแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนา คุณภาพวิชาการ. พีระ พนาสุภน. (2551). แม็ค ม.ต้น. กรุงเทพฯ : ซีวีแอลการพิมพ์. โรงเรียนบ้านกาเกาะระโยง. (2551). แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2551. กลุ่มบริหารงานทั่วไป. . (2550). หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 2). ฝ่ายวิชาการ. ลิขิต ฉัตรสกุล และคณะ. (2533). วิทยาศาสตร์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : วัฒนาพาณิช. วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2550). นวัตกรรมตามแนวคิดแบบ Backward Design.กรุงเทพฯ : ช้างทอง. ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ. (2545). วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3). กรุงเทพฯ : นิยมวิทยา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2548). ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. สมพงศ์ จันทร์โพธิ์ศรี. (2549). โครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา. : กรุงเทพฯ : เจ้าพระยาระบบการพิมพ์.
  • 34.
  • 35. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางเอเดียน คุณาสิทธิ์ โรงเรียนบ้านกาเกาะระโยง อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1
  • 36. ข คานา ชุดกิจกรรมนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 23101 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง หน่วยของชีวิตและชีวิตพืช ซึ่งเป็นชุดกิจกรรมที่เน้นทักษะการทา โครงงานวิทยาศาสตร์ควบคู่กับการฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นักเรียนสามารถปฏิบัติ กิจกรรมได้ตามความสนใจ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้มี จานวน 8 ชุด เวลาเรียน 24 ชั่วโมง ดังนี้ 1. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ (เวลา 3 ชั่วโมง) 2. ชุดกิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์ (เวลา 3 ชั่วโมง) 3. ชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (เวลา 3 ชั่วโมง) 4. ชุดกิจกรรมที่ 4 เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (เวลา 3 ชั่วโมง) 5. ชุดกิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช (เวลา 3 ชั่วโมง) 6. ชุดกิจกรรมที่ 6 เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของพืช (เวลา 3 ชั่วโมง) 7. ชุดกิจกรรมที่ 7 เรื่อง การเจริญเติบโตและการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช(เวลา3ชั่วโมง) 8. ชุดกิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช (เวลา 3 ชั่วโมง) ชุดกิจกรรมนี้เป็นชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ในการใช้ ชุดกิจกรรมให้นักเรียนปฏิบัติตามคาชี้แจงของชุดกิจกรรมแต่ละชุดอย่างละเอียดโดยปฏิบัติกิจกรรม ตามลาดับที่ของชุดกิจกรรม
  • 37. ค สารบัญ เรื่อง หน้า ปก ............................................................................................................................................ ก คานา......................................................................................................................................... ข สารบัญ..................................................................................................................................... ค สารบัญภาพประกอบ..................................................................................................................ง ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ...................................................................................... จ คาชี้แจงสาหรับครู .....................................................................................................................ฉ คาชี้แจงสาหรับนักเรียน..................................................................................................................ช แผนผังการจัดกลุ่มการเรียน........................................................................................................... ซ ชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์....................................................1 ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์.............................................................2 กิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์.............................................................9 ตอนที่ 1 เรื่อง การแพร่ของสาร...................................................................................9 ตอนที่ 2 เรื่อง การออสโมซิส..................................................................................12 แนวการตอบกิจกรรมที่ 3...............................................................................................................16 เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 3..................................................................................................23 บรรณานุกรม..................................................................................................................................25