SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 81
Descargar para leer sin conexión
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 1
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 2
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564
ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1
เสนอ
สานักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงใหม่
โดย
ดร.กรวรรณ สังขกร
มีนาคม 2559
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 3
คานา
“แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปี พ.ศ.2560 – 2564 ของกลุ่มจังหวัด
ภาคเหนือตอนบน 1” เป็นการนาเสนอการวิเคราะห์แผนแม่บทและประเด็นยุทธศาสตร์
นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับการจัดทาแผนฯ กลยุทธ์และแนวทางการพัฒนา รวมถึง
แผนงาน/โครงการของแผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปี พ.ศ.2560-2564 ในภาคเหนือ
ตอนบน 1 ซึ่งประกอบด้วยจังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดลาปาง จังหวัดลาพูน และจังหวัด
แม่ฮ่องสอน ซึ่งผลการศึกษามี 3 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 บทนา
ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของ
กลุ่มภาคเหนือตอนบน 1
ส่วนที่ 3 แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปี พ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มภาคเหนือ
ตอนบน 1
ผู้จัดทาหวังว่า แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปี พ.ศ.2560-2564 ของกลุ่ม
ภาคเหนือตอนบน 1 นี้จะเป็นประโยชน์ต่อการดาเนินโครงการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ Long Stay
เพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบ Long Stay ในภาคเหนือตอนบน 1 ให้ยั่งยืน และสร้างรายได้
ให้แก่กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 ต่อไป
ดร.กรวรรณ สังขกร
มีนาคม 2559
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 4
สารบัญ
หน้า
ส่วนที่ 1 บทนา
หลักการและเหตุผล 1
1.1 วัตถุประสงค์ 2
1.2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2
ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564
ของกลุ่มภาคเหนือตอนบน 1
2.1 นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับการแผนพัฒนาธุรกิจ Long Stay 3
2.2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 19
2.3 การวิเคราะห์ปัญหาการพัฒนาธุรกิจ Long Stay 28
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1
ส่วนที่ 3 แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของภาคเหนือตอนบน 1
3.1 วิสัยทัศน์ 30
3.2 พันธกิจ 30
3.3 จุดมุ่งหมายการพัฒนา 31
3.4 ประเด็นยุทธศาสตร์ 31
3.5 รายละเอียดของประเด็นยุทธศาสตร์ 32
3.6 กลยุทธ์และแนวทางการพัฒนา 34
3.7 แผนงาน/โครงการ 57
เอกสารอ้างอิง
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 1
ส่วนที่ 1
บทนา
1.1 หลักการและเหตุผล
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 เชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง แม่ฮ่องสอน มีศักยภาพ
ทางด้านการท่องเที่ยวทั้งทางด้านวัฒนธรรม, แหล่งท่องเที่ยวต่างๆ เป็นศูนย์กลาง
ทางด้านเศรษฐกิจ การคมนาคม การศึกษา รวมถึงอัธยาศัยของคนในพื้นที่ ถือว่าเป็นจุดแข็ง
ของกลุ่มจังหวัดฯ และมีนักท่องเที่ยวแบบ Long Stay โดยเฉพาะชาวญี่ปุ่นมาพานักอาศัย
กว่า 4,000 คน
นอกจากนั้นยังมีกลุ่มผู้สูงอายุจากสหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย เยอรมัน
แคนนาดา เนเธอร์แลนด์ และประเทศอื่นๆ สนใจมาพานักในจังหวัดเชียงใหม่และใกล้เคียง
โดยรายได้ของชาวต่างประเทศที่มาพานักในจังหวัดเชียงใหม่จะอยู่ในช่วง 75,000 – 100,000
บาทต่อคนต่อเดือน
ดังนั้น จะเห็นได้ว่ากลุ่มชาวต่างประเทศทั้งชาวญี่ปุ่นที่เป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก และ
ชาวตะวันตกมีความสนใจที่จะมาพานักระยะยาวในภาคเหนือตอนบนสูง ซึ่งมีส่วนสาคัญ
ที่จะกระตุ้นเศรษฐกิจฃภาคการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัดฯ การดาเนินโครงการ Long Stay
อย่างต่อเนื่องจะช่วยเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการในพื้นที่ให้สามารถเข้าใจ
ตลาดการท่องเที่ยวแบบ Long Stay มากยิ่งขึ้น แต่ยังขาดการประชาสัมพันธ์ ขาดการรวมกลุ่ม
ระหว่างผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจท่องเที่ยว ยังขาดการทาการประชาสัมพันธ์
ไปยังกลุ่มตลาดเฉพาะ โดยเฉพาะตลาดชาวญี่ปุ่นและชาติต่างๆ ส่วนใหญ่ยังไม่ได้
รับข้อมูลข่าวสารที่ดีพอ ทาให้การพัฒนาการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัด ยังขาดความชัดเจน
ผู้ประกอบการต่างคนต่างมีแนวทางในการดาเนินธุรกิจในแนวทางของตนเอง รวมถึงยัง
ขาดการรับข้อมูลเกี่ยวกับการท่องเที่ยว เพื่อมากาหนดนโยบายการทางานยังมีไม่เพียงพอ
หรือไม่ทันกับสถานการณ์ในปัจจุบัน
ดังนั้น กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 จึงเห็นความสาคัญในการจัดโครงการส่งเสริม
การตลาด Long Stay เจาะกลุ่มตลาดใหม่ เพื่อเป็นการดาเนินโครงการต่อเนื่อง และแสดงถึง
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 2
ศักยภาพทางด้านการท่องเที่ยว และธุรกิจบริการด้านสุขภาพและพร้อมผลักดันให้กลุ่มจังหวัด
ภาคเหนือตอนบน 1 เป็นศูนย์กลางธุรกิจเกี่ยวกับ Long Stay ของประเทศไทย
รองรับนักท่องเที่ยวที่มีศักยภาพในหลายภูมิภาคที่เป็นกลุ่มเป้าหมายใหม่ต่อไป
1.2 วัตถุประสงค์
1. ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดทาแผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay
ปีพ.ศ.2560-2564 ของภาคเหนือตอนบน 1
2. จัดทาแผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1
1.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาและจัดสรรงบประมาณอุดหนุน เพื่อพัฒนาแผนแม่บท
พัฒนาธุรกิจ Long Stay กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 ในระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560 – 2564)
2. เพื่อเป็นเครื่องมือในการช่วยเสริมสร้างศักยภาพ และการวางแผนพัฒนา
ธุรกิจ Long Stay กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1
3. เพื่อเป็นเครื่องมือในการติดตามและประเมินผล ตลอดจนฐานข้อมูลด้าน
การพัฒนาธุรกิจ Long Stay กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 3
ส่วนที่ 2
การวิเคราะห์แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564
ของกลุ่มภาคเหนือตอนบน 1
การจัดทาแผนแม่บทจาเป็นต้องคานึงถึงบริบทต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว
เพื่อให้ประเทศชาติสามารถพัฒนาไปได้อย่างต่อเนื่องในทิศทางที่เหมาะสม ดังนั้น การจัดทา
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 ให้มีความเหมาะสม
สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาประเทศและท้องถิ่น จึงจาเป็นต้องคานึงถึงกรอบและ
กาหนดการพัฒนาในระดับต่างๆ ให้มีความสอดคล้องกัน ดังนี้
2.1 นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้อง
 แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559
(กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา)
การแข่งขันในภาคอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวมีแนวโน้มการแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น
ทุกประเทศต่างก็ให้ความสาคัญกับการลงทุนและพัฒนาด้านการท่องเที่ยวเพื่อสร้างรายได้
ให้ประเทศ ประกอบกับบริบทที่เปลี่ยนไป ทั้งสถานการณ์และปัจจัยเสี่ยงด้านการท่องเที่ยว
ที่นับวันจะมีความซับซ้อน รุนแรง และเปลี่ยนแปลงเร็วขึ้น จึงมีความจาเป็นต้องแสวงหา
แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย โดยกาหนดวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ เป้าหมาย พันธกิจ
และยุทธศาสตร์การพัฒนา ดังนี้
วิสัยทัศน์
“ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ มีขีดความสามารถในการแข่งขัน
ด้านการท่องเที่ยวในระดับโลก สามารถสร้างรายได้และกระจายรายได้ โดยคานึงถึง
ความเป็นธรรม สมดุล และยั่งยืน”
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 4
เป้าประสงค์
1. ขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทยเพิ่มขึ้น
2. รายได้จากการท่องเที่ยวของประเทศเพิ่มขึ้น โดยเน้นการพัฒนากิจกรรม
ที่สร้างมูลค่าและคุณค่า
3. สร้างรายได้และกระจายรายได้โดยคานึงถึงความสมดุลและยั่งยืน
เป้าหมาย
1. อันดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทย
เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 5 อันดับ หรือเป็นลาดับ 1-7 ของทวีปเอเซีย
1.1 อันดับขีดความสามารถด้านกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องด้านการท่องเที่ยว
เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 5 อันดับ หรือเป็นลาดับ 1-7 ของทวีปเอเซีย
1.2 อันดับขีดความสามารถด้านสภาวะแวดล้อมและสิ่งอานวยความสะดวก
ด้านการดาเนินธุรกิจเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 5 อันดับ หรือเป็นลาดับที่ 1-7 ของทวีปเอเซีย
1.3 อันดับขีดความสามารถของทรัพยากรมนุษย์ ธรรมชาติ และวัฒนธรรม
เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 5 อันดับ หรือเป็นลาดับที่ 1-7 ของทวีปเอเซีย
2. รายได้จากการท่องเที่ยวของประเทศเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 5
3. กลุ่มท่องเที่ยวได้รับการพัฒนา 8 กลุ่มท่องเที่ยว
พันธกิจ
1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยว ตลอดจน
ปัจจัยสนับสนุนด้านการท่องเที่ยว ให้มีคุณภาพและมาตรฐานในระดับสากล
2. พัฒนาและฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวให้มีศักยภาพ มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน
สร้างความสมดุลระหว่างการใช้ประโยชน์ทรัพยากรท่องเที่ยวควบคู่ไปกับการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมสังคม และวิถีชีวิตของชุมชน
3. เตรียมความพร้อมของภาคบริการและปัจจัยสนับสนุนการท่องเที่ยวให้มีความพร้อม
ในการรองรับการเปลี่ยนแปลง และมีบทบาทสาคัญในการขับเคลื่อนและฟื้นฟูเศรษฐกิจ
ของประเทศ
4. สร้างความเชื่อมั่นและส่งเสริมการท่องเที่ยว ให้สามารถสร้างรายได้ให้แก่ประเทศ
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 5
5. บูรณาการงานด้านการท่องเที่ยวให้มีเอกภาพ ลดความซ้าซ้อนของภารกิจ
สร้างกลไกในการสนับสนุนการพัฒนาการท่องเที่ยว และการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วม
จากทุกภาคส่วน
ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559
เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์ และเป้าประสงค์ ของแผนพัฒนา
การท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555–2559 จึงได้กาหนดยุทธศาสตร์ออกเป็น 5 ยุทธศาสตร์
ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวก
เพื่อการท่องเที่ยว การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยว
มีส่วนสาคัญในการแก้ไขปัญหาและข้อจากัดในด้านการท่องเที่ยวที่อาจส่งผลให้ศักยภาพ
การท่องเที่ยวของประเทศไทยลดลง โครงสร้างพื้นฐานเหล่านี้ ได้แก่ ระบบโลจิสติกส์
ที่เชื่อมโยงการท่องเที่ยวทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ และรวมถึงสิ่งอานวย
ความสะดวกพื้นฐานที่อาจเป็นอุปสรรคสาคัญต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย โดยมี
แนวทางการพัฒนา ดังนี้คือ
1. พัฒนาและปรับปรุงระบบโลจิสติกส์ เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยว
2. พัฒนาและปรับปรุงสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยว
3. สร้างโครงข่ายเส้นทางคมนาคมและระบบเชื่อมโยงการเดินทางท่องเที่ยว
กับประเทศเพื่อนบ้านและในภูมิภาค
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาและฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน การขยายตัว
ของการท่องเที่ยวโดยเน้นปริมาณนักท่องเที่ยวหรือการแสวงหารายได้จากการท่องเที่ยว
ในขณะที่การรองรับขยายไปไม่ทัน ทาให้แหล่งท่องเที่ยวของไทยมีความเสื่อมโทรม
ยุทธศาสตร์จึงให้ความสาคัญกับการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยว
อย่างมีทิศทาง ไม่ทาลายทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม และเอกลักษณ์ของชาติ โดยคานึงถึง
ขีดความสามารถในการรองรับของแหล่งท่องเที่ยว เพื่อป้องกันการใช้ประโยชน์มากเกินไป
การกาหนดมาตรการในการแก้ไขกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ให้แหล่งท่องเที่ยวของไทย
สามารถมีศักยภาพในการรองรับนักท่องเที่ยว โดยมีแนวทางการพัฒนา ดังนี้คือ
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 6
1. พัฒนายกระดับคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวใหม่ในเชิงกลุ่มพื้นที่ที่มีศักยภาพ
2. การฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยว
3. การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานของแหล่งท่องเที่ยว
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาสินค้า บริการและปัจจัยสนับสนุนการท่องเที่ยว มุ่งเน้น
การพัฒนาสินค้าและบริการท่องเที่ยวให้มีมาตรฐานอย่างต่อเนื่องครบวงจร ความพร้อมของ
ภาคบริการและการท่องเที่ยว แม้ได้รับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจโลก และความไม่สงบ
ภายในประเทศ แต่มีบทบาทสาคัญในการขับเคลื่อนและฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศ
ประเทศไทยยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวต่างประเทศ และ
มีโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยว เช่น โรงแรมและสปาที่มีมาตรฐานสูง บริการท่องเที่ยว
เชิงสุขภาพขยายตัวอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ได้มีบทบาทมากขึ้น
ในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โดยมีแนวทางการพัฒนา ดังนี้คือ
1. การพัฒ นาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ กิจกรรม นวัตกรรมและมูลค่าเพิ่ม
ด้านการท่องเที่ยว
2. การเสริมสร้างโอกาสและแรงจูงใจเพื่อพัฒนาการค้า การลงทุนด้านการท่องเที่ยว
3. การพัฒนามาตรฐานสินค้า และบริการท่องเที่ยว
4. การป้องกันและรักษาความปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยว
5. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการท่องเที่ยวให้มีขีดความสามารถในการแข่งขัน
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างความเชื่อมั่นและส่งเสริมการท่องเที่ยว มุ่งเน้นให้
นักท่องเที่ยวรับรู้และเข้าใจในภาพลักษณ์ที่ดีของประเทศ สร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักท่องเที่ยว
ในการเดินทางมาท่องเที่ยวประเทศไทย โดยการดาเนินการตลาดเชิงรุก เพื่อประมูลสิทธิ์
ในการจัดงานระดับโลก/ภูมิภาคเพื่อเพิ่มจานวนนักท่องเที่ยวเข้าประเทศ จัดงานแสดงต่างๆ
(Event) เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวในประเทศไทยให้เป็นที่รู้จัก
ของนักท่องเที่ยวไทยผ่านสื่อต่างๆ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้นักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาท่องเที่ยว
ในประเทศไทยมากขึ้นมีการใช้จ่ายมากขึ้น โดยมีแนวทางการพัฒนา ดังนี้คือ
1. สร้างและเผยแพร่ภาพลักษณ์ด้านการท่องเที่ยว
2. สร้างสภาพแวดล้อมและพัฒนาระบบสนับสนุนการตลาดท่องเที่ยว
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 7
3. ส่งเสริมการท่องเที่ยว เพื่อสร้างรายได้เข้าประเทศจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ
4. สร้างกระแสการรับรู้ เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าการท่องเที่ยว
5. การสร้างกระแสการเดินทางของนักท่องเที่ยวชาวไทย
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคประชาชน และ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว โครงสร้าง
การบริหารจัดการด้านการท่องเที่ยวยังขาดความเชื่อมโยงระหว่างท้องถิ่น จังหวัด กลุ่มจังหวัด
และประเทศ ขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน ภาคเอกชน และการปกครองส่วนท้องถิ่น
ขณะที่หน่วยงานระดับพื้นที่ เช่น จังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และชุมชน
ขาดความรู้ด้านการจัดการ ภูมิทัศน์และการวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวการพัฒนากลไก
ในการบริหารจัดการด้านการท่องเที่ยวจึงเป็นแนวทางในการบูรณาการการทางานร่วมกัน
การกาหนดภารกิจขอบเขตของงานการพัฒนาให้ชัดเจน กาหนดรูปแบบการพัฒนา
การท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับพื้นที่สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างครบวงจร
โดยมีแนวทางการพัฒนา ดังนี้คือ
1. การสร้างและพัฒนากลไกในการบริหารจัดการการท่องเที่ยว
2. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ในการพัฒนาการท่องเที่ยว
จากแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 จะเห็นได้ว่ายุทศาสตร์
การพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 ได้มุ่นเน้นการพัฒนาใน 5 ประเด็น คือ
1) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยว การพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยว 2) การพัฒนาและฟื้นฟู
แหล่งท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน 3) การพัฒนาสินค้า บริการและปัจจัยสนับสนุน
การท่องเที่ยว มุ่งเน้นการพัฒนาสินค้าและบริการการท่องเที่ยวให้มีมาตรฐานอย่างต่อเนื่อง
ครบวงจร 4) การสร้างความเชื่อมั่นและส่งเสริมการท่องเที่ยว และ 5) การส่งเสริม
กระบวนการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคประชาชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ในการบริหารจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว ซึ่งจะเห็นได้ว่าทั้ง 5 ประเด็นการพัฒนานั้น
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 8
เน้นการส่งเสริมให้การท่องเที่ยวในประเทศไทยสามารถแข่งขันได้ในระบบสากล รวมทั้ง
ยังเอื้อประโยชน์แก่การท่องเที่ยวทุกประเภท รวมทั้งการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาวด้วย
และถ้ามีการพัฒนาทั้ง 5 ประเด็น อย่างเป็นรูปธรรมจะเกิดการหลั่งไหลของนักท่องเที่ยวเข้ามา
ในประเทศไทยจานวนมากโดยเฉพาะนักท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว
 ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2558 – 2560
(กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา)
การกาหนดทิศทางการพัฒนาการท่องเที่ยวไทยในระยะ 3 ปี (พ.ศ.2558-2560)
จึงต้องให้ความสาคัญกับการสร้างความสมดุลของการพัฒนาทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และ
สิ่งแวดล้อม เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายการเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน ภายใต้ภารกิจ
ที่จะต้องดาเนินการควบคู่และเกื้อหนุนกันไปทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านการส่งเสริมตลาด
ด้านการพัฒนาสินค้าและบริการและด้านการบริหารจัดการท่องเที่ยว โดยกาหนดวิสัยทัศน์
เป้าหมาย พันธกิจ และยุทธศาสตร์การพัฒนาไว้ดังนี้
วิสัยทัศน์
“วางรากฐานการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวให้ประเทศไทย เป็นแหล่งท่องเที่ยว
คุณภาพอย่างมีดุลยภาพและยั่งยืน”
เป้าหมาย
1. ในปี 2560 ประเทศไทยมีรายได้จากการท่องเที่ยว 2.5 ล้านล้านบาท และเป็น
แหล่งกระจายรายได้สู่ท้องถิ่น
2. สังคมไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และชุมชนมีความเข้มแข็ง
3. ทุกภาคส่วนมีจิตสานึกในการพัฒนาโดยคานึงถึงความสมดุลและยั่งยืน
พันธกิจ
1. กระตุ้นตลาดท่องเที่ยวคุณภาพให้ได้ตามเป้าหมาย
2. พัฒนาสินค้าและบริการให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดและชุมชน
3. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการการท่องเที่ยว โดยมุ่งเน้นการทางาน
เชิงบูรณาการเชื่อมโยงระดับชาติ ภูมิภาค และท้องถิ่น
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 9
ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2558 – 2560
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การส่งเสริมตลาดท่องเที่ยว มีเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ 3 ประเด็น
ดังนี้
1. ปรับภาพลักษณ์ประเทศไทยในใต้แบรนด์ Amazing Thailand (Rebranding) ยกระดับ
ตาแหน่งทางการตลาด (Positioning) จากการเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีความหลากหลายและ
คุ้มค่า (Variety and Value for Money Destination) สู่การเป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพ
(Quality Leisure Destination)
2. ปรับโครงสร้างตลาด (Market Restructuring) โดยขยายฐานนักท่องเที่ยว
กลุ่ม High Value ซึ่งเป็นนักท่องเที่ยวระดับกลาง-บน ใช้จ่ายสูงมีพฤติกรรมเหมาะสมกับ
วัฒนธรรมไทย สนใจเรียนรู้ และสร้างผลกระทบต่อประเทศไทยต่า ให้การเติบโตของรายได้
เกิดจากการเติบโตของการใช้จ่ายมากกว่าจานวนนักท่องเที่ยว
3. ปรับสมดุลระหว่างอุปสงค์อุปทาน (Rebalancing) ให้เกิดความสมดุลระหว่าง
เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมเพื่อมุ่งสู่ความยั่งยืน มุ่งการกระจายจังหวัดท่องเที่ยว และ
การกระจายรายได้สู่จังหวัดท่องเที่ยวศักยภาพรอง สร้างโอกาสให้ประชาชนไทย
ได้เดินทางท่องเที่ยวเพื่อให้เกิดความรักความภูมิใจในความเป็นไทย ตลอดจนเกิดความผูกพัน
ในครอบครัวและหมู่คณะ อันจะเป็นการสร้างรากฐานอันเข้มแข็งของสังคม และส่งเสริม
การท่องเที่ยวอย่างสอดคล้องกับขีดความสามารถในการรองรับของแหล่งท่องเที่ยว
เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาสินค้าและบริการท่องเที่ยว ความท้าทายของการพัฒนา
สินค้าและบริการท่องเที่ยว คือ จะทาอย่างไรให้สินค้าและบริการท่องเที่ยวของไทยมีคุณภาพ
ได้มาตรฐานระดับสากล เพื่อรองรับจานวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นได้ โดยไม่ทาลาย
ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ เพิ่มคุณค่าและมูลค่าสินค้าและบริการท่องเที่ยว กระจายรายได้
สู่เกษตรกร และท้องถิ่น และยังคงอัตลักษณ์ของชุมชน ดังนั้น การจัดทายุทธศาสตร์ในด้านนี้
จึงมุ่งเน้นการบูรณาการการทางานร่วมกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ
ด้านการท่องเที่ยวอย่างสร้างสรรค์ โดยในระยะเร่งด่วนนี้จะให้ความสาคัญในการเร่งพัฒนา
เชิงพื้นที่ การพัฒนาสินค้าและบริการรายสาขาเพื่อพัฒนาสินค้าและบริการใหม่ๆ ให้สอดคล้อง
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 10
กับศักยภาพของพื้นที่เพื่อรองรับกลุ่มนักท่องเที่ยวคุณภาพ การเร่งพัฒนาสิ่งอานวย
ความสะดวก โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ที่สาคัญอีกประการคือ ปัญหาด้านความปลอดภัย
การเอาเปรียบ หรือหลอกลวงนักท่องเที่ยว การช่วยเหลือนักท่องเที่ยวในสภาวะวิกฤติ
ปัจจัยเหล่านี้ล้วนเป็นความท้าทายด้านการพัฒนาสินค้าและบริการท่องเที่ยวที่จะสร้าง
ความเชื่อมั่นและความประทับใจแก่นักท่องเที่ยวที่มาท่องเที่ยวประเทศไทยและเกิดการเที่ยวซ้า
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริหารจัดการการท่องเที่ยว ต้องมีการกาหนดกลยุทธ์และ
แนวทางในการขับเคลื่อนการท่องเที่ยว เพื่อแก้ไขปัญหาในด้านต่างๆ ดังกล่าว โดยการ
บูรณาการระหว่างภาครัฐภาคเอกชน และภาคประชาคม ผ่านกลไกการดาเนินงานตั้งแต่
ระดับนโยบายจนถึงระดับปฏิบัติ มีการพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยวในทุกระดับ
พัฒนาระบบข้อมูลและกฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง นับเป็นสิ่งสาคัญในการขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย ซึ่งจาเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากภาคีการพัฒนาทั้งสามฝ่าย
โดยเฉพาะบทบาทการมีส่วนร่วมของภาคประชาคมและภาคเอกชนในท้องถิ่น เนื่องจาก
ท้ายที่สุดแล้วประชาชนที่เป็นเจ้าของทรัพยากรจะเป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด
จากแผนการพัฒนาของยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2558 – 2560
จะเห็นได้ว่า การกาหนดทิศทางการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย พ.ศ.2558-2560 ได้เน้น
การให้ความสาคัญกับการสร้างความสมดุลของการพัฒนาทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และ
สิ่งแวดล้อม เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายการเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน ภายใต้ภารกิจ
ที่จะต้องดาเนินการควบคู่และเกื้อหนุนกันไปทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านการส่งเสริมตลาด
ด้านการพัฒนาสินค้าและบริการและด้านการบริหารจัดการท่องเที่ยว ซึ่งภารกิจทั้ง 3 ด้าน
ที่มีการเร่งพัฒนานั้นจะเป็นประเด็นเอื้อให้เกิดความสามารถในการแข่งขันการท่องเที่ยว
ในระดับสากล รวมทั้งการแข่งขันทางด้านการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว พร้อมทั้ง
ยังเน้นการบริหารจัดการ ซึ่งจะเกิดการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างเป็นระบบและยั่งยืนต่อไป
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 11
 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาและส่งเสริมธุรกิจการท่องเที่ยวแบบพานักระยะ
ยาวของประเทศไทย พ.ศ.2554 – 2560 (กรมการท่องเที่ยว)
การจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาและส่งเสริมธุรกิจการท่องเที่ยวแบบพานัก
ระยะยาวของประเทศไทย พ.ศ.2554 – 2560 ได้ครอบคลุมกลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนา
และส่งเสริมธุรกิจการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว ได้แก่ การเพิ่มคุณภาพสินค้าและ
การบริการการท่องเที่ยว การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่ม
การส่งเสริมและกระตุ้นการบริหารจัดการการตลาดท่องเที่ยว การพัฒนาและเตรียม
ความพร้อมด้านบุคลากรทางการท่องเที่ยว และการพัฒนาระบบมาตรฐานความปลอดภัย
แก่นักท่องเที่ยว โดยมีรายละเอียดดังนี้คือ
วิสัยทัศน์
“พานักระยะยาว เพื่อการเรียนรู้และใช้ชีวิตอย่างไทย” (Thailand long stay for life –
long learning and Thai life - style)
พันธกิจ
1. มุ่งสู่มาตรฐานคุณภาพบริการ
2. กลไกบริหารแบบบูรณาการอย่างมีส่วนร่วมที่มีประสิทธิภาพสูง
3. ยึดกลุ่มเป้าหมายการตลาดคุ้มค่า
4. ก้าวไกลบนฐานทรัพยากรที่สมดุล
5. ส่งเสริมระบบความปลอดภัย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาและส่งเสริมธุรกิจการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว
ของประเทศไทย พ.ศ.2554 – 2560
ยุทธศาสตร์ที่ 1 เพิ่มคุณภาพสินค้าและบริการการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว
การเพิ่มคุณภาพสินค้าและบริการการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว อาศัยการ
จัดแหล่งท่องเที่ยว สถานที่พักและบริการ กิจกรรมการท่องเที่ยว ระบบโครงข่ายคมนาคม
ที่เชื่อมโยง อาหารปลอดภัย และสิ่งอานวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยว มีความจาเป็นจะต้อง
มีการพัฒนา และส่งเสริมพัฒนามาตรฐานคุณภาพของสถานประกอบการที่เกี่ยวเนื่อง และ
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 12
สนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในด้านมาตรฐานคุณภาพ อาทิ มาตรฐาน
ด้านความสะอาดและคุณภาพของธุรกิจอาหาร มาตรฐานด้านการบริการขนส่งสาธารณะ โดย
อาศัยความร่วมมือกับภาคเอกชนในการพัฒนามาตรฐานด้านคุณภาพของสินค้าและบริการ
ให้เป็นที่ประทับใจแก่นักท่องเที่ยวทุกระดับ รวมทั้งการพัฒนาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ให้สวยงามและดารงเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่ม
ต่อการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว สนับสนุนการนาภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมท้องถิ่น
มาใช้ในการสร้างสรรค์คุณค่าของสินค้าและบริการที่มีโอกาสทางการตลาดสูง เช่น
อาหารสุขภาพ หัตถกรรม บริการสุขภาพ บริการการท่องเที่ยว เป็นต้น โดยรักษาคุณค่า
เอกลักษณ์ของท้องถิ่นอย่างเข้มแข็งเมื่อนาภูมิปัญญา และวัฒนธรรมท้องถิ่นไปต่อยอด
ขยายผลในเชิงพาณิชย์ โดยการจัดกิจกรรมส่งเสริมงานด้านศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และ
งานเทศกาลระดับโลก อาทิ งานเทศกาลวันวิสาขบูชาโลก งานเทศกาลลอยกระทง
งานเทศกาลสงกรานต์ งานเทศกาลอาหารโลก งานเทศกาลปีใหม่ ฯลฯ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนากลไกการบริหารจัดการการท่องเที่ยวแบบพานัก
ระยะยาว
จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545 – 2549)
การกระจายอานาจการคลังและการบริหารส่วนท้องถิ่น เปิดโอกาสให้เกิดการพัฒนาศักยภาพ
การปกครองท้องถิ่นในระยะยาว ทาให้องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) และองค์การ
บริหารส่วนตาบล (อบต.) มีอานาจหน้าที่ในการดูแลแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ได้มากขึ้น จึงมี
ความจาเป็นที่จะต้องให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้บริหารท้องถิ่นในการวางแผนและการจัดการ
การท่องเที่ยวให้มีมาตรฐานเป็นที่พึงพอใจของนักท่องเที่ยว และสามารถอนุรักษ์
แหล่งท่องเที่ยวไว้ได้อย่างยั่งยืนในเวลาเดียวกัน ปัจจุบันประเทศไทยมี อบจ. 75 แห่ง และมี
อบต.ทั้งสิ้น 6,746 แห่ง
ดังนั้น การเสริมสร้างขีดความสามารถและองค์ความรู้ขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เป็นภาคีหลัก
ในการอนุรักษ์ฟื้นฟูและจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมร่วมกับชุมชนและภาคี
ที่เกี่ยวข้อง เพื่อบริหารจัดการการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว เช่น การจัดการป่าและ
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 13
พื้นที่อนุรักษ์ การจัดการลุ่มน้า การจัดการและฟื้นฟูป่าชายเลน การจัดการการท่องเที่ยว
เชิงอนุรักษ์ในท้องถิ่น เป็นต้น โดยมีการใช้และแบ่งปันผลประโยชน์ร่วมกันอย่างยุติธรรม และ
ส่งเสริมให้มีการจัดตั้งคณะอนุกรรมการการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาวแห่งชาติ
เพื่อกาหนดทิศทาง กลั่นกรองนโยบายและผลักดันมาตรการสู่การปฏิบัติ กระตุ้นและส่งเสริม
การทางานเชิงเครือข่ายแบบบูรณาการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรับรอง
มาตรฐานหลักสูตรพิเศษระยะสั้น อาทิ หลักสูตรมวยไทย หลักสูตรดาน้า หลักสูตรอาหารไทย
ฯลฯ สร้างระบบการขอหนังสือ VISA เพื่ออานวยความสะดวกต่อนักท่องเที่ยวแบบพานัก
ระยะยาว โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มนักเรียน นักศึกษา และส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้
ระหว่างองค์กร/กลไกที่เกี่ยวข้องสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ รวมทั้งส่งเสริมการสร้าง
ความแข้มแข็งของกลไกท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาวผ่านการวิจัยแบบมีส่วนร่วม
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การส่งเสริมและกระตุ้นการบริหารจัดการการตลาดท่องเที่ยว
แบบพานักระยะยาวแบบบูรณาการเชิงรุกตรงกลุ่มเป้าหมาย
การเคลื่อนย้ายของคนอย่างเสรี ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการขนส่ง การคมนาคม
ที่สะดวกและรวดเร็วส่งผลให้มีการเดินทางทั้งเพื่อการท่องเที่ยวและการทาธุรกิจในที่ต่างๆ
ทั่วโลก ประชากรวัยเรียนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรมระหว่างประเทศมากขึ้น
พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงด้านประชากรในสังคม ประเทศที่พัฒนาแล้วหลายประเทศกาลัง
เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และประเทศไทยจะมีโอกาสมากขึ้นในการขยายตลาดสินค้าเพื่อสุขภาพ
และการให้บริการด้านอาหารสุขภาพ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและแพทย์พื้นบ้าน สถานที่ท่องเที่ยว
และการพักผ่อนระยะยาวของผู้สูงอายุ จึงนับเป็นโอกาสในการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น
ของไทยและนามาสร้างมูลค่าเพิ่ม ซึ่งจะเป็นสินทรัพย์ทางปัญญาที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจได้
ดังนั้น การส่งเสริมการดาเนินกิจกรรมด้านการตลาดเพื่อเจาะกลุ่มนักเรียน นักศึกษา
ให้เป็นตลาดเป้าหมายหลักและกลุ่มผู้สูงอายุเป็นกลุ่มตลาดเป้าหมายรอง ดาเนินกลยุทธ์
การตลาดเชิงรุกบนฐานคุณภาพของทรัพยากรและคุณภาพการบริการ กระตุ้นและ
สร้างภาพลักษณ์การท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาวของไทยเพื่อสร้างการท่องเที่ยวทางเลือก
และจูงใจในการตัดสินใจ ส่งเสริมกลยุทธ์การตลาดที่สอดคล้องกับฐานทรัพยากรการท่องเที่ยว
พัฒนาสาระที่น่าสนใจ (Creative content) ให้แก่จังหวัดที่เป็นแหล่งพานักของนักท่องเที่ยว
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 14
ให้กว้างขวางและลึกซึ้งยิ่งขึ้น และปรับปรุงข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวประเภทหลายรส
(Combination package) เพื่อสร้างการท่องเที่ยวทางเลือกและจูงใจในการตัดสินใจ
เพื่อกระตุ้นให้เกิดการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว นอกจากนี้ ควรเร่งสร้างศูนย์บริการ
ข้อมูลท่องเที่ยวครบวงจร (One Stop Service) รวมทั้ง การท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว
ผ่านเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่บูรณาการเครือข่ายธุรกิจการท่องเที่ยวแบบพานัก
ระยะยาว และเร่งสร้างระบบฐานข้อมูลนักท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาวของประเทศ
เพื่อใช้วางแผน การบริหารจัดการ ติดตามและส่งเสริมการตลาด เร่งรัดให้มีมาตรฐาน
ด้านราคาของสินค้าและบริการที่สร้างทั้งการเพิ่มคุณค่าและมูลค่า
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาและเตรียมความพร้อมด้านบุคลากรทางการท่องเที่ยว
แบบพานักระยะยาว
การเร่งรัดพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน ชุมชนให้มีความเข้าใจและ
มีศักยภาพในการบริหารการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาวได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งศักยภาพ
ด้านภาษาต่างประเทศ การดูแลสุขภาพ อาหารปลอดภัย การดูแลสิ่งแวดล้อม การจัดกิจกรรม
การท่องเที่ยว การดูแลผู้สูงอายุ เร่งบูรณาการการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาวของไทย
สู่หลักสูตรการเรียนการสอน สร้างทัศนคติเชิงบวกของภาคี โดยเฉพาะอย่างยิ่งประชาชน
ในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยว สร้างรูปแบบการพัฒนาบุคลากร ส่งเสริมการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม
ของคนไทยและนักท่องเที่ยวเพื่อสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างกัน กาหนดสมรรถนะหลักของ
ผู้ให้บริการด้านการท่องเที่ยวให้มีจิตบริการและสามารถให้บริการแบบมืออาชีพ นอกจากนี้
การพัฒนามาตรการรักษาซึ่งความเป็นมิตรระหว่างนักท่องเที่ยว ผู้ให้บริการ และประชาชน
ในพื้นที่ทุกภาคส่วน อาทิ ผู้ประกอบการ มัคคุเทศก์ แท็กซี่ รถสามล้อ ผู้ประกอบการเดินเรือ
การขนส่งสาธารณะ ผู้ค้าขายในตลาด รถเช่า และอาสาสมัครพิทักษ์นักท่องเที่ยว
ให้คอยช่วยเหลือนักท่องเที่ยวตามสถานที่ต่างๆ มีส่วนสาคัญในการผลักดันยุทธศาสตร์
ด้านบุคลากรให้มีความพร้อม
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบมาตรฐานความปลอดภัยเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว
แบบพานักระยะยาว
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 15
ระบบมาตรฐานความปลอดภัยของการท่องเที่ยวมีส่วนสาคัญที่ทาให้นักท่องเที่ยว
มีความมั่นใจในการพานักในประเทศไทยนานวันขึ้นหรือเป็นการพานักระยะยาว
ระบบมาตรฐานความปลอดภัยจะเกิดขึ้นได้จาเป็นต้องมีการพัฒนาช่องทางประสานงาน
เครือข่ายชุมชนและอาสาสมัคร การสร้างขวัญและกาลังใจให้กับตารวจท่องเที่ยว
สร้างมาตรฐานความปลอดภัย ส่งเสริมการท่องเที่ยว แบบพานักระยะยาวให้ตรงกับ
กลุ่มเป้าหมายทางการตลาด สร้างมาตรฐานการให้บริการสุขภาพด้านการท่องเที่ยวแบบ
พานักระยะยาว อาทิ การตรวจสุขภาพ การรับแจ้งเหตุ ข้อมูลสุขภาพของนักท่องเที่ยว
ระบบการส่งต่อ ส่งเสริมให้ภาคีที่เกี่ยวข้องมีความรู้ในการแจ้งเหตุ และช่วยเหลือเบื้องต้น
แก่นักท่องเที่ยว
นอกจากนี้ การจัดสิ่งอานวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยว เช่น การปรับปรุงข้อมูล
ด้านการท่องเที่ยวที่จาเป็นสาหรับการเลือกตัดสินใจเพื่อเดินทางต่อเนื่องไปกับเส้นทาง
การท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว มีการปรับปรุงป้ายสัญลักษณ์ ป้ายบอกทางที่สื่อความเข้าใจ
ได้ง่าย ทันสมัย และมีรูปแบบที่น่าสนใจดึงดูดนักท่องเที่ยว รวมทั้ง สื่อสารด้วยช่องทางต่างๆ
ได้แก่ สื่อโทรทัศน์ วิทยุชุมชน สื่อสิ่งพิมพ์ แผนที่ เว็บไซต์ ตู้ทัชสกรีน เพื่อให้นักท่องเที่ยวเข้าถึง
ข้อมูลข่าวสารด้านการท่องเที่ยวง่ายและสะดวกมากขึ้น
จากข้อมูลการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาและส่งเสริมธุรกิจการท่องเที่ยว
แบบพานักระยะยาวของประเทศไทย พ.ศ.2554 – 2560 ซึ่งเน้นการขับเคลื่อนการพัฒนาและ
ส่งเสริมธุรกิจการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว ใน 5 ประเด็นหลักๆ คือ 1) การเพิ่ม
คุณภาพสินค้าและการบริการการท่องเที่ยว 2) การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเพื่อสร้างคุณค่าและ
มูลค่าเพิ่ม 3) การส่งเสริมและกระตุ้นการบริหารจัดการการตลาดท่องเที่ยว 4) การพัฒนาและ
เตรียมความพร้อมด้านบุคลากรทางการท่องเที่ยว และ 5) การพัฒนาระบบมาตรฐาน
ความปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยว จะเห็นได้ว่าเป็นการเน้นการพัฒนาในทุกมิติของการท่องเที่ยว
แบบพานักระยะยาว เนื่องจากยุทธศาสตร์การพัฒนานี้ไม่ได้เน้นเพียงแค่การท่องเที่ยว
แบบพานักระยะยาวเท่านั้น ยังมุ่งประเด็นไปที่การพัฒนาทรัพยากรทางการท่องเที่ยว
โดยเฉพาะแหล่งท่องเที่ยว ทาให้ยุทธศาสตร์การพัฒนานี้จะเป็นแนวทางที่สาคัญในการ
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 16
จะนามาเป็นกรอบในการจัดทาแผนแม่ บ ทการพั ฒ นาธุรกิจ Long Stay ของ
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 ต่อไป
 แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 พ.ศ.2557-2560
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 (เชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง แม่ฮ่องสอน) ได้มีการ
ทบทวน แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 พ.ศ.2557-
2560 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดเป็นแผนที่มุ่งเน้นการพัฒนาด้าน
เศรษฐกิจและสังคมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของกลุ่มจังหวัดและนาไปสู่การ
กระตุ้นให้เกิด การลงทุนของภาคเอกชน และสร้างรายได้ให้กลุ่มจังหวัด โดยคานึงถึงความ
สอดคล้องเชื่อมโยงกับนโยบายของรัฐบาลแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกรอบ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค รวมถึงยุทธศาสตร์รายสาขา รวมทั้งความสอดคล้องกับศักยภาพ
โอกาส สภาพปัญหา และความต้องการของประชาชนในพื้นที่ และการจัดทาแผนพัฒนา
จังหวัด และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดได้ ผ่านกระบวนการเห็นชอบร่วมกัน และเป็น
ที่ยอมรับของ ทุกภาคส่วน
ทิศทางการพัฒนา
1) อนุรักษ์ฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาล้านนา เพื่อสร้างเสน่ห์ให้แก่
การท่องเที่ยว และฐานเศรษฐกิจที่มีการนาเอาภูมิปัญ ญาและวัฒนธรรมมาใช้
ในการสร้างคุณค่า โดยเฉพาะงานหัตถกรรมทั้งในรูปแบบสินค้าของที่ระลึกของตกแต่งบ้าน
เครื่องแต่งกาย อาคารสถาปัตยกรรมต่างๆ ที่มีอัตตลักษณ์
2) ทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะป่าไม้และน้า เพื่อคืนความอุดมสมบูรณ์ ป้องกัน
การชะล้างพังทลายของดิน ป้องกันและแก้ปัญหาอุทกภัย และภัยแล้ง เน้นการสร้างฝายชะลอ
ความชุ่มชื้น ปลูกพืชเพื่ออนุรักษ์ดินและน้า การแก้ไขปัญหาหมอกควัน
3) พัฒนาบริการพื้นฐานของเมืองและสิ่งแวดล้อมเมือง เพื่อรองรับการขยายตัว
ของเมือง เน้นการวางแผนแม่บทการบริหารจัดการเมืองศูนย์กลางความเจริญและพัฒนา
ระบบขนส่งมวลชน ระบบกาจัดขยะ ระบบบาบัดน้าเสียในเชียงใหม่-ลาพูน ดูแลรักษา
ด้านมลพิษและมลภาวะและมีระบบบริหารจัดการมลภาวะเขตเมือง
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 17
4) พัฒนาโครงข่ายการคมนาคม ระบบโลจิสติกส์ (Logistics) และ สิ่งอานวย
ความสะดวกทางการค้าการลงทุน เน้นเชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมขนส่งของเมือง และ
โครงข่ายระหว่างจังหวัดภายในกลุ่ม (Cluster Road) สู่ภูมิภาค เพื่อให้เกิดประโยชน์
ต่อการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ การท่องเที่ยว การค้าและบริการและพื้นที่แหล่งผลิต
ทางการเกษตร รวมถึงการสนับสนุนการขยายเขตประกอบอุตสาหกรรมในพื้นที่ลาพูน และ
การพัฒนาสถานีขนส่งผู้โดยสารและขนส่งสินค้า
5) สร้างมูลค่าเพิ่มของภาคการผลิตและบริการ โดยใช้ฐานความคิดสร้างสรรค์
ผสมผสานกับคุณค่าของธรรมชาติ สังคม และศิลปวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์ของล้านนา
รวมทั้ง ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับฐานเศรษฐกิจเดิม เกษตร ท่องเที่ยว
หัตถอุตสาหกรรม อุตสาหกรรม แปรรูปผลิตผลเกษตร และสร้างฐานเศรษฐกิจใหม่
อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ และธุรกิจบริการสุขภาพ สปา บริการทางการแพทย์ และบริการ
ทางการศึกษา อุตสาหกรรมการจัดประชุมและนิทรรศการ (MICE)
6) ด้านการค้าชายแดน ควรใช้ประโยชน์จากการที่กลุ่มจังหวัดมีพื้นที่ชายแดน
ที่มีโอกาสบริเวณจังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้แก่ ด่านห้วยต้นนุ่น และบริเวณจังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่
ด่านกิ่วผาวอก ด่านหลักแต่ง เป็นต้น โดยการค้าชายแดนบริเวณดังกล่าวยังสามารถเติบโตได้
เนื่องจากการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยกลุ่มจังหวัดจะต้องมีการปรับตัวในหลาย
ด้าน เช่น กระบวนการผ่านแดน การปรับลด/ยกเลิกภาษี การพัฒนาการขนส่ง การพัฒนาด้าน
การบริหารจัดการโลจิสติกส์และการพัฒนาด้านภาษา เพื่อการสื่อสาร เป็นต้น ซึ่งจะช่วย
สนับสนุนการค้าชายแดนให้มีมูลค่าการค้าสูงขึ้น นอกจากนั้นการเปิดประเทศของ
สหภาพเมียนมาร์จะดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติให้เข้าไปลงทุนในสหภาพเมียนมาร์มากขึ้น ซึ่ง
ความต้องการสินค้าที่ใช้ในการก่อสร้างและสินค้าที่เกี่ยวข้องอื่นๆ คาดว่าจะสูงขึ้น ซึ่งจะเป็น
ปัจจัยสนับสนุนการค้าการลงทุนของกลุ่มจังหวัดมากขึ้น
วิสัยทัศน์กลุ่มจังหวัด
“ศูนย์กลางการท่องเที่ยว การค้า การลงทุน สู่สากล โดดเด่นวัฒนธรรมล้านนา
สังคมน่าอยู่ ทุกถิ่นที่”
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 18
ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 พ.ศ.2557-2560
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมการฟื้นฟูและอนุรักษ์แบบองค์รวม เพื่อสร้างสรรค์
บรรยากาศที่สวยงาม มีเสน่ห์
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมการสร้างสรรค์สินค้าและบริการให้โดดเด่นและมีคุณค่า
มุ่งเน้นเกษตรมูลค่าเพิ่ม ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ หัตถอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ศิลปวัฒนธรรม
การท่องเที่ยว
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับการพัฒนาการค้าการลงทุน มุ่งเน้นอุตสาหกรรมสุขภาพ
อุตสาหกรรมการจัดประชุมและนิทรรศการ (MICE) อุตสาหกรรมบริการการศึกษา
อุตสาห ก รรม เก ษ ตรและอาห ารฮาลาล และก ารค้าชายแดน เพื่ อรองรับ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC ) และภูมิภาคต่างๆ
จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่า แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1
พ.ศ.2557-2560 ได้ให้ความสาคัญกับการพัฒนาด้านการท่องเที่ยว คือ 1) อนุรักษ์ฟื้นฟู
ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาล้านนา เพื่อสร้างเสน่ห์ให้แก่การท่องเที่ยว
และการนาเอาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมมาใช้ในการสร้างคุณค่าโดยเฉพาะงานหัตถกรรม
ทั้งในรูปแบบสินค้าของที่ระลึกของตกแต่งบ้าน เครื่องแต่งกาย อาคารสถาปัตยกรรมต่างๆ
ที่มีอัตตลักษณ์ พร้อมทั้งมุ่งเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มของภาคการผลิตและบริการ โดยใช้
ฐานความคิดสร้างสรรค์ผสมผสานกับคุณค่าของธรรมชาติ สังคม และศิลปวัฒนธรรมที่มี
เอกลักษณ์ของล้านนา รวมทั้ง ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับการท่องเที่ยว
และสร้างฐานเศรษฐกิจใหม่ ธุรกิจบริการสุขภาพ สปา บริการทางการแพทย์ และบริการ
ทางการศึกษา อุตสาหกรรมการจัดประชุมและนิทรรศการ (MICE) ซึ่งจะเห็นได้ว่า
แผนการพัฒนาดังกล่าวเอื้อประโยชน์และสนับสนุนการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาวในพื้นที่
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 อย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาจุดขายที่สาคัญของ
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 19
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนลน 1 นั่นคือ เอกลักษณ์ของวัฒนธรรมล้านนา รวมทั้งยังส่งเสริม
กิจกรรมการท่องเที่ยวที่จะดึงดูดนักท่องเที่ยวให่มาพานักระยะยาวในพื้นที่ด้วย
2.2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
 นิยามความหมายการพานักระยะยาว
- กระทรวงการต่างประเทศ ได้ให้ความหมายการพานักระยะยาว หมายถึง
นักท่องเที่ยวที่พานักอยู่ในเมืองไทยเกิน 90 วันขึ้นไป และได้วีซ่า O-A1
- สานักธุรกิจบริการ กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ ได้ให้ความหมาย
การพานักระยะยาว หมายถึง ธุรกิจบริการเพื่อสุขภาพระยะยาว ( long-stay and health care )
เป็นการให้บริการร่วมกันระหว่างโรงพยาบาล รีสอร์ท โรงแรมตามสถานที่พักผ่อนทั่วประเทศ
โดยใช้บริการด้านสุขภาพเป็นจุดขาย ให้บริการพักผ่อนระยะยาวพร้อมทั้งบริการด้านสุขภาพ
อย่างครบวงจร ทั้งนี้เพื่อให้บริการแก่กลุ่มลูกค้าเป้าหมายผู้สูงอายุชาวต่างประเทศที่ต้องการ
เข้ามาพักผ่อนแบบพานักระยะยาวนี้เป็นลักษณะการไปพานักในต่างประเทศ ซึ่ง
ไม่ได้หมายความถึงการไปอยู่อาศัยเป็นการถาวรในประเทศนั้นๆ กลุ่มลูกค้าเป้าหมายผู้สูงอายุ
หรือวัยเกษียณอายุ ซึ่งส่วนใหญ่ประสบความสาเร็จในชีวิตการทางาน แล้วมีกาลังซื้อสูง
จะสามารถเดินทางออกนอกประเทศเป็นเวลานานๆ ได้ และต้องการหลบเลี่ยงอากาศหนาวจัด
ในฤดูหนาวมาพักในประเทศที่อบอุ่นกว่า มีสิ่งแวดล้อมที่ดี มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม
ประเพณีกับประชาชนในท้องถิ่น มีการท่องเที่ยวเปลี่ยนบรรยากาศเป็นครั้งคราว รวมทั้ง
ต้องการความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เมื่อเจ็บป่วยก็ได้รับการดูแลรักษา
อย่างมีมาตรฐาน
- การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ให้คาจากัดความของนักท่องเที่ยวที่พานักระยะยาว
ว่าหมายถึง นักท่องเที่ยวที่พานักอยู่ในเมืองไทยเกิน 30 วันขึ้นไป โดยจาแนกเป็น 4 ประเภทคือ
1) นักท่องเที่ยวพานักระยะยาวโดยเฉพาะฤดูหนาว รวมทั้งผู้ที่มารักษาสุขภาพในเมืองไทย
1 Non-Immigrant Visa รหัส “O-A” (Long Stay) เป็นการตรวจลงตราสาหรับคนต่างชาติซึ่งมีอายุไม่ต่ากว่า 50 ปี
บริบูรณ์ ซึ่งประสงค์จะเดินทางเข้าประเทศไทยเพื่อพักผ่อน โดยจะได้รับอนุญาตให้พานักในราชอาณาจักรได้ไม่เกิน 1 ปี
นับตั้งแต่วันที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร และไม่ได้รับอนุญาตให้ทางานในระหว่างที่พานักในประเทศไทย
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 20
เป็นครั้งคราว 2) นักท่องเที่ยวกลุ่มหลังเกษียณที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป โดยเน้นกลุ่มที่มีสุขภาพดี
และช่วยเหลือตนเองได้ 3) กลุ่มนักเรียนและนักศึกษาที่มาศึกษาภายในประเทศไทย และ
4) กลุ่มนักกีฬาที่เข้ามาเก็บตัวฝึกซ้อมในประเทศไทย
- คณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวพานักระยะยาวแห่งชาติ ได้กาหนด
นิยามของการพานักระยะยาวไว้ว่า เป็นนักท่องเที่ยวที่มีวันพักตั้งแต่ 1 เดือนขึ้นไป
โดยในระยะแรกจะเน้กลุ่มนักท่องเที่ยวที่เกษียณอายุการทางานแล้วที่ต้องการเดินทาง
มาใช้ชีวิต
 แนวคิดเกี่ยวกับ Long Stay
การท่องเที่ยวแบบ Long Stay นั้นมีมานานแล้ว โดยเกิดขึ้นจากประชากร
ในประเทศตะวันตกและประชากรในประเทศพัฒนาแล้ว ประชากรผู้มีรายได้ดีเหล่านี้
จะแสวงหาความสุขให้ตัวเองด้วยการไปท่องเที่ยวในต่างถิ่น ทั้งในประเทศตนเองและ
ต่างประเทศ โดยใช้ระยะเวลายาวนานและนิยมไปกันเป็นกลุ่ม โดยจัดรูปแบบเป็นชมรม (club)
แต่พวกที่นิยมไปแบบอิสระเป็นบุคคลก็มีอยู่บ้าง การเดินทางไปท่องเที่ยวระยะยาวนานนั้น
จะมีวัตถุประสงค์เจาะจงชัดเจน
ในระยะหลัง ๆ นี้ความหมายของ Long Stay ได้มีการพัฒนาไปสู่การท่องเที่ยว
หลากหลายรูปแบบที่เป็นการพักอาศัยนานวันแต่ก็ยังคงยึด แนวคิดหลักอันเดิม คือ
การมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนเพื่อการใดการหนึ่งโดยเฉพาะ ดังนั้นการท่องเที่ยวแบบ Long Stay
จึงได้มีความหมายกว้างขวางในปัจจุบันครอบคลุมถึงการท่องเที่ยวในรูปแบบต่าง ๆ
ที่มิใช่ไปเที่ยวแบบทั่วไปแต่เป็นการไปพักอาศัยชั่วคราว ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการหนึ่งการใด
โดยเฉพาะ สาหรับระยะเวลานั้นขึ้นอยู่กับกิจกรรมตามวัตถุประสงค์
จากแนวคิดดังกล่าวนี้ทาให้ได้กาหนดประเภทของการท่องเที่ยวแบบ Long Stay
สาหรับชาวต่างชาติที่เข้ามาพานักในประเทศไทยตามวัตถุประสงค์ที่เข้ามาได้ 4 กลุ่มหลัก ดังนี้
ประเภทที่ 1 กลุ่มที่ต้องการเข้ามาใช้บั้นปลายชีวิตในการท่องเที่ยว ได้แก่ ผู้เกษียณ
อายุการทางาน ผู้สูงอายุที่ขาดผู้ดูแล
ประเภทที่ 2 กลุ่มที่เข้ามาเพื่อรักษาสุขภาพ ได้แก่ ผู้ที่เข้ามารักษาพยาบาลและพักฟื้น
ผู้ที่ต้องการหลบสภาพอากาศที่รุนแรงในประเทศของตนบางช่วง เช่น ร้อนจัด หนาวจัด
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Limpiemos el salvador 01 11-11 peq
Limpiemos el salvador 01 11-11 peqLimpiemos el salvador 01 11-11 peq
Limpiemos el salvador 01 11-11 peqfundemas
 
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourismการท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourismChaloempond Chantong
 
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต FURD_RSU
 
Cẩm nang dưỡng sinh thông kinh lạc
Cẩm nang dưỡng sinh thông kinh lạcCẩm nang dưỡng sinh thông kinh lạc
Cẩm nang dưỡng sinh thông kinh lạcLittle Daisy
 
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษา
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษาครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษา
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษาKrungao1
 
Chuyên Đề Phòng Chống Tai Nạn Thương Tích Cho Học Sinh
Chuyên Đề Phòng Chống Tai Nạn Thương Tích Cho Học Sinh Chuyên Đề Phòng Chống Tai Nạn Thương Tích Cho Học Sinh
Chuyên Đề Phòng Chống Tai Nạn Thương Tích Cho Học Sinh nataliej4
 
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
แบบสอบถาม  ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41แบบสอบถาม  ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41สำเร็จ นางสีคุณ
 
Làng nghề trong phát triển kinh tế xã hội nông thôn ở tỉnh vĩnh phúc luận v...
Làng nghề trong phát triển kinh tế xã hội nông thôn ở tỉnh vĩnh phúc   luận v...Làng nghề trong phát triển kinh tế xã hội nông thôn ở tỉnh vĩnh phúc   luận v...
Làng nghề trong phát triển kinh tế xã hội nông thôn ở tỉnh vĩnh phúc luận v...jackjohn45
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานพัน พัน
 
3 เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน (ใบความรู้)
3 เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน (ใบความรู้)3 เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน (ใบความรู้)
3 เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน (ใบความรู้)phatrinn555
 
Báo cáo đánh giá thực hiện chương trình mục tiêu y tế quốc gia (CTMTYTQG) 2015
Báo cáo đánh giá thực hiện chương trình mục tiêu y tế quốc gia (CTMTYTQG) 2015 Báo cáo đánh giá thực hiện chương trình mục tiêu y tế quốc gia (CTMTYTQG) 2015
Báo cáo đánh giá thực hiện chương trình mục tiêu y tế quốc gia (CTMTYTQG) 2015 Nguyen Khue
 
Khảo sát tình hình sử dụng thuốc ở bệnh nhân đái tháo đường tuýp 2 điều trị n...
Khảo sát tình hình sử dụng thuốc ở bệnh nhân đái tháo đường tuýp 2 điều trị n...Khảo sát tình hình sử dụng thuốc ở bệnh nhân đái tháo đường tuýp 2 điều trị n...
Khảo sát tình hình sử dụng thuốc ở bệnh nhân đái tháo đường tuýp 2 điều trị n...Man_Ebook
 
Dân số và giáo dục
Dân số và giáo dụcDân số và giáo dục
Dân số và giáo dụcreckka123
 
Khái niệm về truyền thông giáo dục sức khỏe & nâng cao sức khỏe - PGS.TS.Trịn...
Khái niệm về truyền thông giáo dục sức khỏe & nâng cao sức khỏe - PGS.TS.Trịn...Khái niệm về truyền thông giáo dục sức khỏe & nâng cao sức khỏe - PGS.TS.Trịn...
Khái niệm về truyền thông giáo dục sức khỏe & nâng cao sức khỏe - PGS.TS.Trịn...VuKirikou
 
โครงงานประเทศเกาหลีใต้
โครงงานประเทศเกาหลีใต้โครงงานประเทศเกาหลีใต้
โครงงานประเทศเกาหลีใต้Supisara Jaibaan
 

La actualidad más candente (20)

Limpiemos el salvador 01 11-11 peq
Limpiemos el salvador 01 11-11 peqLimpiemos el salvador 01 11-11 peq
Limpiemos el salvador 01 11-11 peq
 
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourismการท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
 
Luận văn: Quản lý hoạt động du lịch ở thành phố Đà Nẵng, HAY
Luận văn: Quản lý hoạt động du lịch ở thành phố Đà Nẵng, HAYLuận văn: Quản lý hoạt động du lịch ở thành phố Đà Nẵng, HAY
Luận văn: Quản lý hoạt động du lịch ở thành phố Đà Nẵng, HAY
 
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
 
Cẩm nang dưỡng sinh thông kinh lạc
Cẩm nang dưỡng sinh thông kinh lạcCẩm nang dưỡng sinh thông kinh lạc
Cẩm nang dưỡng sinh thông kinh lạc
 
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษา
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษาครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษา
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษา
 
Luận án: Giáo dục tư tưởng đạo đức Hồ Chí Minh trong xây dựng lối sống cho si...
Luận án: Giáo dục tư tưởng đạo đức Hồ Chí Minh trong xây dựng lối sống cho si...Luận án: Giáo dục tư tưởng đạo đức Hồ Chí Minh trong xây dựng lối sống cho si...
Luận án: Giáo dục tư tưởng đạo đức Hồ Chí Minh trong xây dựng lối sống cho si...
 
Chuyên Đề Phòng Chống Tai Nạn Thương Tích Cho Học Sinh
Chuyên Đề Phòng Chống Tai Nạn Thương Tích Cho Học Sinh Chuyên Đề Phòng Chống Tai Nạn Thương Tích Cho Học Sinh
Chuyên Đề Phòng Chống Tai Nạn Thương Tích Cho Học Sinh
 
Luận văn: Phát triển nguồn nhân lực y tế tại tỉnh Vĩnh Phúc, HAY
Luận văn: Phát triển nguồn nhân lực y tế tại tỉnh Vĩnh Phúc, HAYLuận văn: Phát triển nguồn nhân lực y tế tại tỉnh Vĩnh Phúc, HAY
Luận văn: Phát triển nguồn nhân lực y tế tại tỉnh Vĩnh Phúc, HAY
 
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
แบบสอบถาม  ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41แบบสอบถาม  ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
 
Làng nghề trong phát triển kinh tế xã hội nông thôn ở tỉnh vĩnh phúc luận v...
Làng nghề trong phát triển kinh tế xã hội nông thôn ở tỉnh vĩnh phúc   luận v...Làng nghề trong phát triển kinh tế xã hội nông thôn ở tỉnh vĩnh phúc   luận v...
Làng nghề trong phát triển kinh tế xã hội nông thôn ở tỉnh vĩnh phúc luận v...
 
Chăm sóc Nhiễm khuẩn hô hấp cấp tính ở trẻ dưới 5 tuổi của bà mẹ
Chăm sóc Nhiễm khuẩn hô hấp cấp tính ở trẻ dưới 5 tuổi của bà mẹChăm sóc Nhiễm khuẩn hô hấp cấp tính ở trẻ dưới 5 tuổi của bà mẹ
Chăm sóc Nhiễm khuẩn hô hấp cấp tính ở trẻ dưới 5 tuổi của bà mẹ
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน
 
3 เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน (ใบความรู้)
3 เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน (ใบความรู้)3 เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน (ใบความรู้)
3 เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน (ใบความรู้)
 
Báo cáo đánh giá thực hiện chương trình mục tiêu y tế quốc gia (CTMTYTQG) 2015
Báo cáo đánh giá thực hiện chương trình mục tiêu y tế quốc gia (CTMTYTQG) 2015 Báo cáo đánh giá thực hiện chương trình mục tiêu y tế quốc gia (CTMTYTQG) 2015
Báo cáo đánh giá thực hiện chương trình mục tiêu y tế quốc gia (CTMTYTQG) 2015
 
Bài Thu Hoạch Nghiên Cứu Thực Tế Phát Triển Du Lịch Ninh Thuận.doc
Bài Thu Hoạch Nghiên Cứu Thực Tế Phát Triển Du Lịch Ninh Thuận.docBài Thu Hoạch Nghiên Cứu Thực Tế Phát Triển Du Lịch Ninh Thuận.doc
Bài Thu Hoạch Nghiên Cứu Thực Tế Phát Triển Du Lịch Ninh Thuận.doc
 
Khảo sát tình hình sử dụng thuốc ở bệnh nhân đái tháo đường tuýp 2 điều trị n...
Khảo sát tình hình sử dụng thuốc ở bệnh nhân đái tháo đường tuýp 2 điều trị n...Khảo sát tình hình sử dụng thuốc ở bệnh nhân đái tháo đường tuýp 2 điều trị n...
Khảo sát tình hình sử dụng thuốc ở bệnh nhân đái tháo đường tuýp 2 điều trị n...
 
Dân số và giáo dục
Dân số và giáo dụcDân số và giáo dục
Dân số và giáo dục
 
Khái niệm về truyền thông giáo dục sức khỏe & nâng cao sức khỏe - PGS.TS.Trịn...
Khái niệm về truyền thông giáo dục sức khỏe & nâng cao sức khỏe - PGS.TS.Trịn...Khái niệm về truyền thông giáo dục sức khỏe & nâng cao sức khỏe - PGS.TS.Trịn...
Khái niệm về truyền thông giáo dục sức khỏe & nâng cao sức khỏe - PGS.TS.Trịn...
 
โครงงานประเทศเกาหลีใต้
โครงงานประเทศเกาหลีใต้โครงงานประเทศเกาหลีใต้
โครงงานประเทศเกาหลีใต้
 

Destacado

ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนาท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนาKorawan Sangkakorn
 
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stayการศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stayKorawan Sangkakorn
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ Faii Kp
 
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุการท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุKorawan Sangkakorn
 
Final green tourism 13 oct 2014
Final green tourism 13 oct 2014Final green tourism 13 oct 2014
Final green tourism 13 oct 2014Hanisevae Visanti
 
Sustainability in the Hospitality Industry
Sustainability in the Hospitality IndustrySustainability in the Hospitality Industry
Sustainability in the Hospitality IndustryEcoGreenHotel
 
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ Korawan Sangkakorn
 
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015Panakrit Udomkitti
 
Chinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang maiChinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang maiKorawan Sangkakorn
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพSaowaluck Sangkoomphai
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green TourismKorawan Sangkakorn
 

Destacado (17)

ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนาท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
 
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stayการศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
 
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุการท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
 
Final green tourism 13 oct 2014
Final green tourism 13 oct 2014Final green tourism 13 oct 2014
Final green tourism 13 oct 2014
 
green tourism
green tourismgreen tourism
green tourism
 
CNX Tourism Situation
CNX Tourism SituationCNX Tourism Situation
CNX Tourism Situation
 
LPB Tourism Situation
LPB Tourism SituationLPB Tourism Situation
LPB Tourism Situation
 
LPB city plan
LPB city planLPB city plan
LPB city plan
 
Sustainability in the Hospitality Industry
Sustainability in the Hospitality IndustrySustainability in the Hospitality Industry
Sustainability in the Hospitality Industry
 
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
 
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
 
Chinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang maiChinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang mai
 
Tourism Behavior in LPB
Tourism Behavior in LPBTourism Behavior in LPB
Tourism Behavior in LPB
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
 
GREEN TOURISM
GREEN TOURISMGREEN TOURISM
GREEN TOURISM
 

Similar a แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)

แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์0884045430
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)Kanjana thong
 
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)Kanjana thong
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสาKanjana thong
 
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม  ฉบับที่ 1แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม  ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม ฉบับที่ 1Kanjana thong
 
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรีแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรีนิรุทธิ์ อุทาทิพย์
 
แผนวิสาหกิจ ททท.51-54
แผนวิสาหกิจ ททท.51-54แผนวิสาหกิจ ททท.51-54
แผนวิสาหกิจ ททท.51-54Nam Nonthawan
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Tang Thowr
 
Plan dev12 2
Plan  dev12 2Plan  dev12 2
Plan dev12 2Nus Venus
 

Similar a แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1) (20)

แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
 
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
 
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
 
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษา
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาแผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษา
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษา
 
Asean market
Asean marketAsean market
Asean market
 
Thai Research Policy # 8
Thai Research Policy # 8Thai Research Policy # 8
Thai Research Policy # 8
 
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
 
6 การพัฒนาพื้นที่ ภาค และเมืองสู่อนาคตประเทศ
6 การพัฒนาพื้นที่ ภาค และเมืองสู่อนาคตประเทศ6 การพัฒนาพื้นที่ ภาค และเมืองสู่อนาคตประเทศ
6 การพัฒนาพื้นที่ ภาค และเมืองสู่อนาคตประเทศ
 
เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54
 
แผนยุทศาสตร์ อปท57
แผนยุทศาสตร์ อปท57แผนยุทศาสตร์ อปท57
แผนยุทศาสตร์ อปท57
 
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม  ฉบับที่ 1แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม  ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม ฉบับที่ 1
 
5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล
5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล
5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล
 
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรีแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
 
แผนวิสาหกิจ ททท.51-54
แผนวิสาหกิจ ททท.51-54แผนวิสาหกิจ ททท.51-54
แผนวิสาหกิจ ททท.51-54
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
 
Plan dev12 2
Plan  dev12 2Plan  dev12 2
Plan dev12 2
 
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562 แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
 

Más de Korawan Sangkakorn

ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยKorawan Sangkakorn
 
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่Korawan Sangkakorn
 
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยวการพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยวKorawan Sangkakorn
 
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยวทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยวKorawan Sangkakorn
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยKorawan Sangkakorn
 
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็กการพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็กKorawan Sangkakorn
 
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta ElliotPublishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta ElliotKorawan Sangkakorn
 
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชนการถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชนKorawan Sangkakorn
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ HomestayKorawan Sangkakorn
 
การท่องเที่ยวตลาดใหม่
การท่องเที่ยวตลาดใหม่การท่องเที่ยวตลาดใหม่
การท่องเที่ยวตลาดใหม่Korawan Sangkakorn
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
Tourism competitive strategies of thailand and gms countries
Tourism competitive strategies of thailand and gms countriesTourism competitive strategies of thailand and gms countries
Tourism competitive strategies of thailand and gms countriesKorawan Sangkakorn
 

Más de Korawan Sangkakorn (15)

Lanna longstay
Lanna longstayLanna longstay
Lanna longstay
 
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
 
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
 
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยวการพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
 
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยวทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
 
CBT in Chiang Mai & Lamphoon
CBT in Chiang Mai & LamphoonCBT in Chiang Mai & Lamphoon
CBT in Chiang Mai & Lamphoon
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็กการพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
 
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta ElliotPublishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
 
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชนการถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
 
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
 
การท่องเที่ยวตลาดใหม่
การท่องเที่ยวตลาดใหม่การท่องเที่ยวตลาดใหม่
การท่องเที่ยวตลาดใหม่
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
 
Tourism competitive strategies of thailand and gms countries
Tourism competitive strategies of thailand and gms countriesTourism competitive strategies of thailand and gms countries
Tourism competitive strategies of thailand and gms countries
 

แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)

  • 1. แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 1
  • 2. แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 2 แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 เสนอ สานักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงใหม่ โดย ดร.กรวรรณ สังขกร มีนาคม 2559
  • 3. แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 3 คานา “แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปี พ.ศ.2560 – 2564 ของกลุ่มจังหวัด ภาคเหนือตอนบน 1” เป็นการนาเสนอการวิเคราะห์แผนแม่บทและประเด็นยุทธศาสตร์ นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับการจัดทาแผนฯ กลยุทธ์และแนวทางการพัฒนา รวมถึง แผนงาน/โครงการของแผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปี พ.ศ.2560-2564 ในภาคเหนือ ตอนบน 1 ซึ่งประกอบด้วยจังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดลาปาง จังหวัดลาพูน และจังหวัด แม่ฮ่องสอน ซึ่งผลการศึกษามี 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 บทนา ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของ กลุ่มภาคเหนือตอนบน 1 ส่วนที่ 3 แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปี พ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มภาคเหนือ ตอนบน 1 ผู้จัดทาหวังว่า แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปี พ.ศ.2560-2564 ของกลุ่ม ภาคเหนือตอนบน 1 นี้จะเป็นประโยชน์ต่อการดาเนินโครงการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ Long Stay เพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบ Long Stay ในภาคเหนือตอนบน 1 ให้ยั่งยืน และสร้างรายได้ ให้แก่กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 ต่อไป ดร.กรวรรณ สังขกร มีนาคม 2559 แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1
  • 4. แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 4 สารบัญ หน้า ส่วนที่ 1 บทนา หลักการและเหตุผล 1 1.1 วัตถุประสงค์ 2 1.2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2 ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มภาคเหนือตอนบน 1 2.1 นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับการแผนพัฒนาธุรกิจ Long Stay 3 2.2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 19 2.3 การวิเคราะห์ปัญหาการพัฒนาธุรกิจ Long Stay 28 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 ส่วนที่ 3 แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของภาคเหนือตอนบน 1 3.1 วิสัยทัศน์ 30 3.2 พันธกิจ 30 3.3 จุดมุ่งหมายการพัฒนา 31 3.4 ประเด็นยุทธศาสตร์ 31 3.5 รายละเอียดของประเด็นยุทธศาสตร์ 32 3.6 กลยุทธ์และแนวทางการพัฒนา 34 3.7 แผนงาน/โครงการ 57 เอกสารอ้างอิง
  • 5. แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 1 ส่วนที่ 1 บทนา 1.1 หลักการและเหตุผล กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 เชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง แม่ฮ่องสอน มีศักยภาพ ทางด้านการท่องเที่ยวทั้งทางด้านวัฒนธรรม, แหล่งท่องเที่ยวต่างๆ เป็นศูนย์กลาง ทางด้านเศรษฐกิจ การคมนาคม การศึกษา รวมถึงอัธยาศัยของคนในพื้นที่ ถือว่าเป็นจุดแข็ง ของกลุ่มจังหวัดฯ และมีนักท่องเที่ยวแบบ Long Stay โดยเฉพาะชาวญี่ปุ่นมาพานักอาศัย กว่า 4,000 คน นอกจากนั้นยังมีกลุ่มผู้สูงอายุจากสหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย เยอรมัน แคนนาดา เนเธอร์แลนด์ และประเทศอื่นๆ สนใจมาพานักในจังหวัดเชียงใหม่และใกล้เคียง โดยรายได้ของชาวต่างประเทศที่มาพานักในจังหวัดเชียงใหม่จะอยู่ในช่วง 75,000 – 100,000 บาทต่อคนต่อเดือน ดังนั้น จะเห็นได้ว่ากลุ่มชาวต่างประเทศทั้งชาวญี่ปุ่นที่เป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก และ ชาวตะวันตกมีความสนใจที่จะมาพานักระยะยาวในภาคเหนือตอนบนสูง ซึ่งมีส่วนสาคัญ ที่จะกระตุ้นเศรษฐกิจฃภาคการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัดฯ การดาเนินโครงการ Long Stay อย่างต่อเนื่องจะช่วยเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการในพื้นที่ให้สามารถเข้าใจ ตลาดการท่องเที่ยวแบบ Long Stay มากยิ่งขึ้น แต่ยังขาดการประชาสัมพันธ์ ขาดการรวมกลุ่ม ระหว่างผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจท่องเที่ยว ยังขาดการทาการประชาสัมพันธ์ ไปยังกลุ่มตลาดเฉพาะ โดยเฉพาะตลาดชาวญี่ปุ่นและชาติต่างๆ ส่วนใหญ่ยังไม่ได้ รับข้อมูลข่าวสารที่ดีพอ ทาให้การพัฒนาการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัด ยังขาดความชัดเจน ผู้ประกอบการต่างคนต่างมีแนวทางในการดาเนินธุรกิจในแนวทางของตนเอง รวมถึงยัง ขาดการรับข้อมูลเกี่ยวกับการท่องเที่ยว เพื่อมากาหนดนโยบายการทางานยังมีไม่เพียงพอ หรือไม่ทันกับสถานการณ์ในปัจจุบัน ดังนั้น กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 จึงเห็นความสาคัญในการจัดโครงการส่งเสริม การตลาด Long Stay เจาะกลุ่มตลาดใหม่ เพื่อเป็นการดาเนินโครงการต่อเนื่อง และแสดงถึง
  • 6. แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 2 ศักยภาพทางด้านการท่องเที่ยว และธุรกิจบริการด้านสุขภาพและพร้อมผลักดันให้กลุ่มจังหวัด ภาคเหนือตอนบน 1 เป็นศูนย์กลางธุรกิจเกี่ยวกับ Long Stay ของประเทศไทย รองรับนักท่องเที่ยวที่มีศักยภาพในหลายภูมิภาคที่เป็นกลุ่มเป้าหมายใหม่ต่อไป 1.2 วัตถุประสงค์ 1. ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดทาแผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของภาคเหนือตอนบน 1 2. จัดทาแผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 1.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาและจัดสรรงบประมาณอุดหนุน เพื่อพัฒนาแผนแม่บท พัฒนาธุรกิจ Long Stay กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 ในระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560 – 2564) 2. เพื่อเป็นเครื่องมือในการช่วยเสริมสร้างศักยภาพ และการวางแผนพัฒนา ธุรกิจ Long Stay กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 3. เพื่อเป็นเครื่องมือในการติดตามและประเมินผล ตลอดจนฐานข้อมูลด้าน การพัฒนาธุรกิจ Long Stay กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1
  • 7. แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 3 ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มภาคเหนือตอนบน 1 การจัดทาแผนแม่บทจาเป็นต้องคานึงถึงบริบทต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว เพื่อให้ประเทศชาติสามารถพัฒนาไปได้อย่างต่อเนื่องในทิศทางที่เหมาะสม ดังนั้น การจัดทา แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 ให้มีความเหมาะสม สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาประเทศและท้องถิ่น จึงจาเป็นต้องคานึงถึงกรอบและ กาหนดการพัฒนาในระดับต่างๆ ให้มีความสอดคล้องกัน ดังนี้ 2.1 นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้อง  แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 (กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา) การแข่งขันในภาคอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวมีแนวโน้มการแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น ทุกประเทศต่างก็ให้ความสาคัญกับการลงทุนและพัฒนาด้านการท่องเที่ยวเพื่อสร้างรายได้ ให้ประเทศ ประกอบกับบริบทที่เปลี่ยนไป ทั้งสถานการณ์และปัจจัยเสี่ยงด้านการท่องเที่ยว ที่นับวันจะมีความซับซ้อน รุนแรง และเปลี่ยนแปลงเร็วขึ้น จึงมีความจาเป็นต้องแสวงหา แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย โดยกาหนดวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ เป้าหมาย พันธกิจ และยุทธศาสตร์การพัฒนา ดังนี้ วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ มีขีดความสามารถในการแข่งขัน ด้านการท่องเที่ยวในระดับโลก สามารถสร้างรายได้และกระจายรายได้ โดยคานึงถึง ความเป็นธรรม สมดุล และยั่งยืน”
  • 8. แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 4 เป้าประสงค์ 1. ขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทยเพิ่มขึ้น 2. รายได้จากการท่องเที่ยวของประเทศเพิ่มขึ้น โดยเน้นการพัฒนากิจกรรม ที่สร้างมูลค่าและคุณค่า 3. สร้างรายได้และกระจายรายได้โดยคานึงถึงความสมดุลและยั่งยืน เป้าหมาย 1. อันดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทย เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 5 อันดับ หรือเป็นลาดับ 1-7 ของทวีปเอเซีย 1.1 อันดับขีดความสามารถด้านกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องด้านการท่องเที่ยว เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 5 อันดับ หรือเป็นลาดับ 1-7 ของทวีปเอเซีย 1.2 อันดับขีดความสามารถด้านสภาวะแวดล้อมและสิ่งอานวยความสะดวก ด้านการดาเนินธุรกิจเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 5 อันดับ หรือเป็นลาดับที่ 1-7 ของทวีปเอเซีย 1.3 อันดับขีดความสามารถของทรัพยากรมนุษย์ ธรรมชาติ และวัฒนธรรม เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 5 อันดับ หรือเป็นลาดับที่ 1-7 ของทวีปเอเซีย 2. รายได้จากการท่องเที่ยวของประเทศเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 3. กลุ่มท่องเที่ยวได้รับการพัฒนา 8 กลุ่มท่องเที่ยว พันธกิจ 1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยว ตลอดจน ปัจจัยสนับสนุนด้านการท่องเที่ยว ให้มีคุณภาพและมาตรฐานในระดับสากล 2. พัฒนาและฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวให้มีศักยภาพ มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน สร้างความสมดุลระหว่างการใช้ประโยชน์ทรัพยากรท่องเที่ยวควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมสังคม และวิถีชีวิตของชุมชน 3. เตรียมความพร้อมของภาคบริการและปัจจัยสนับสนุนการท่องเที่ยวให้มีความพร้อม ในการรองรับการเปลี่ยนแปลง และมีบทบาทสาคัญในการขับเคลื่อนและฟื้นฟูเศรษฐกิจ ของประเทศ 4. สร้างความเชื่อมั่นและส่งเสริมการท่องเที่ยว ให้สามารถสร้างรายได้ให้แก่ประเทศ
  • 9. แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 5 5. บูรณาการงานด้านการท่องเที่ยวให้มีเอกภาพ ลดความซ้าซ้อนของภารกิจ สร้างกลไกในการสนับสนุนการพัฒนาการท่องเที่ยว และการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วม จากทุกภาคส่วน ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์ และเป้าประสงค์ ของแผนพัฒนา การท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555–2559 จึงได้กาหนดยุทธศาสตร์ออกเป็น 5 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวก เพื่อการท่องเที่ยว การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยว มีส่วนสาคัญในการแก้ไขปัญหาและข้อจากัดในด้านการท่องเที่ยวที่อาจส่งผลให้ศักยภาพ การท่องเที่ยวของประเทศไทยลดลง โครงสร้างพื้นฐานเหล่านี้ ได้แก่ ระบบโลจิสติกส์ ที่เชื่อมโยงการท่องเที่ยวทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ และรวมถึงสิ่งอานวย ความสะดวกพื้นฐานที่อาจเป็นอุปสรรคสาคัญต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย โดยมี แนวทางการพัฒนา ดังนี้คือ 1. พัฒนาและปรับปรุงระบบโลจิสติกส์ เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยว 2. พัฒนาและปรับปรุงสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยว 3. สร้างโครงข่ายเส้นทางคมนาคมและระบบเชื่อมโยงการเดินทางท่องเที่ยว กับประเทศเพื่อนบ้านและในภูมิภาค ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาและฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน การขยายตัว ของการท่องเที่ยวโดยเน้นปริมาณนักท่องเที่ยวหรือการแสวงหารายได้จากการท่องเที่ยว ในขณะที่การรองรับขยายไปไม่ทัน ทาให้แหล่งท่องเที่ยวของไทยมีความเสื่อมโทรม ยุทธศาสตร์จึงให้ความสาคัญกับการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยว อย่างมีทิศทาง ไม่ทาลายทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม และเอกลักษณ์ของชาติ โดยคานึงถึง ขีดความสามารถในการรองรับของแหล่งท่องเที่ยว เพื่อป้องกันการใช้ประโยชน์มากเกินไป การกาหนดมาตรการในการแก้ไขกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ให้แหล่งท่องเที่ยวของไทย สามารถมีศักยภาพในการรองรับนักท่องเที่ยว โดยมีแนวทางการพัฒนา ดังนี้คือ
  • 10. แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 6 1. พัฒนายกระดับคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวใหม่ในเชิงกลุ่มพื้นที่ที่มีศักยภาพ 2. การฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยว 3. การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานของแหล่งท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาสินค้า บริการและปัจจัยสนับสนุนการท่องเที่ยว มุ่งเน้น การพัฒนาสินค้าและบริการท่องเที่ยวให้มีมาตรฐานอย่างต่อเนื่องครบวงจร ความพร้อมของ ภาคบริการและการท่องเที่ยว แม้ได้รับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจโลก และความไม่สงบ ภายในประเทศ แต่มีบทบาทสาคัญในการขับเคลื่อนและฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศ ประเทศไทยยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวต่างประเทศ และ มีโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยว เช่น โรงแรมและสปาที่มีมาตรฐานสูง บริการท่องเที่ยว เชิงสุขภาพขยายตัวอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ได้มีบทบาทมากขึ้น ในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โดยมีแนวทางการพัฒนา ดังนี้คือ 1. การพัฒ นาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ กิจกรรม นวัตกรรมและมูลค่าเพิ่ม ด้านการท่องเที่ยว 2. การเสริมสร้างโอกาสและแรงจูงใจเพื่อพัฒนาการค้า การลงทุนด้านการท่องเที่ยว 3. การพัฒนามาตรฐานสินค้า และบริการท่องเที่ยว 4. การป้องกันและรักษาความปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยว 5. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการท่องเที่ยวให้มีขีดความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างความเชื่อมั่นและส่งเสริมการท่องเที่ยว มุ่งเน้นให้ นักท่องเที่ยวรับรู้และเข้าใจในภาพลักษณ์ที่ดีของประเทศ สร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักท่องเที่ยว ในการเดินทางมาท่องเที่ยวประเทศไทย โดยการดาเนินการตลาดเชิงรุก เพื่อประมูลสิทธิ์ ในการจัดงานระดับโลก/ภูมิภาคเพื่อเพิ่มจานวนนักท่องเที่ยวเข้าประเทศ จัดงานแสดงต่างๆ (Event) เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวในประเทศไทยให้เป็นที่รู้จัก ของนักท่องเที่ยวไทยผ่านสื่อต่างๆ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้นักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาท่องเที่ยว ในประเทศไทยมากขึ้นมีการใช้จ่ายมากขึ้น โดยมีแนวทางการพัฒนา ดังนี้คือ 1. สร้างและเผยแพร่ภาพลักษณ์ด้านการท่องเที่ยว 2. สร้างสภาพแวดล้อมและพัฒนาระบบสนับสนุนการตลาดท่องเที่ยว
  • 11. แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 7 3. ส่งเสริมการท่องเที่ยว เพื่อสร้างรายได้เข้าประเทศจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ 4. สร้างกระแสการรับรู้ เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าการท่องเที่ยว 5. การสร้างกระแสการเดินทางของนักท่องเที่ยวชาวไทย ยุทธศาสตร์ที่ 5 การส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคประชาชน และ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว โครงสร้าง การบริหารจัดการด้านการท่องเที่ยวยังขาดความเชื่อมโยงระหว่างท้องถิ่น จังหวัด กลุ่มจังหวัด และประเทศ ขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน ภาคเอกชน และการปกครองส่วนท้องถิ่น ขณะที่หน่วยงานระดับพื้นที่ เช่น จังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และชุมชน ขาดความรู้ด้านการจัดการ ภูมิทัศน์และการวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวการพัฒนากลไก ในการบริหารจัดการด้านการท่องเที่ยวจึงเป็นแนวทางในการบูรณาการการทางานร่วมกัน การกาหนดภารกิจขอบเขตของงานการพัฒนาให้ชัดเจน กาหนดรูปแบบการพัฒนา การท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับพื้นที่สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างครบวงจร โดยมีแนวทางการพัฒนา ดังนี้คือ 1. การสร้างและพัฒนากลไกในการบริหารจัดการการท่องเที่ยว 2. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการพัฒนาการท่องเที่ยว จากแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 จะเห็นได้ว่ายุทศาสตร์ การพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 ได้มุ่นเน้นการพัฒนาใน 5 ประเด็น คือ 1) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยว การพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยว 2) การพัฒนาและฟื้นฟู แหล่งท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน 3) การพัฒนาสินค้า บริการและปัจจัยสนับสนุน การท่องเที่ยว มุ่งเน้นการพัฒนาสินค้าและบริการการท่องเที่ยวให้มีมาตรฐานอย่างต่อเนื่อง ครบวงจร 4) การสร้างความเชื่อมั่นและส่งเสริมการท่องเที่ยว และ 5) การส่งเสริม กระบวนการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคประชาชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการบริหารจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว ซึ่งจะเห็นได้ว่าทั้ง 5 ประเด็นการพัฒนานั้น
  • 12. แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 8 เน้นการส่งเสริมให้การท่องเที่ยวในประเทศไทยสามารถแข่งขันได้ในระบบสากล รวมทั้ง ยังเอื้อประโยชน์แก่การท่องเที่ยวทุกประเภท รวมทั้งการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาวด้วย และถ้ามีการพัฒนาทั้ง 5 ประเด็น อย่างเป็นรูปธรรมจะเกิดการหลั่งไหลของนักท่องเที่ยวเข้ามา ในประเทศไทยจานวนมากโดยเฉพาะนักท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว  ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2558 – 2560 (กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา) การกาหนดทิศทางการพัฒนาการท่องเที่ยวไทยในระยะ 3 ปี (พ.ศ.2558-2560) จึงต้องให้ความสาคัญกับการสร้างความสมดุลของการพัฒนาทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อม เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายการเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน ภายใต้ภารกิจ ที่จะต้องดาเนินการควบคู่และเกื้อหนุนกันไปทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านการส่งเสริมตลาด ด้านการพัฒนาสินค้าและบริการและด้านการบริหารจัดการท่องเที่ยว โดยกาหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย พันธกิจ และยุทธศาสตร์การพัฒนาไว้ดังนี้ วิสัยทัศน์ “วางรากฐานการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวให้ประเทศไทย เป็นแหล่งท่องเที่ยว คุณภาพอย่างมีดุลยภาพและยั่งยืน” เป้าหมาย 1. ในปี 2560 ประเทศไทยมีรายได้จากการท่องเที่ยว 2.5 ล้านล้านบาท และเป็น แหล่งกระจายรายได้สู่ท้องถิ่น 2. สังคมไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และชุมชนมีความเข้มแข็ง 3. ทุกภาคส่วนมีจิตสานึกในการพัฒนาโดยคานึงถึงความสมดุลและยั่งยืน พันธกิจ 1. กระตุ้นตลาดท่องเที่ยวคุณภาพให้ได้ตามเป้าหมาย 2. พัฒนาสินค้าและบริการให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดและชุมชน 3. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการการท่องเที่ยว โดยมุ่งเน้นการทางาน เชิงบูรณาการเชื่อมโยงระดับชาติ ภูมิภาค และท้องถิ่น
  • 13. แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 9 ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2558 – 2560 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การส่งเสริมตลาดท่องเที่ยว มีเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ 3 ประเด็น ดังนี้ 1. ปรับภาพลักษณ์ประเทศไทยในใต้แบรนด์ Amazing Thailand (Rebranding) ยกระดับ ตาแหน่งทางการตลาด (Positioning) จากการเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีความหลากหลายและ คุ้มค่า (Variety and Value for Money Destination) สู่การเป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพ (Quality Leisure Destination) 2. ปรับโครงสร้างตลาด (Market Restructuring) โดยขยายฐานนักท่องเที่ยว กลุ่ม High Value ซึ่งเป็นนักท่องเที่ยวระดับกลาง-บน ใช้จ่ายสูงมีพฤติกรรมเหมาะสมกับ วัฒนธรรมไทย สนใจเรียนรู้ และสร้างผลกระทบต่อประเทศไทยต่า ให้การเติบโตของรายได้ เกิดจากการเติบโตของการใช้จ่ายมากกว่าจานวนนักท่องเที่ยว 3. ปรับสมดุลระหว่างอุปสงค์อุปทาน (Rebalancing) ให้เกิดความสมดุลระหว่าง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมเพื่อมุ่งสู่ความยั่งยืน มุ่งการกระจายจังหวัดท่องเที่ยว และ การกระจายรายได้สู่จังหวัดท่องเที่ยวศักยภาพรอง สร้างโอกาสให้ประชาชนไทย ได้เดินทางท่องเที่ยวเพื่อให้เกิดความรักความภูมิใจในความเป็นไทย ตลอดจนเกิดความผูกพัน ในครอบครัวและหมู่คณะ อันจะเป็นการสร้างรากฐานอันเข้มแข็งของสังคม และส่งเสริม การท่องเที่ยวอย่างสอดคล้องกับขีดความสามารถในการรองรับของแหล่งท่องเที่ยว เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาสินค้าและบริการท่องเที่ยว ความท้าทายของการพัฒนา สินค้าและบริการท่องเที่ยว คือ จะทาอย่างไรให้สินค้าและบริการท่องเที่ยวของไทยมีคุณภาพ ได้มาตรฐานระดับสากล เพื่อรองรับจานวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นได้ โดยไม่ทาลาย ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ เพิ่มคุณค่าและมูลค่าสินค้าและบริการท่องเที่ยว กระจายรายได้ สู่เกษตรกร และท้องถิ่น และยังคงอัตลักษณ์ของชุมชน ดังนั้น การจัดทายุทธศาสตร์ในด้านนี้ จึงมุ่งเน้นการบูรณาการการทางานร่วมกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ ด้านการท่องเที่ยวอย่างสร้างสรรค์ โดยในระยะเร่งด่วนนี้จะให้ความสาคัญในการเร่งพัฒนา เชิงพื้นที่ การพัฒนาสินค้าและบริการรายสาขาเพื่อพัฒนาสินค้าและบริการใหม่ๆ ให้สอดคล้อง
  • 14. แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 10 กับศักยภาพของพื้นที่เพื่อรองรับกลุ่มนักท่องเที่ยวคุณภาพ การเร่งพัฒนาสิ่งอานวย ความสะดวก โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ที่สาคัญอีกประการคือ ปัญหาด้านความปลอดภัย การเอาเปรียบ หรือหลอกลวงนักท่องเที่ยว การช่วยเหลือนักท่องเที่ยวในสภาวะวิกฤติ ปัจจัยเหล่านี้ล้วนเป็นความท้าทายด้านการพัฒนาสินค้าและบริการท่องเที่ยวที่จะสร้าง ความเชื่อมั่นและความประทับใจแก่นักท่องเที่ยวที่มาท่องเที่ยวประเทศไทยและเกิดการเที่ยวซ้า ยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริหารจัดการการท่องเที่ยว ต้องมีการกาหนดกลยุทธ์และ แนวทางในการขับเคลื่อนการท่องเที่ยว เพื่อแก้ไขปัญหาในด้านต่างๆ ดังกล่าว โดยการ บูรณาการระหว่างภาครัฐภาคเอกชน และภาคประชาคม ผ่านกลไกการดาเนินงานตั้งแต่ ระดับนโยบายจนถึงระดับปฏิบัติ มีการพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยวในทุกระดับ พัฒนาระบบข้อมูลและกฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง นับเป็นสิ่งสาคัญในการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย ซึ่งจาเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากภาคีการพัฒนาทั้งสามฝ่าย โดยเฉพาะบทบาทการมีส่วนร่วมของภาคประชาคมและภาคเอกชนในท้องถิ่น เนื่องจาก ท้ายที่สุดแล้วประชาชนที่เป็นเจ้าของทรัพยากรจะเป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด จากแผนการพัฒนาของยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2558 – 2560 จะเห็นได้ว่า การกาหนดทิศทางการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย พ.ศ.2558-2560 ได้เน้น การให้ความสาคัญกับการสร้างความสมดุลของการพัฒนาทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อม เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายการเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน ภายใต้ภารกิจ ที่จะต้องดาเนินการควบคู่และเกื้อหนุนกันไปทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านการส่งเสริมตลาด ด้านการพัฒนาสินค้าและบริการและด้านการบริหารจัดการท่องเที่ยว ซึ่งภารกิจทั้ง 3 ด้าน ที่มีการเร่งพัฒนานั้นจะเป็นประเด็นเอื้อให้เกิดความสามารถในการแข่งขันการท่องเที่ยว ในระดับสากล รวมทั้งการแข่งขันทางด้านการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว พร้อมทั้ง ยังเน้นการบริหารจัดการ ซึ่งจะเกิดการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างเป็นระบบและยั่งยืนต่อไป
  • 15. แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 11  แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาและส่งเสริมธุรกิจการท่องเที่ยวแบบพานักระยะ ยาวของประเทศไทย พ.ศ.2554 – 2560 (กรมการท่องเที่ยว) การจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาและส่งเสริมธุรกิจการท่องเที่ยวแบบพานัก ระยะยาวของประเทศไทย พ.ศ.2554 – 2560 ได้ครอบคลุมกลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนา และส่งเสริมธุรกิจการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว ได้แก่ การเพิ่มคุณภาพสินค้าและ การบริการการท่องเที่ยว การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่ม การส่งเสริมและกระตุ้นการบริหารจัดการการตลาดท่องเที่ยว การพัฒนาและเตรียม ความพร้อมด้านบุคลากรทางการท่องเที่ยว และการพัฒนาระบบมาตรฐานความปลอดภัย แก่นักท่องเที่ยว โดยมีรายละเอียดดังนี้คือ วิสัยทัศน์ “พานักระยะยาว เพื่อการเรียนรู้และใช้ชีวิตอย่างไทย” (Thailand long stay for life – long learning and Thai life - style) พันธกิจ 1. มุ่งสู่มาตรฐานคุณภาพบริการ 2. กลไกบริหารแบบบูรณาการอย่างมีส่วนร่วมที่มีประสิทธิภาพสูง 3. ยึดกลุ่มเป้าหมายการตลาดคุ้มค่า 4. ก้าวไกลบนฐานทรัพยากรที่สมดุล 5. ส่งเสริมระบบความปลอดภัย ยุทธศาสตร์การพัฒนาและส่งเสริมธุรกิจการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว ของประเทศไทย พ.ศ.2554 – 2560 ยุทธศาสตร์ที่ 1 เพิ่มคุณภาพสินค้าและบริการการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว การเพิ่มคุณภาพสินค้าและบริการการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว อาศัยการ จัดแหล่งท่องเที่ยว สถานที่พักและบริการ กิจกรรมการท่องเที่ยว ระบบโครงข่ายคมนาคม ที่เชื่อมโยง อาหารปลอดภัย และสิ่งอานวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยว มีความจาเป็นจะต้อง มีการพัฒนา และส่งเสริมพัฒนามาตรฐานคุณภาพของสถานประกอบการที่เกี่ยวเนื่อง และ
  • 16. แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 12 สนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในด้านมาตรฐานคุณภาพ อาทิ มาตรฐาน ด้านความสะอาดและคุณภาพของธุรกิจอาหาร มาตรฐานด้านการบริการขนส่งสาธารณะ โดย อาศัยความร่วมมือกับภาคเอกชนในการพัฒนามาตรฐานด้านคุณภาพของสินค้าและบริการ ให้เป็นที่ประทับใจแก่นักท่องเที่ยวทุกระดับ รวมทั้งการพัฒนาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ให้สวยงามและดารงเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่ม ต่อการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว สนับสนุนการนาภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมท้องถิ่น มาใช้ในการสร้างสรรค์คุณค่าของสินค้าและบริการที่มีโอกาสทางการตลาดสูง เช่น อาหารสุขภาพ หัตถกรรม บริการสุขภาพ บริการการท่องเที่ยว เป็นต้น โดยรักษาคุณค่า เอกลักษณ์ของท้องถิ่นอย่างเข้มแข็งเมื่อนาภูมิปัญญา และวัฒนธรรมท้องถิ่นไปต่อยอด ขยายผลในเชิงพาณิชย์ โดยการจัดกิจกรรมส่งเสริมงานด้านศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และ งานเทศกาลระดับโลก อาทิ งานเทศกาลวันวิสาขบูชาโลก งานเทศกาลลอยกระทง งานเทศกาลสงกรานต์ งานเทศกาลอาหารโลก งานเทศกาลปีใหม่ ฯลฯ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนากลไกการบริหารจัดการการท่องเที่ยวแบบพานัก ระยะยาว จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545 – 2549) การกระจายอานาจการคลังและการบริหารส่วนท้องถิ่น เปิดโอกาสให้เกิดการพัฒนาศักยภาพ การปกครองท้องถิ่นในระยะยาว ทาให้องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) และองค์การ บริหารส่วนตาบล (อบต.) มีอานาจหน้าที่ในการดูแลแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ได้มากขึ้น จึงมี ความจาเป็นที่จะต้องให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้บริหารท้องถิ่นในการวางแผนและการจัดการ การท่องเที่ยวให้มีมาตรฐานเป็นที่พึงพอใจของนักท่องเที่ยว และสามารถอนุรักษ์ แหล่งท่องเที่ยวไว้ได้อย่างยั่งยืนในเวลาเดียวกัน ปัจจุบันประเทศไทยมี อบจ. 75 แห่ง และมี อบต.ทั้งสิ้น 6,746 แห่ง ดังนั้น การเสริมสร้างขีดความสามารถและองค์ความรู้ขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เป็นภาคีหลัก ในการอนุรักษ์ฟื้นฟูและจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมร่วมกับชุมชนและภาคี ที่เกี่ยวข้อง เพื่อบริหารจัดการการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว เช่น การจัดการป่าและ
  • 17. แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 13 พื้นที่อนุรักษ์ การจัดการลุ่มน้า การจัดการและฟื้นฟูป่าชายเลน การจัดการการท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์ในท้องถิ่น เป็นต้น โดยมีการใช้และแบ่งปันผลประโยชน์ร่วมกันอย่างยุติธรรม และ ส่งเสริมให้มีการจัดตั้งคณะอนุกรรมการการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาวแห่งชาติ เพื่อกาหนดทิศทาง กลั่นกรองนโยบายและผลักดันมาตรการสู่การปฏิบัติ กระตุ้นและส่งเสริม การทางานเชิงเครือข่ายแบบบูรณาการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรับรอง มาตรฐานหลักสูตรพิเศษระยะสั้น อาทิ หลักสูตรมวยไทย หลักสูตรดาน้า หลักสูตรอาหารไทย ฯลฯ สร้างระบบการขอหนังสือ VISA เพื่ออานวยความสะดวกต่อนักท่องเที่ยวแบบพานัก ระยะยาว โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มนักเรียน นักศึกษา และส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ ระหว่างองค์กร/กลไกที่เกี่ยวข้องสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ รวมทั้งส่งเสริมการสร้าง ความแข้มแข็งของกลไกท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาวผ่านการวิจัยแบบมีส่วนร่วม ยุทธศาสตร์ที่ 3 การส่งเสริมและกระตุ้นการบริหารจัดการการตลาดท่องเที่ยว แบบพานักระยะยาวแบบบูรณาการเชิงรุกตรงกลุ่มเป้าหมาย การเคลื่อนย้ายของคนอย่างเสรี ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการขนส่ง การคมนาคม ที่สะดวกและรวดเร็วส่งผลให้มีการเดินทางทั้งเพื่อการท่องเที่ยวและการทาธุรกิจในที่ต่างๆ ทั่วโลก ประชากรวัยเรียนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรมระหว่างประเทศมากขึ้น พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงด้านประชากรในสังคม ประเทศที่พัฒนาแล้วหลายประเทศกาลัง เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และประเทศไทยจะมีโอกาสมากขึ้นในการขยายตลาดสินค้าเพื่อสุขภาพ และการให้บริการด้านอาหารสุขภาพ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและแพทย์พื้นบ้าน สถานที่ท่องเที่ยว และการพักผ่อนระยะยาวของผู้สูงอายุ จึงนับเป็นโอกาสในการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น ของไทยและนามาสร้างมูลค่าเพิ่ม ซึ่งจะเป็นสินทรัพย์ทางปัญญาที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ ดังนั้น การส่งเสริมการดาเนินกิจกรรมด้านการตลาดเพื่อเจาะกลุ่มนักเรียน นักศึกษา ให้เป็นตลาดเป้าหมายหลักและกลุ่มผู้สูงอายุเป็นกลุ่มตลาดเป้าหมายรอง ดาเนินกลยุทธ์ การตลาดเชิงรุกบนฐานคุณภาพของทรัพยากรและคุณภาพการบริการ กระตุ้นและ สร้างภาพลักษณ์การท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาวของไทยเพื่อสร้างการท่องเที่ยวทางเลือก และจูงใจในการตัดสินใจ ส่งเสริมกลยุทธ์การตลาดที่สอดคล้องกับฐานทรัพยากรการท่องเที่ยว พัฒนาสาระที่น่าสนใจ (Creative content) ให้แก่จังหวัดที่เป็นแหล่งพานักของนักท่องเที่ยว
  • 18. แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 14 ให้กว้างขวางและลึกซึ้งยิ่งขึ้น และปรับปรุงข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวประเภทหลายรส (Combination package) เพื่อสร้างการท่องเที่ยวทางเลือกและจูงใจในการตัดสินใจ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว นอกจากนี้ ควรเร่งสร้างศูนย์บริการ ข้อมูลท่องเที่ยวครบวงจร (One Stop Service) รวมทั้ง การท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว ผ่านเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่บูรณาการเครือข่ายธุรกิจการท่องเที่ยวแบบพานัก ระยะยาว และเร่งสร้างระบบฐานข้อมูลนักท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาวของประเทศ เพื่อใช้วางแผน การบริหารจัดการ ติดตามและส่งเสริมการตลาด เร่งรัดให้มีมาตรฐาน ด้านราคาของสินค้าและบริการที่สร้างทั้งการเพิ่มคุณค่าและมูลค่า ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาและเตรียมความพร้อมด้านบุคลากรทางการท่องเที่ยว แบบพานักระยะยาว การเร่งรัดพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน ชุมชนให้มีความเข้าใจและ มีศักยภาพในการบริหารการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาวได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งศักยภาพ ด้านภาษาต่างประเทศ การดูแลสุขภาพ อาหารปลอดภัย การดูแลสิ่งแวดล้อม การจัดกิจกรรม การท่องเที่ยว การดูแลผู้สูงอายุ เร่งบูรณาการการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาวของไทย สู่หลักสูตรการเรียนการสอน สร้างทัศนคติเชิงบวกของภาคี โดยเฉพาะอย่างยิ่งประชาชน ในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยว สร้างรูปแบบการพัฒนาบุคลากร ส่งเสริมการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม ของคนไทยและนักท่องเที่ยวเพื่อสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างกัน กาหนดสมรรถนะหลักของ ผู้ให้บริการด้านการท่องเที่ยวให้มีจิตบริการและสามารถให้บริการแบบมืออาชีพ นอกจากนี้ การพัฒนามาตรการรักษาซึ่งความเป็นมิตรระหว่างนักท่องเที่ยว ผู้ให้บริการ และประชาชน ในพื้นที่ทุกภาคส่วน อาทิ ผู้ประกอบการ มัคคุเทศก์ แท็กซี่ รถสามล้อ ผู้ประกอบการเดินเรือ การขนส่งสาธารณะ ผู้ค้าขายในตลาด รถเช่า และอาสาสมัครพิทักษ์นักท่องเที่ยว ให้คอยช่วยเหลือนักท่องเที่ยวตามสถานที่ต่างๆ มีส่วนสาคัญในการผลักดันยุทธศาสตร์ ด้านบุคลากรให้มีความพร้อม ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบมาตรฐานความปลอดภัยเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว แบบพานักระยะยาว
  • 19. แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 15 ระบบมาตรฐานความปลอดภัยของการท่องเที่ยวมีส่วนสาคัญที่ทาให้นักท่องเที่ยว มีความมั่นใจในการพานักในประเทศไทยนานวันขึ้นหรือเป็นการพานักระยะยาว ระบบมาตรฐานความปลอดภัยจะเกิดขึ้นได้จาเป็นต้องมีการพัฒนาช่องทางประสานงาน เครือข่ายชุมชนและอาสาสมัคร การสร้างขวัญและกาลังใจให้กับตารวจท่องเที่ยว สร้างมาตรฐานความปลอดภัย ส่งเสริมการท่องเที่ยว แบบพานักระยะยาวให้ตรงกับ กลุ่มเป้าหมายทางการตลาด สร้างมาตรฐานการให้บริการสุขภาพด้านการท่องเที่ยวแบบ พานักระยะยาว อาทิ การตรวจสุขภาพ การรับแจ้งเหตุ ข้อมูลสุขภาพของนักท่องเที่ยว ระบบการส่งต่อ ส่งเสริมให้ภาคีที่เกี่ยวข้องมีความรู้ในการแจ้งเหตุ และช่วยเหลือเบื้องต้น แก่นักท่องเที่ยว นอกจากนี้ การจัดสิ่งอานวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยว เช่น การปรับปรุงข้อมูล ด้านการท่องเที่ยวที่จาเป็นสาหรับการเลือกตัดสินใจเพื่อเดินทางต่อเนื่องไปกับเส้นทาง การท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว มีการปรับปรุงป้ายสัญลักษณ์ ป้ายบอกทางที่สื่อความเข้าใจ ได้ง่าย ทันสมัย และมีรูปแบบที่น่าสนใจดึงดูดนักท่องเที่ยว รวมทั้ง สื่อสารด้วยช่องทางต่างๆ ได้แก่ สื่อโทรทัศน์ วิทยุชุมชน สื่อสิ่งพิมพ์ แผนที่ เว็บไซต์ ตู้ทัชสกรีน เพื่อให้นักท่องเที่ยวเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารด้านการท่องเที่ยวง่ายและสะดวกมากขึ้น จากข้อมูลการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาและส่งเสริมธุรกิจการท่องเที่ยว แบบพานักระยะยาวของประเทศไทย พ.ศ.2554 – 2560 ซึ่งเน้นการขับเคลื่อนการพัฒนาและ ส่งเสริมธุรกิจการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว ใน 5 ประเด็นหลักๆ คือ 1) การเพิ่ม คุณภาพสินค้าและการบริการการท่องเที่ยว 2) การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเพื่อสร้างคุณค่าและ มูลค่าเพิ่ม 3) การส่งเสริมและกระตุ้นการบริหารจัดการการตลาดท่องเที่ยว 4) การพัฒนาและ เตรียมความพร้อมด้านบุคลากรทางการท่องเที่ยว และ 5) การพัฒนาระบบมาตรฐาน ความปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยว จะเห็นได้ว่าเป็นการเน้นการพัฒนาในทุกมิติของการท่องเที่ยว แบบพานักระยะยาว เนื่องจากยุทธศาสตร์การพัฒนานี้ไม่ได้เน้นเพียงแค่การท่องเที่ยว แบบพานักระยะยาวเท่านั้น ยังมุ่งประเด็นไปที่การพัฒนาทรัพยากรทางการท่องเที่ยว โดยเฉพาะแหล่งท่องเที่ยว ทาให้ยุทธศาสตร์การพัฒนานี้จะเป็นแนวทางที่สาคัญในการ
  • 20. แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 16 จะนามาเป็นกรอบในการจัดทาแผนแม่ บ ทการพั ฒ นาธุรกิจ Long Stay ของ กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 ต่อไป  แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 พ.ศ.2557-2560 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 (เชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง แม่ฮ่องสอน) ได้มีการ ทบทวน แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 พ.ศ.2557- 2560 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดเป็นแผนที่มุ่งเน้นการพัฒนาด้าน เศรษฐกิจและสังคมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของกลุ่มจังหวัดและนาไปสู่การ กระตุ้นให้เกิด การลงทุนของภาคเอกชน และสร้างรายได้ให้กลุ่มจังหวัด โดยคานึงถึงความ สอดคล้องเชื่อมโยงกับนโยบายของรัฐบาลแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกรอบ ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค รวมถึงยุทธศาสตร์รายสาขา รวมทั้งความสอดคล้องกับศักยภาพ โอกาส สภาพปัญหา และความต้องการของประชาชนในพื้นที่ และการจัดทาแผนพัฒนา จังหวัด และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดได้ ผ่านกระบวนการเห็นชอบร่วมกัน และเป็น ที่ยอมรับของ ทุกภาคส่วน ทิศทางการพัฒนา 1) อนุรักษ์ฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาล้านนา เพื่อสร้างเสน่ห์ให้แก่ การท่องเที่ยว และฐานเศรษฐกิจที่มีการนาเอาภูมิปัญ ญาและวัฒนธรรมมาใช้ ในการสร้างคุณค่า โดยเฉพาะงานหัตถกรรมทั้งในรูปแบบสินค้าของที่ระลึกของตกแต่งบ้าน เครื่องแต่งกาย อาคารสถาปัตยกรรมต่างๆ ที่มีอัตตลักษณ์ 2) ทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะป่าไม้และน้า เพื่อคืนความอุดมสมบูรณ์ ป้องกัน การชะล้างพังทลายของดิน ป้องกันและแก้ปัญหาอุทกภัย และภัยแล้ง เน้นการสร้างฝายชะลอ ความชุ่มชื้น ปลูกพืชเพื่ออนุรักษ์ดินและน้า การแก้ไขปัญหาหมอกควัน 3) พัฒนาบริการพื้นฐานของเมืองและสิ่งแวดล้อมเมือง เพื่อรองรับการขยายตัว ของเมือง เน้นการวางแผนแม่บทการบริหารจัดการเมืองศูนย์กลางความเจริญและพัฒนา ระบบขนส่งมวลชน ระบบกาจัดขยะ ระบบบาบัดน้าเสียในเชียงใหม่-ลาพูน ดูแลรักษา ด้านมลพิษและมลภาวะและมีระบบบริหารจัดการมลภาวะเขตเมือง
  • 21. แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 17 4) พัฒนาโครงข่ายการคมนาคม ระบบโลจิสติกส์ (Logistics) และ สิ่งอานวย ความสะดวกทางการค้าการลงทุน เน้นเชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมขนส่งของเมือง และ โครงข่ายระหว่างจังหวัดภายในกลุ่ม (Cluster Road) สู่ภูมิภาค เพื่อให้เกิดประโยชน์ ต่อการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ การท่องเที่ยว การค้าและบริการและพื้นที่แหล่งผลิต ทางการเกษตร รวมถึงการสนับสนุนการขยายเขตประกอบอุตสาหกรรมในพื้นที่ลาพูน และ การพัฒนาสถานีขนส่งผู้โดยสารและขนส่งสินค้า 5) สร้างมูลค่าเพิ่มของภาคการผลิตและบริการ โดยใช้ฐานความคิดสร้างสรรค์ ผสมผสานกับคุณค่าของธรรมชาติ สังคม และศิลปวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์ของล้านนา รวมทั้ง ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับฐานเศรษฐกิจเดิม เกษตร ท่องเที่ยว หัตถอุตสาหกรรม อุตสาหกรรม แปรรูปผลิตผลเกษตร และสร้างฐานเศรษฐกิจใหม่ อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ และธุรกิจบริการสุขภาพ สปา บริการทางการแพทย์ และบริการ ทางการศึกษา อุตสาหกรรมการจัดประชุมและนิทรรศการ (MICE) 6) ด้านการค้าชายแดน ควรใช้ประโยชน์จากการที่กลุ่มจังหวัดมีพื้นที่ชายแดน ที่มีโอกาสบริเวณจังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้แก่ ด่านห้วยต้นนุ่น และบริเวณจังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ ด่านกิ่วผาวอก ด่านหลักแต่ง เป็นต้น โดยการค้าชายแดนบริเวณดังกล่าวยังสามารถเติบโตได้ เนื่องจากการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยกลุ่มจังหวัดจะต้องมีการปรับตัวในหลาย ด้าน เช่น กระบวนการผ่านแดน การปรับลด/ยกเลิกภาษี การพัฒนาการขนส่ง การพัฒนาด้าน การบริหารจัดการโลจิสติกส์และการพัฒนาด้านภาษา เพื่อการสื่อสาร เป็นต้น ซึ่งจะช่วย สนับสนุนการค้าชายแดนให้มีมูลค่าการค้าสูงขึ้น นอกจากนั้นการเปิดประเทศของ สหภาพเมียนมาร์จะดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติให้เข้าไปลงทุนในสหภาพเมียนมาร์มากขึ้น ซึ่ง ความต้องการสินค้าที่ใช้ในการก่อสร้างและสินค้าที่เกี่ยวข้องอื่นๆ คาดว่าจะสูงขึ้น ซึ่งจะเป็น ปัจจัยสนับสนุนการค้าการลงทุนของกลุ่มจังหวัดมากขึ้น วิสัยทัศน์กลุ่มจังหวัด “ศูนย์กลางการท่องเที่ยว การค้า การลงทุน สู่สากล โดดเด่นวัฒนธรรมล้านนา สังคมน่าอยู่ ทุกถิ่นที่”
  • 22. แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 18 ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 พ.ศ.2557-2560 ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมการฟื้นฟูและอนุรักษ์แบบองค์รวม เพื่อสร้างสรรค์ บรรยากาศที่สวยงาม มีเสน่ห์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมการสร้างสรรค์สินค้าและบริการให้โดดเด่นและมีคุณค่า มุ่งเน้นเกษตรมูลค่าเพิ่ม ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ หัตถอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ศิลปวัฒนธรรม การท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับการพัฒนาการค้าการลงทุน มุ่งเน้นอุตสาหกรรมสุขภาพ อุตสาหกรรมการจัดประชุมและนิทรรศการ (MICE) อุตสาหกรรมบริการการศึกษา อุตสาห ก รรม เก ษ ตรและอาห ารฮาลาล และก ารค้าชายแดน เพื่ อรองรับ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC ) และภูมิภาคต่างๆ จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่า แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 พ.ศ.2557-2560 ได้ให้ความสาคัญกับการพัฒนาด้านการท่องเที่ยว คือ 1) อนุรักษ์ฟื้นฟู ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาล้านนา เพื่อสร้างเสน่ห์ให้แก่การท่องเที่ยว และการนาเอาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมมาใช้ในการสร้างคุณค่าโดยเฉพาะงานหัตถกรรม ทั้งในรูปแบบสินค้าของที่ระลึกของตกแต่งบ้าน เครื่องแต่งกาย อาคารสถาปัตยกรรมต่างๆ ที่มีอัตตลักษณ์ พร้อมทั้งมุ่งเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มของภาคการผลิตและบริการ โดยใช้ ฐานความคิดสร้างสรรค์ผสมผสานกับคุณค่าของธรรมชาติ สังคม และศิลปวัฒนธรรมที่มี เอกลักษณ์ของล้านนา รวมทั้ง ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับการท่องเที่ยว และสร้างฐานเศรษฐกิจใหม่ ธุรกิจบริการสุขภาพ สปา บริการทางการแพทย์ และบริการ ทางการศึกษา อุตสาหกรรมการจัดประชุมและนิทรรศการ (MICE) ซึ่งจะเห็นได้ว่า แผนการพัฒนาดังกล่าวเอื้อประโยชน์และสนับสนุนการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาวในพื้นที่ กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 อย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาจุดขายที่สาคัญของ
  • 23. แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 19 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนลน 1 นั่นคือ เอกลักษณ์ของวัฒนธรรมล้านนา รวมทั้งยังส่งเสริม กิจกรรมการท่องเที่ยวที่จะดึงดูดนักท่องเที่ยวให่มาพานักระยะยาวในพื้นที่ด้วย 2.2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง  นิยามความหมายการพานักระยะยาว - กระทรวงการต่างประเทศ ได้ให้ความหมายการพานักระยะยาว หมายถึง นักท่องเที่ยวที่พานักอยู่ในเมืองไทยเกิน 90 วันขึ้นไป และได้วีซ่า O-A1 - สานักธุรกิจบริการ กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ ได้ให้ความหมาย การพานักระยะยาว หมายถึง ธุรกิจบริการเพื่อสุขภาพระยะยาว ( long-stay and health care ) เป็นการให้บริการร่วมกันระหว่างโรงพยาบาล รีสอร์ท โรงแรมตามสถานที่พักผ่อนทั่วประเทศ โดยใช้บริการด้านสุขภาพเป็นจุดขาย ให้บริการพักผ่อนระยะยาวพร้อมทั้งบริการด้านสุขภาพ อย่างครบวงจร ทั้งนี้เพื่อให้บริการแก่กลุ่มลูกค้าเป้าหมายผู้สูงอายุชาวต่างประเทศที่ต้องการ เข้ามาพักผ่อนแบบพานักระยะยาวนี้เป็นลักษณะการไปพานักในต่างประเทศ ซึ่ง ไม่ได้หมายความถึงการไปอยู่อาศัยเป็นการถาวรในประเทศนั้นๆ กลุ่มลูกค้าเป้าหมายผู้สูงอายุ หรือวัยเกษียณอายุ ซึ่งส่วนใหญ่ประสบความสาเร็จในชีวิตการทางาน แล้วมีกาลังซื้อสูง จะสามารถเดินทางออกนอกประเทศเป็นเวลานานๆ ได้ และต้องการหลบเลี่ยงอากาศหนาวจัด ในฤดูหนาวมาพักในประเทศที่อบอุ่นกว่า มีสิ่งแวดล้อมที่ดี มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ประเพณีกับประชาชนในท้องถิ่น มีการท่องเที่ยวเปลี่ยนบรรยากาศเป็นครั้งคราว รวมทั้ง ต้องการความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เมื่อเจ็บป่วยก็ได้รับการดูแลรักษา อย่างมีมาตรฐาน - การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ให้คาจากัดความของนักท่องเที่ยวที่พานักระยะยาว ว่าหมายถึง นักท่องเที่ยวที่พานักอยู่ในเมืองไทยเกิน 30 วันขึ้นไป โดยจาแนกเป็น 4 ประเภทคือ 1) นักท่องเที่ยวพานักระยะยาวโดยเฉพาะฤดูหนาว รวมทั้งผู้ที่มารักษาสุขภาพในเมืองไทย 1 Non-Immigrant Visa รหัส “O-A” (Long Stay) เป็นการตรวจลงตราสาหรับคนต่างชาติซึ่งมีอายุไม่ต่ากว่า 50 ปี บริบูรณ์ ซึ่งประสงค์จะเดินทางเข้าประเทศไทยเพื่อพักผ่อน โดยจะได้รับอนุญาตให้พานักในราชอาณาจักรได้ไม่เกิน 1 ปี นับตั้งแต่วันที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร และไม่ได้รับอนุญาตให้ทางานในระหว่างที่พานักในประเทศไทย
  • 24. แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปีพ.ศ.2560-2564 ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 หน้า 20 เป็นครั้งคราว 2) นักท่องเที่ยวกลุ่มหลังเกษียณที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป โดยเน้นกลุ่มที่มีสุขภาพดี และช่วยเหลือตนเองได้ 3) กลุ่มนักเรียนและนักศึกษาที่มาศึกษาภายในประเทศไทย และ 4) กลุ่มนักกีฬาที่เข้ามาเก็บตัวฝึกซ้อมในประเทศไทย - คณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวพานักระยะยาวแห่งชาติ ได้กาหนด นิยามของการพานักระยะยาวไว้ว่า เป็นนักท่องเที่ยวที่มีวันพักตั้งแต่ 1 เดือนขึ้นไป โดยในระยะแรกจะเน้กลุ่มนักท่องเที่ยวที่เกษียณอายุการทางานแล้วที่ต้องการเดินทาง มาใช้ชีวิต  แนวคิดเกี่ยวกับ Long Stay การท่องเที่ยวแบบ Long Stay นั้นมีมานานแล้ว โดยเกิดขึ้นจากประชากร ในประเทศตะวันตกและประชากรในประเทศพัฒนาแล้ว ประชากรผู้มีรายได้ดีเหล่านี้ จะแสวงหาความสุขให้ตัวเองด้วยการไปท่องเที่ยวในต่างถิ่น ทั้งในประเทศตนเองและ ต่างประเทศ โดยใช้ระยะเวลายาวนานและนิยมไปกันเป็นกลุ่ม โดยจัดรูปแบบเป็นชมรม (club) แต่พวกที่นิยมไปแบบอิสระเป็นบุคคลก็มีอยู่บ้าง การเดินทางไปท่องเที่ยวระยะยาวนานนั้น จะมีวัตถุประสงค์เจาะจงชัดเจน ในระยะหลัง ๆ นี้ความหมายของ Long Stay ได้มีการพัฒนาไปสู่การท่องเที่ยว หลากหลายรูปแบบที่เป็นการพักอาศัยนานวันแต่ก็ยังคงยึด แนวคิดหลักอันเดิม คือ การมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนเพื่อการใดการหนึ่งโดยเฉพาะ ดังนั้นการท่องเที่ยวแบบ Long Stay จึงได้มีความหมายกว้างขวางในปัจจุบันครอบคลุมถึงการท่องเที่ยวในรูปแบบต่าง ๆ ที่มิใช่ไปเที่ยวแบบทั่วไปแต่เป็นการไปพักอาศัยชั่วคราว ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการหนึ่งการใด โดยเฉพาะ สาหรับระยะเวลานั้นขึ้นอยู่กับกิจกรรมตามวัตถุประสงค์ จากแนวคิดดังกล่าวนี้ทาให้ได้กาหนดประเภทของการท่องเที่ยวแบบ Long Stay สาหรับชาวต่างชาติที่เข้ามาพานักในประเทศไทยตามวัตถุประสงค์ที่เข้ามาได้ 4 กลุ่มหลัก ดังนี้ ประเภทที่ 1 กลุ่มที่ต้องการเข้ามาใช้บั้นปลายชีวิตในการท่องเที่ยว ได้แก่ ผู้เกษียณ อายุการทางาน ผู้สูงอายุที่ขาดผู้ดูแล ประเภทที่ 2 กลุ่มที่เข้ามาเพื่อรักษาสุขภาพ ได้แก่ ผู้ที่เข้ามารักษาพยาบาลและพักฟื้น ผู้ที่ต้องการหลบสภาพอากาศที่รุนแรงในประเทศของตนบางช่วง เช่น ร้อนจัด หนาวจัด