SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 19
อนาคตภาคเหนือ
สู่ศูนย์กลาง LONG STAY ระดับนานาชาติ
วันพุธ ที่ 16 มีนาคม 2559
ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติคุ้มคา – คุ้มขันโตก จ.เชียใหมม
ดร.กรวรรณ สัใขกร
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการทอใเที่ยว สถาบันวิจัยสัใคม มมาวิทยาลัยเชียใหมม
Population by age groups and sex 1950 – 2100
Source: UN, Department of Economic and Social Affairs, Population Division (2011):
World Population Prospects: The 2010 Revision. New York
วิวัฒนาการของประชากรโลก
ของคนในช่วงอายุต่ากว่า 15 ปี และ ผู้สูงอายุ 60 ปี ข้นนปป
Source: UN Population Division Department of Economic and Social Affairs
Long stay คือ...???
■ การท่องเที่ยวพานักระยะยาว Long stay tourism
– มีวิวัฒนาการจากความต้องการของนักท่องเที่ยว การ
พักผ่อนหย่อนใจ (Recreation)
– เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Ageing Society)
– มีการพยากรณ์ในปี พ.ศ. 2568 จะมีประชากรที่เป็นผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุในโลก 340 ล้านคน
– ยุค “Baby Boomer” หรือ “Gen X“
คาจากัดความขอใ Long stay
■ กระทรวงการต่างประเทศ หมายถึง นักท่องเที่ยวที่พานักอยู่ในเมืองไทยเกิน 90
วันขึ้นไป และได้วีซ่า O-A
■ สานักธุรกิจบริการ กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ หมายถึง ธุรกิจ
บริการเพื่อสุขภาพระยะยาว (long-stay and health care) เป็นการ
ให้บริการร่วมกันระหว่างโรงพยาบาล รีสอร์ท โรงแรมตามสถานที่พักผ่อนทั่ว
ประเทศ โดยใช้บริการด้านสุขภาพเป็นจุดขาย
■ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ให้คาจากัดความของนักท่องเที่ยวที่พานักระยะยาว
ว่า หมายถึง นักท่องเที่ยวที่พานักอยู่ในเมืองไทยเกิน 30 วันขึ้นไป
แนวคิดเกี่ยวกับการท่องเที่ยวพานักระยะยาว
■ การท่องเที่ยวแบบ long Stay มีมานานแล้ว โดยเกิดขึ้นจากประชากรในประเทศตะวันตกและประชากร
ในประเทศที่เรียกตัวเองว่าประเทศพัฒนาแล้ว ประชากรผู้มีรายได้ดีเหล่านี้จะแสวงหาความสุขให้ตนเอง
ด้วยการไปท่องเที่ยวในต่างถิ่น ทั้งภายในประเทศของตนเองและต่างประเทศ โดยใช้ระยะเวลาอันยาวนาน
และนิยมไปกันเป็นกลุ่ม โดยจัดรูปแบบเป็นชมรม (club) ขึ้น แต่พวกที่นิยมไปอิสระเป็นบุคคลก็มีอยู่บ้าง
การเดินทางไปท่องเที่ยวระยะยาวแต่ละครั้งนั้นจะมีวัตถุประสงค์เจาะจงชัดเจน
■ ในระยะหลังๆนี้ความหมายของ long Stay ได้พัฒนาไปสู่การท่องเที่ยวหลายรูปแบบที่เป็นการพักอาศัย
นานวันแต่ก็ยังคงยึดแนวคิดหลักอันเดิม คือการมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน เพื่อการใดการหนึ่งโดยเฉพาะ
■ การท่องเที่ยวแบบ long Stay จึงมีความหมายกว้างขวาง ครอบคลุมถึงการท่องเที่ยวรูปแบบต่างๆ ที่มิใช่
ไปเที่ยวแบบทั่วไปแต่เป็นการไปพักอาศัยชั่วคราว ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการใดการหนึ่งโดยเฉพาะ สาหรับ
ระยะเวลานั้น และขึ้นอยู่กับกิจกรรมตามวัตถุประสงค์
ประเภทขอใการทอใเที่ยวแบบ long Stay สามรับชาวตาใชาติที่เข้ามาพักระยะยาวหนประเทศไทย
ตามวัตถุประสใค์ที่เข้ามาได้ 4 กลุมมลัก ดัในี้
■ ประเภทที่ 1 นักท่องเที่ยวพานักระยะยาว โดยเฉพาะฤดูมนาว นักทอใเที่ยวกลุมมลัใเกษียณที่มีอายุ 50 ปี
ขึ้นไป โดยเน้นกลุมที่มีสุขภาพดีและชวยเมลือตนเอใได้
■ ประเภทที่ 2 กลุ่มที่เข้ามาเพื่อรักษาสุขภาพ ได้แก ผู้ที่มาเข้ารับการรักษาพยาบาลและพักฟื้น ผู้ที่ต้อใการ
มลบสภาพอากาศที่รุนแรใหนประเทศขอใตนบาใชวใ เชน ร้อนจัด มนาวจัด
■ ประเภทที่ 3 กลุ่มที่เข้ามาเพื่อการศ้กษา ได้แก ผู้ที่เข้ามาศึกษาหนระดับตาใๆ มรือผู้เข้าอบรมหนมลักสูตรระยะ
สั้น นักเรียนแลกเปลี่ยนตามโครใการตาใๆ
■ ประเภทที่ 4 กลุ่มที่เข้ามาเพื่อฝ้กซ้อมกีฬา ได้แก นักกีฬาที่เข้าเก็บตัวฝึกซ้อมกอนการแขใขัน กลุมเยาวชนที่
เข้ามาเรียนและฝึกมัดกีฬาบาใประเภท เชน กีฬากอล์ฟ มวยไทย ฯลฯ
การทอใเที่ยวพานักระยะยาวนี้จะต้อใมีการพัฒนาสิ่ใเมลานี้เพิ่มขึ้น
■ การจัดเตรียมที่พักอาศัยที่ได้มาตรฐานสากล และมีราคาไม่แพงมากจนเกินไป
■ การจัดเตรียมที่พักอาศัยที่เพียบพร้อมไปด้วยเครื่องอานวยความสะดวกที่เหมาะสมกับ
ผู้สูงอายุที่พานักระยะยาว
■ การจัดเตรียมและการรวบรวมเครื่องอานวยความสะดวกด้านการดูแลสุขภาพ
■ กิจกรรมต่างๆ ที่ไม่เพียงแค่เพื่อการพักผ่อน และการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ แต่เพื่อจิตใจ
ร่างกาย และจิตวิญญาณด้วย
■ สนับสนุนการพานักระยะยาวในเรื่อง การคมนาคม,ภาษา,การสื่อสาร,วีซ่า,การธนาคาร,
การซื้อของ และการพัฒนาตนเอง
ลักษณะของตลาดการท่องเที่ยวแบบ Long Stay
ขั้นที่ 3
เป็นนักท่องเที่ยวพานักระยะยาว
(Long Stay) อาจจะพานักนาน
1 เดือน ถึง 6 เดือน
ขั้นที่ 4
เป็นผู้อยู่อาศัยถาวร (Permanent
Stay) ใช้เวลาพานักเป็ นปี โดย
ระหว่างพานักอยู่อาจเดินทางกลับ
ประเทศตนบ้าง
ขั้นที่ 2
เป็นนักท่องเที่ยวธรรมดาที่ใช้เวลา
ยาวนานขึ้น (Stay-longer) ใช้
เวลานานขึ้นเป็น 2-3 สัปดาห์
ขั้นที่ 1
เป็ นนักท่องเที่ยวธรรมดา
(Tourist) ใช้ เวลาในการ
ท่องเที่ยวระหว่าง 7-10 วัน
กลุ่มประเทศเป้ าหมาย
สาหรับการท่องเที่ยว แบบ Long Stay
สหรัฐอเมริกา
ญี่ปุ่ น
เยอรมัน
อังกฤษ & ฝรั่งเศส
จากสถิตินักทอใเที่ยวผู้สูใอายุขอใโลก พบวากลุมผู้สูใอายุที่หม้ความสนหจหนการเดินทาใไปพานัก
ระยะยาวหนตาใประเทศมักจะอยูหนประเทศ ที่มีคาครอใชีพสูใ
ความต้องการของตลาดการท่องเที่ยว แบบ Long Stay
เน้นการท่องเที่ยวและบริการที่มีคุณภาพ
ความมั่นใจด้านความปลอดภัย
กิจกรรมที่เหมาะสมกับวัยและสุขภาพ
ความมั่นใจด้านบริการดูแลสุขภาพที่ดี
กลุ่มตลาดนักท่องเที่ยวเกษียณอายุการทางาน
ความต้องการของตลาดการท่องเที่ยว แบบ Long Stay
เน้นกิจกรรมเชิงผจญภัย และการ
แลกเปลี่ยนวัฒนธรรม
ต้องการสัมผัสสิ่งแปลกใหม่
บริการอื่นๆ มีความต้องการปม่แตกต่าง
จากกลุ่มนักท่องเที่ยว
ความสามารถในการใช้จ่ายปม่สูงมากนัก
แต่ซืนอง่าย
กลุ่มเยาวชนที่เข้ามาเพื่อการศ้กษา
ประเทศไทยยังมีโอกาส
ในการส่งเสริมการลงทุนในการรองรับนักท่องเที่ยวที่
ต้องการมาเที่ยวแบบ (long stay)
• กลุ่มผู้สูงอายุมีสัดส่วนจานวนมากขึ้นคิดเป็นจานวน 340 ล้านคนในปี 2568 และนิยมมาพักอาศัยระยะยาวในต่างประเทศ
ก่อให้เกิดโอกาสในการสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวพักผ่อนและการรักษาพยาบาล
• ประเทศไทยเป็นที่น่าสนใจของชาวต่างประเทศในการมาพานักระยะยาวเนื่องจากปัจจัยสนับสนุนทางด้านค่าครองชีพที่ต่า
สภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศที่เหมาะสม สังคมและวัฒนธรรมที่เป็นมิตร และการบริการทางการท่องเที่ยวที่ครบครัน
• มีแหล่งที่มีศักยภาพสูงในพื้นที่ในหลายภาค ได้แก่ เชียงใหม่ สุโขทัย หัวหิน-ชะอา กาญจนบุรี และหนองคาย* ซึ่งมีลักษณะที่
แตกต่างทาให้สามารถตอบโจทย์ความต้องการของนักท่องเที่ยวจากหลายประเทศ
• จังหวัดเชียงใหม่เป็นแหล่งยอดนิยมในการมาพักอาศัยระยะยาวของนักท่องเที่ยวชาวญี่ปุ่นซึ่งถือเป็นนักท่องเที่ยวอันดับหนึ่งใน
การสร้างรายได้
ชาย หญิง ชาย หญิง
2553 2573
14.6 ล้านคน
จุดแข็ใและโอกาสขอใธุรกิจ Long Stay ภาคเมนือ
16
•แหล่งท่องเที่ยวที่อุดมสมบูรณ์และหลากหลายทั้งทางธรรมชาติ
วัฒนธรรม
• ไทยเป็นผู้นาหลักในภูมิภาคในธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ จากการบริการ
ที่เป็นเลิศ อัตราค่าบริการรักษาที่ต่ากว่าหลายๆประเทศ บุคลากรทางการแพทย์
ที่ได้รับการอบรมจากการแพทย์ตะวันตกสมัยใหม่ รวมถึงมีโรงพยาบาลที่ได้รับ
การรับรองมาตรฐานจากสหรัฐอเมริกาถึง 8 แห่ง โดยเป็นรองเพียงแค่สิงคโปร์
โอกาส และอุปสรรค์ขอใธุรกิจ Long Stay ภาคเมนือ
• การบูรณาการขอใผู้ประกอบการด้านตาใๆ เพื่อผลักดันหม้เกิดการพัฒนาธุรกิจ Long Stay อยาใยั่ใยืน
- ผู้ประกอบการที่พักอาศัย
- ผู้ประกอบการร้านอามาร
- ผู้ประกอบการสปา และการทอใเที่ยวเชิใสุขภาพ
- ผู้ประกอบการสนามกอล์ฟ
- ผู้ประกอบการร้านค้าปลีก และบริการสาธารณูปโภค
- ผู้ประกอบการร้านขอใฝาก ขอใที่ระลึก
• การสร้าใความรู้ ความเข้าหจหม้แกผู้ประกอบการหนเรื่อใขอใผลิตภัณฑ์ Long Stay เพื่อหม้เข้าถึใกลุมลูกค้าเป้ามมายที่แตกตาใกัน
- กลุมลูกค้ามลัใเกษียณอายุ
- กลุมลูกค้าการทอใเที่ยวเชิใสุขภาพ
- กลุมลูกค้ากอล์ฟและการพักผอนมยอนหจ
- กลุมลูกค้า Expatriate
เหตุผลสาคัญที่ไม่สนใจจะมาท่องเที่ยวพานักระยะยาว
ในประเทศไทย
ไม่มีโอกาสและเวลาที่จะมาพักผ่อนนานถึง 1 เดือน
มีอายุมากเกินไป ไม่สะดวกที่จะมาอยู่เป็นเวลานาน
ชอบที่จะเดินทางไปท่องเที่ยวในสถานที่ใหม่ๆ
ต้องกลับไปทางานต่อ
Tourism Sri
Cmu
Tourism.sri.cmu@gmail.com

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Tourism principles and practice
Tourism principles and practiceTourism principles and practice
Tourism principles and practiceSomyot Ongkhluap
 
ธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมWichien Juthamongkol
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 sudchaleom
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยNurat Puankhamma
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวSomyot Ongkhluap
 
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคใต้ (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคใต้ (2556).pdfวัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคใต้ (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคใต้ (2556).pdfVorawut Wongumpornpinit
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการTam Taam
 
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยวบทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว재 민 Praew 김
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยKorawan Sangkakorn
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวบุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวSomyot Ongkhluap
 
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์nasomyon13
 
แบบโครงการท่องเที่ยว
แบบโครงการท่องเที่ยวแบบโครงการท่องเที่ยว
แบบโครงการท่องเที่ยวZ'Jame Clup
 
2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยวchickyshare
 
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่มอาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่มI'Mah Sunshine
 
ระบบสารสนเทศทางการศึกษา(ห้องสมุด)
ระบบสารสนเทศทางการศึกษา(ห้องสมุด)ระบบสารสนเทศทางการศึกษา(ห้องสมุด)
ระบบสารสนเทศทางการศึกษา(ห้องสมุด)jjworapod
 
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรมกฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรมNurat Puankhamma
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้Nattapakwichan Joysena
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21Prachyanun Nilsook
 

La actualidad más candente (20)

Tourism principles and practice
Tourism principles and practiceTourism principles and practice
Tourism principles and practice
 
ธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรม
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
 
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคใต้ (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคใต้ (2556).pdfวัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคใต้ (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคใต้ (2556).pdf
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยวบทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวบุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
 
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
 
แบบโครงการท่องเที่ยว
แบบโครงการท่องเที่ยวแบบโครงการท่องเที่ยว
แบบโครงการท่องเที่ยว
 
2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว
 
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่มอาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่ม
 
ระบบสารสนเทศทางการศึกษา(ห้องสมุด)
ระบบสารสนเทศทางการศึกษา(ห้องสมุด)ระบบสารสนเทศทางการศึกษา(ห้องสมุด)
ระบบสารสนเทศทางการศึกษา(ห้องสมุด)
 
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรมกฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
 

Destacado

ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหนผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหนKorawan Sangkakorn
 
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ Korawan Sangkakorn
 
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุการท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุKorawan Sangkakorn
 
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta ElliotPublishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta ElliotKorawan Sangkakorn
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็กการพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็กKorawan Sangkakorn
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
การท่องเที่ยวตลาดใหม่
การท่องเที่ยวตลาดใหม่การท่องเที่ยวตลาดใหม่
การท่องเที่ยวตลาดใหม่Korawan Sangkakorn
 
Chinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang maiChinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang maiKorawan Sangkakorn
 
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชนการถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชนKorawan Sangkakorn
 
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ HomestayKorawan Sangkakorn
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green TourismKorawan Sangkakorn
 

Destacado (17)

CBT in Chiang Mai & Lamphoon
CBT in Chiang Mai & LamphoonCBT in Chiang Mai & Lamphoon
CBT in Chiang Mai & Lamphoon
 
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหนผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
 
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
 
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุการท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
 
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta ElliotPublishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
 
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็กการพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
 
CNX Tourism Situation
CNX Tourism SituationCNX Tourism Situation
CNX Tourism Situation
 
LPB Tourism Situation
LPB Tourism SituationLPB Tourism Situation
LPB Tourism Situation
 
LPB city plan
LPB city planLPB city plan
LPB city plan
 
การท่องเที่ยวตลาดใหม่
การท่องเที่ยวตลาดใหม่การท่องเที่ยวตลาดใหม่
การท่องเที่ยวตลาดใหม่
 
Tourism Behavior in LPB
Tourism Behavior in LPBTourism Behavior in LPB
Tourism Behavior in LPB
 
Chinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang maiChinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang mai
 
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชนการถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
 
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
 

Similar a อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ

นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
เรื่องน่าวิจัยในศตวรรษที่ 21st
เรื่องน่าวิจัยในศตวรรษที่ 21st เรื่องน่าวิจัยในศตวรรษที่ 21st
เรื่องน่าวิจัยในศตวรรษที่ 21st Duangnapa Inyayot
 
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยLeoBlack1017
 
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...Klangpanya
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนNooa Love
 

Similar a อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ (9)

วิจัยสิทธิ์ ใกล้เสด
วิจัยสิทธิ์ ใกล้เสดวิจัยสิทธิ์ ใกล้เสด
วิจัยสิทธิ์ ใกล้เสด
 
ประวัติยิมนาสติก
ประวัติยิมนาสติกประวัติยิมนาสติก
ประวัติยิมนาสติก
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
IFMSA - General
IFMSA - GeneralIFMSA - General
IFMSA - General
 
เรื่องน่าวิจัยในศตวรรษที่ 21st
เรื่องน่าวิจัยในศตวรรษที่ 21st เรื่องน่าวิจัยในศตวรรษที่ 21st
เรื่องน่าวิจัยในศตวรรษที่ 21st
 
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
 
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อน
 
V 287
V 287V 287
V 287
 

Más de Korawan Sangkakorn

ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยKorawan Sangkakorn
 
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่Korawan Sangkakorn
 
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยวการพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยวKorawan Sangkakorn
 
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยวทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยวKorawan Sangkakorn
 
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนาท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนาKorawan Sangkakorn
 
Tourism competitive strategies of thailand and gms countries
Tourism competitive strategies of thailand and gms countriesTourism competitive strategies of thailand and gms countries
Tourism competitive strategies of thailand and gms countriesKorawan Sangkakorn
 

Más de Korawan Sangkakorn (6)

ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
 
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
 
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยวการพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
 
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยวทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
 
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนาท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
 
Tourism competitive strategies of thailand and gms countries
Tourism competitive strategies of thailand and gms countriesTourism competitive strategies of thailand and gms countries
Tourism competitive strategies of thailand and gms countries
 

อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ

  • 1. อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง LONG STAY ระดับนานาชาติ วันพุธ ที่ 16 มีนาคม 2559 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติคุ้มคา – คุ้มขันโตก จ.เชียใหมม ดร.กรวรรณ สัใขกร ศูนย์วิจัยและพัฒนาการทอใเที่ยว สถาบันวิจัยสัใคม มมาวิทยาลัยเชียใหมม
  • 2. Population by age groups and sex 1950 – 2100 Source: UN, Department of Economic and Social Affairs, Population Division (2011): World Population Prospects: The 2010 Revision. New York
  • 3. วิวัฒนาการของประชากรโลก ของคนในช่วงอายุต่ากว่า 15 ปี และ ผู้สูงอายุ 60 ปี ข้นนปป Source: UN Population Division Department of Economic and Social Affairs
  • 4.
  • 5.
  • 6. Long stay คือ...??? ■ การท่องเที่ยวพานักระยะยาว Long stay tourism – มีวิวัฒนาการจากความต้องการของนักท่องเที่ยว การ พักผ่อนหย่อนใจ (Recreation) – เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Ageing Society) – มีการพยากรณ์ในปี พ.ศ. 2568 จะมีประชากรที่เป็นผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุในโลก 340 ล้านคน – ยุค “Baby Boomer” หรือ “Gen X“
  • 7. คาจากัดความขอใ Long stay ■ กระทรวงการต่างประเทศ หมายถึง นักท่องเที่ยวที่พานักอยู่ในเมืองไทยเกิน 90 วันขึ้นไป และได้วีซ่า O-A ■ สานักธุรกิจบริการ กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ หมายถึง ธุรกิจ บริการเพื่อสุขภาพระยะยาว (long-stay and health care) เป็นการ ให้บริการร่วมกันระหว่างโรงพยาบาล รีสอร์ท โรงแรมตามสถานที่พักผ่อนทั่ว ประเทศ โดยใช้บริการด้านสุขภาพเป็นจุดขาย ■ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ให้คาจากัดความของนักท่องเที่ยวที่พานักระยะยาว ว่า หมายถึง นักท่องเที่ยวที่พานักอยู่ในเมืองไทยเกิน 30 วันขึ้นไป
  • 8. แนวคิดเกี่ยวกับการท่องเที่ยวพานักระยะยาว ■ การท่องเที่ยวแบบ long Stay มีมานานแล้ว โดยเกิดขึ้นจากประชากรในประเทศตะวันตกและประชากร ในประเทศที่เรียกตัวเองว่าประเทศพัฒนาแล้ว ประชากรผู้มีรายได้ดีเหล่านี้จะแสวงหาความสุขให้ตนเอง ด้วยการไปท่องเที่ยวในต่างถิ่น ทั้งภายในประเทศของตนเองและต่างประเทศ โดยใช้ระยะเวลาอันยาวนาน และนิยมไปกันเป็นกลุ่ม โดยจัดรูปแบบเป็นชมรม (club) ขึ้น แต่พวกที่นิยมไปอิสระเป็นบุคคลก็มีอยู่บ้าง การเดินทางไปท่องเที่ยวระยะยาวแต่ละครั้งนั้นจะมีวัตถุประสงค์เจาะจงชัดเจน ■ ในระยะหลังๆนี้ความหมายของ long Stay ได้พัฒนาไปสู่การท่องเที่ยวหลายรูปแบบที่เป็นการพักอาศัย นานวันแต่ก็ยังคงยึดแนวคิดหลักอันเดิม คือการมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน เพื่อการใดการหนึ่งโดยเฉพาะ ■ การท่องเที่ยวแบบ long Stay จึงมีความหมายกว้างขวาง ครอบคลุมถึงการท่องเที่ยวรูปแบบต่างๆ ที่มิใช่ ไปเที่ยวแบบทั่วไปแต่เป็นการไปพักอาศัยชั่วคราว ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการใดการหนึ่งโดยเฉพาะ สาหรับ ระยะเวลานั้น และขึ้นอยู่กับกิจกรรมตามวัตถุประสงค์
  • 9. ประเภทขอใการทอใเที่ยวแบบ long Stay สามรับชาวตาใชาติที่เข้ามาพักระยะยาวหนประเทศไทย ตามวัตถุประสใค์ที่เข้ามาได้ 4 กลุมมลัก ดัในี้ ■ ประเภทที่ 1 นักท่องเที่ยวพานักระยะยาว โดยเฉพาะฤดูมนาว นักทอใเที่ยวกลุมมลัใเกษียณที่มีอายุ 50 ปี ขึ้นไป โดยเน้นกลุมที่มีสุขภาพดีและชวยเมลือตนเอใได้ ■ ประเภทที่ 2 กลุ่มที่เข้ามาเพื่อรักษาสุขภาพ ได้แก ผู้ที่มาเข้ารับการรักษาพยาบาลและพักฟื้น ผู้ที่ต้อใการ มลบสภาพอากาศที่รุนแรใหนประเทศขอใตนบาใชวใ เชน ร้อนจัด มนาวจัด ■ ประเภทที่ 3 กลุ่มที่เข้ามาเพื่อการศ้กษา ได้แก ผู้ที่เข้ามาศึกษาหนระดับตาใๆ มรือผู้เข้าอบรมหนมลักสูตรระยะ สั้น นักเรียนแลกเปลี่ยนตามโครใการตาใๆ ■ ประเภทที่ 4 กลุ่มที่เข้ามาเพื่อฝ้กซ้อมกีฬา ได้แก นักกีฬาที่เข้าเก็บตัวฝึกซ้อมกอนการแขใขัน กลุมเยาวชนที่ เข้ามาเรียนและฝึกมัดกีฬาบาใประเภท เชน กีฬากอล์ฟ มวยไทย ฯลฯ
  • 10. การทอใเที่ยวพานักระยะยาวนี้จะต้อใมีการพัฒนาสิ่ใเมลานี้เพิ่มขึ้น ■ การจัดเตรียมที่พักอาศัยที่ได้มาตรฐานสากล และมีราคาไม่แพงมากจนเกินไป ■ การจัดเตรียมที่พักอาศัยที่เพียบพร้อมไปด้วยเครื่องอานวยความสะดวกที่เหมาะสมกับ ผู้สูงอายุที่พานักระยะยาว ■ การจัดเตรียมและการรวบรวมเครื่องอานวยความสะดวกด้านการดูแลสุขภาพ ■ กิจกรรมต่างๆ ที่ไม่เพียงแค่เพื่อการพักผ่อน และการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ แต่เพื่อจิตใจ ร่างกาย และจิตวิญญาณด้วย ■ สนับสนุนการพานักระยะยาวในเรื่อง การคมนาคม,ภาษา,การสื่อสาร,วีซ่า,การธนาคาร, การซื้อของ และการพัฒนาตนเอง
  • 11. ลักษณะของตลาดการท่องเที่ยวแบบ Long Stay ขั้นที่ 3 เป็นนักท่องเที่ยวพานักระยะยาว (Long Stay) อาจจะพานักนาน 1 เดือน ถึง 6 เดือน ขั้นที่ 4 เป็นผู้อยู่อาศัยถาวร (Permanent Stay) ใช้เวลาพานักเป็ นปี โดย ระหว่างพานักอยู่อาจเดินทางกลับ ประเทศตนบ้าง ขั้นที่ 2 เป็นนักท่องเที่ยวธรรมดาที่ใช้เวลา ยาวนานขึ้น (Stay-longer) ใช้ เวลานานขึ้นเป็น 2-3 สัปดาห์ ขั้นที่ 1 เป็ นนักท่องเที่ยวธรรมดา (Tourist) ใช้ เวลาในการ ท่องเที่ยวระหว่าง 7-10 วัน
  • 12. กลุ่มประเทศเป้ าหมาย สาหรับการท่องเที่ยว แบบ Long Stay สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่ น เยอรมัน อังกฤษ & ฝรั่งเศส จากสถิตินักทอใเที่ยวผู้สูใอายุขอใโลก พบวากลุมผู้สูใอายุที่หม้ความสนหจหนการเดินทาใไปพานัก ระยะยาวหนตาใประเทศมักจะอยูหนประเทศ ที่มีคาครอใชีพสูใ
  • 13. ความต้องการของตลาดการท่องเที่ยว แบบ Long Stay เน้นการท่องเที่ยวและบริการที่มีคุณภาพ ความมั่นใจด้านความปลอดภัย กิจกรรมที่เหมาะสมกับวัยและสุขภาพ ความมั่นใจด้านบริการดูแลสุขภาพที่ดี กลุ่มตลาดนักท่องเที่ยวเกษียณอายุการทางาน
  • 14. ความต้องการของตลาดการท่องเที่ยว แบบ Long Stay เน้นกิจกรรมเชิงผจญภัย และการ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ต้องการสัมผัสสิ่งแปลกใหม่ บริการอื่นๆ มีความต้องการปม่แตกต่าง จากกลุ่มนักท่องเที่ยว ความสามารถในการใช้จ่ายปม่สูงมากนัก แต่ซืนอง่าย กลุ่มเยาวชนที่เข้ามาเพื่อการศ้กษา
  • 15. ประเทศไทยยังมีโอกาส ในการส่งเสริมการลงทุนในการรองรับนักท่องเที่ยวที่ ต้องการมาเที่ยวแบบ (long stay) • กลุ่มผู้สูงอายุมีสัดส่วนจานวนมากขึ้นคิดเป็นจานวน 340 ล้านคนในปี 2568 และนิยมมาพักอาศัยระยะยาวในต่างประเทศ ก่อให้เกิดโอกาสในการสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวพักผ่อนและการรักษาพยาบาล • ประเทศไทยเป็นที่น่าสนใจของชาวต่างประเทศในการมาพานักระยะยาวเนื่องจากปัจจัยสนับสนุนทางด้านค่าครองชีพที่ต่า สภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศที่เหมาะสม สังคมและวัฒนธรรมที่เป็นมิตร และการบริการทางการท่องเที่ยวที่ครบครัน • มีแหล่งที่มีศักยภาพสูงในพื้นที่ในหลายภาค ได้แก่ เชียงใหม่ สุโขทัย หัวหิน-ชะอา กาญจนบุรี และหนองคาย* ซึ่งมีลักษณะที่ แตกต่างทาให้สามารถตอบโจทย์ความต้องการของนักท่องเที่ยวจากหลายประเทศ • จังหวัดเชียงใหม่เป็นแหล่งยอดนิยมในการมาพักอาศัยระยะยาวของนักท่องเที่ยวชาวญี่ปุ่นซึ่งถือเป็นนักท่องเที่ยวอันดับหนึ่งใน การสร้างรายได้ ชาย หญิง ชาย หญิง 2553 2573 14.6 ล้านคน
  • 16. จุดแข็ใและโอกาสขอใธุรกิจ Long Stay ภาคเมนือ 16 •แหล่งท่องเที่ยวที่อุดมสมบูรณ์และหลากหลายทั้งทางธรรมชาติ วัฒนธรรม • ไทยเป็นผู้นาหลักในภูมิภาคในธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ จากการบริการ ที่เป็นเลิศ อัตราค่าบริการรักษาที่ต่ากว่าหลายๆประเทศ บุคลากรทางการแพทย์ ที่ได้รับการอบรมจากการแพทย์ตะวันตกสมัยใหม่ รวมถึงมีโรงพยาบาลที่ได้รับ การรับรองมาตรฐานจากสหรัฐอเมริกาถึง 8 แห่ง โดยเป็นรองเพียงแค่สิงคโปร์
  • 17. โอกาส และอุปสรรค์ขอใธุรกิจ Long Stay ภาคเมนือ • การบูรณาการขอใผู้ประกอบการด้านตาใๆ เพื่อผลักดันหม้เกิดการพัฒนาธุรกิจ Long Stay อยาใยั่ใยืน - ผู้ประกอบการที่พักอาศัย - ผู้ประกอบการร้านอามาร - ผู้ประกอบการสปา และการทอใเที่ยวเชิใสุขภาพ - ผู้ประกอบการสนามกอล์ฟ - ผู้ประกอบการร้านค้าปลีก และบริการสาธารณูปโภค - ผู้ประกอบการร้านขอใฝาก ขอใที่ระลึก • การสร้าใความรู้ ความเข้าหจหม้แกผู้ประกอบการหนเรื่อใขอใผลิตภัณฑ์ Long Stay เพื่อหม้เข้าถึใกลุมลูกค้าเป้ามมายที่แตกตาใกัน - กลุมลูกค้ามลัใเกษียณอายุ - กลุมลูกค้าการทอใเที่ยวเชิใสุขภาพ - กลุมลูกค้ากอล์ฟและการพักผอนมยอนหจ - กลุมลูกค้า Expatriate
  • 18. เหตุผลสาคัญที่ไม่สนใจจะมาท่องเที่ยวพานักระยะยาว ในประเทศไทย ไม่มีโอกาสและเวลาที่จะมาพักผ่อนนานถึง 1 เดือน มีอายุมากเกินไป ไม่สะดวกที่จะมาอยู่เป็นเวลานาน ชอบที่จะเดินทางไปท่องเที่ยวในสถานที่ใหม่ๆ ต้องกลับไปทางานต่อ

Notas del editor

  1. กลุ่มประเทศเป้าหมาย  จากสถิตินักท่องเที่ยวสูงอายุของโลก (55 ปี+) พบว่า นักท่องเที่ยวสหรัฐอเมริกาเป็นกลุ่มตลาดที่ใหญ่ที่สุด รองลงมาได้แก่ ญี่ปุ่น เยอรมัน อังกฤษ ฝรั่งเศส ตามลำดับ จะเห็นได้ว่า กลุ่มผู้สูงอายุที่ให้ความสนใจในการเดินทางไปพำนักระยะยาวในต่างประเทศมักจะอยู่ในประเทศ ที่มีค่าครองชีพสูง แต่เนื่องจากประเทศเหล่านี้จะมีเงินสวัสดิการให้แก่ผู้ที่เกษียณอายุ ได้แก่ เงินบำนาญ เงินประกันสังคม ฯลฯ โดยจ่ายให้เป็นจำนวนเงินค้อนข้างมากเมื่อเทียบกับอัตราค่าครองชีพของประเทศอื่น ๆ ทำให้ประชาชนในประเทศดังกล่าวมีกำลังทรัพย์ในการไปพำนักในประเทศอื่นเป็นเวลานานได้ สำหรับกลุ่มนักเรียนนักศึกษาและกลุ่มเยาวชนนั้นพิจารณาเห็นว่าการทำการตลาดในระยะแรก จะมุ่งเน้นที่ประเทศเพื่อนบ้าน และประเทศใกล้เคียงที่อยู่ในภูมิภาคเอเชียเป็นหลัก เนื่องจากประเทศเหล่านั้นมีการรับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับระบบการศึกษาของไทยค่อนข้างดี และมีความสนใจพื้นฐานอยู่บ้าง ซึ่งขณะนี้จำนวนนักเรียน นักศึกษาจากประเทศเพื่อนบ้าน และประเทศใกล้เคียงเข้ามาศึกษาในสถานศึกษาต่างๆ ของประเทศไทยเพิ่มมากขึ้นทุกปี ททท.จึงได้พิจารณาตลาดนักท่องเที่ยวหลักของประเทศไทยและได้กำหนดกลุ่มประเทศเป้าหมาย สำหรับการ ส่งเสริมการท่องเที่ยวพำนักระยะยาว ดังนี้ - กลุ่มเกษียณอายุการทำงานแล้ว  - กลุ่มเยาวชนที่เข้ามาศึกษา ได้แก่ประเทศเพื่อนบ้าน เกาหลี ญี่ปุ่น สิงค์โปร์และจีน ฯลฯ