SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 68
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 3 หลักการอ่าน
อาจารย์มัลลิกา ผ่องแผ้ว
เนื้อหาที่จะเรียนในบทที่ 3 หลักการอ่าน
 ความหมายของการอ่าน
 จุดมุ่งหมายของการอ่าน
 ประเภทของการอ่าน
 ความสาคัญของการอ่าน
 หลักการอ่านคาในภาษาไทย
 คุณสมบัติของนักอ่านที่ดี
บทนา หลักการอ่านในภาษาไทย
การอ่าน อาจจะกล่าวได้ว่าเป็นหัวใจของการอ่านทั้งนี้เพราะจุดประสงค์เบื้องต้นของ
การอ่าน โดยทั่วไปคือ เพื่อความเข้าใจในเรื่องที่อ่าน อ่านแล้วสรุปได้ใจความ ดังนั้นถ้าอ่าน
แล้วไม่เข้าใจเรื่องที่อ่านก็ทาให้ไม่ทราบว่าผู้เขียนต้องการที่จะสื่ออะไร ทาให้ไม่บรรลุ
วัตถุประสงค์ของการอ่าน
“การอ่านทาคนให้เป็นคนโดยสมบูรณ์”
เป็นคากล่าวของ เซอร์ ฟรานซิส เบคอน นักปรัชญาเมธีชาวอังกฤษ แสดงให้
เห็นว่า การอ่านเป็นสิ่งสาคัญสาหรับมนุษย์ เพราะมนุษย์จะไม่สามารถเป็นมนุษย์อยู่ได้อย่าง
สมบูรณ์แบบหากปราศจากการอ่าน ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่ของทักษะทางภาษาที่จาเป็นต้องฝึกฝน
อยู่สม่าเสมอ และสามารถฝึกฝนได้เรื่อยๆ ตามวัย และประสบการณ์ไม่มีวันสิ้นสุด เป็นสิ่ง
สาคัญที่จะช่วยให้มนุษย์ได้รับความคิด ความรู้และความบันเทิง มีผลต่อชีวิตและจิตใจของ
มนุษย์ให้เจริญ
ความหมายของการอ่าน
ชวาล แพรัตกุล (2520 : 134) ได้ให้ความหมายของความเข้าใจว่า เป็นความสามารถใน
การผสมแล้วขยายความรู้ความจา ให้ได้ไกลออกไปจากเดิมอย่างสมเหตุสมผลซึ่งจะต้องมี
คุณสมบัติหลาย ประการดังนี้ คือ
1. รู้ความหมายและรายละเอียดย่อยๆ ของเรื่องมาก่อนแล้ว
2. รู้ความเกี่ยวข้องความสัมพันธ์ระหว่างขั้นและความรู้ย่อยๆ เหล่านั้น
3. สามารถอธิบายสิ่งเหล่านั้นได้ด้วยภาษาของตนเอง
4. เมื่อพบสิ่งอื่นใดที่มีสภาพทานองเดียวกับที่เคยเรียนรู้มาก่อน ก็สามารถตอบ
และอธิบายได้
ความหมายของการอ่าน (ต่อ)
ทรงพันธ์ วรรณมาศ (2524 : 2–3) ได้แสดงความคิดเห็นว่าการที่ผู้อ่านจะมีความเข้าใจ
ในการอ่านและจับใจความได้นั้น จะต้องสืบเนื่องมาจากการอ่านได้เกิดทักษะ
5 ขั้น ตามลาดับคือ
ขั้นที่ 1 อ่านออก เป็นหลักการอ่านเบื้องต้นตั้งแต่วัยเด็กเริ่มหัดอ่าน ก็จะต้องอ่านออก
เสียงให้ถูกต้อง หรือเมื่ออ่านตาราออกเสียงก็ยังเป็นส่วนสาคัญอยู่
ขั้นที่ 2 อ่านคล่อง หมายถึง การอ่านในใจ ซึ่งเป็นการอ่านขั้นสูง เพราะเมื่ออ่านออกเสียง
เกิดความชานาญแล้วการอ่านในใจก็จะตามมา การอ่านประเภทนี้จะต้องกินเวลา
ในการอ่านสั้นๆ
ความหมายของการอ่าน (ต่อ)
ขั้นที่ 3 อ่านเข้าใจเรื่อง ได้แก่ การอ่านแล้วได้รับความรู้ใหม่
ขั้นที่ 4 อ่านแยกแยะชนิดของข้อความได้ โดยเฉพาะข้อความจริง ข้อคิดเห็น และข้อ
แสดงอารมณ์
ขั้นที่ 5 อ่านแล้วตีความหรือวินิจฉัยสารได้ ขั้นนี้เป็นขั้นที่จาเป็นมากที่สุดในการอ่าน
หนังสือ ผู้อ่านจะต้องเข้าใจว่าผู้เขียนได้ส่งสารอะไรมาให้ผู้อ่านบ้างโดยผู้อ่านต้อง
พิจารณาเอง
ความหมายของการอ่าน (ต่อ)
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายของการอ่านว่า “การอ่านตามตัวหนังสือ
การออกเสียงตามตัวหนังสือ การดูหรือเข้าใจความจากตัวหนังสือ : สังเกต หรือพิจารณาดู
เพื่อให้เข้าใจ : คิด นับ (ไทยเดิม)”
จากคาจากัดความข้างต้นนี้ การอ่านในที่นี้จึงหมายถึงการอ่านในใจและการอ่านออก
เสียง สมบัติ จาปาเงิน ให้ความหมายของการอ่านว่า เป็นการเก็บรวบรวมความคิดที่ปรากฏ
อยู่ในหนังสือที่อ่าน
ความหมายของการอ่าน (ต่อ)
สรุปว่าการอ่านที่จะได้ผลต้องพิจารณาจากพฤติกรรมพื้นฐาน 3 ด้าน คือการแปล
ความตีความและการขยายความ
การแปลความ คือ การเข้าใจเรื่องราวอย่างตรงไปตรงมา
การตีความ คือ การเข้าใจเรื่องราวอย่างลึกซึ้ง และอาจแยกแยะไปได้อีกหลาย
แง่มุม
การขยายความ คือ การนาเสนอความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในรูปของการอธิบาย
เพิ่มเติม
สรุป ความหมายของการอ่าน
การอ่าน คือ การรับรู้ข้อความในการเขียนของตนเองหรือของผู้อื่น รวมถึงการการรับรู้
ความหมายจากเครื่องหมายและสัญลักษณ์ต่างๆ เช่น สัญลักษณ์จราจร เครื่องหมาย
ที่แสดงบนแผนที่ เป็นต้น
การรับรู้ข้อความ เข้าใจเรื่องราว หรือได้รับรสความบันเทิงใจตรงตามจุดประสงค์
ของผู้เขียนเป็นการอ่านที่ดีและได้ประโยชน์อย่างแท้จริง
จุดมุ่งหมายของการอ่าน
การอ่านจากหนังสือและสื่อแต่ละครั้งของแต่ละคนจะมีจุดมุ่งหมายแตกต่างกัน
ออกไป อาจจาแนก ได้กว้างๆ ดังนี้
1.การอ่านเพื่อหาความรู้
การอ่านเพื่อหาความรู้ ได้แก่ การอ่านหนังสือจากหนังสือประเภทตาราทางวิชาการ
สารคดีทางวิชาการ การวิจัยประเภทต่างๆ หรือการอ่านผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การอ่าน
จากหนังสือที่มีสาระเดียวกันควรอ่านจาก ผู้เขียนหลายๆ คน เพื่อเป็นการตรวจสอบ
ความถูกต้องแม่นยา ของเนื้อหา ผู้อ่านจะได้มีมุมมองที่กว้างขึ้น มี ความรอบรู้ได้แนวคิด
ที่หลากหลาย และไม่ควรอ่านเฉพาะในเนื้อหาวิชาที่ตนชอบเท่านั้น ควรอ่านอย่าง
หลากหลายเพราะความรู้ในวิชาหนึ่ง อาจนาไปช่วยเสริมในอีกวิชาหนึ่งได้
จุดมุ่งหมายของการอ่าน (ต่อ)
2. การอ่านเพื่อความบันเทิง
การอ่านเพื่อความบันเทิงได้แก่ การอ่านจากหนังสือประเภทสารคดีท่องเที่ยว
นวนิยาย เรื่องสั้น เรื่องแปล การ์ตูน บทประพันธ์ บทเพลง แม้จะเป็นการอ่าน
เพื่อความบันเทิง แต่ผู้อ่านจะได้ความรู้ที่สอดแทรกอยู่ในเรื่องด้วย การอ่านประเภทนี้มี
ข้อควรระวังว่าปัจจุบันหนังสือบางชนิดมีเนื้อหาสาระและรูปภาพที่ขัดต่อวัฒนธรรมและ
จารีตประเพณีไทย ผู้อ่านจึงควรพิจารณาเลือกให้ดี
จุดมุ่งหมายของการอ่าน (ต่อ)
3.การอ่านเพื่อทราบข่าวสาร ความคิด
การอ่านเพื่อทราบข่าวสาร ความคิด ได้แก่ การอ่านหนังสือประเภทบทความ
บทวิจารณ์ ข่าว รายงาน การประชุม ข้อควรระวัง ในการอ่านประเภทนี้ คือ ผู้อ่านมักเลือก
อ่านสื่อที่สอดคล้องกับความคิดและ ความชอบของตน จึงทา ให้ปิดกั้นการรับรู้และแนวคิด
ด้านอื่นๆ ดังนั้น ถ้าจะเกิดประโยชน์อย่างแท้จริงต้องเลือกอ่านอย่างหลากหลายไม่เจาะจง
อ่านเฉพาะสื่อที่นาเสนอตรงกับความคิดของตน เพราะจะทาให้มุมมองที่กว้างขึ้นอันจะช่วย
ให้เรามีเหตุผลอื่นๆ มาประกอบการวิจารณ์ วิเคราะห์ได้ลุ่มลึกมากขึ้น
จุดมุ่งหมายของการอ่าน (ต่อ)
4.การอ่านเพื่อจุดประสงค์เฉพาะแต่ละครั้ง
การอ่านเพื่อจุดประสงค์เฉพาะแต่ละครั้ง ได้แก่ การอ่านที่ไม่ได้เจาะจง แต่เป็น
การอ่านเป็นครั้งคราวในเรื่องที่ตนสนใจหรืออยากรู้ เช่น การอ่านประกาศต่างๆ การอ่าน
โฆษณา แผ่นพับประชาสัมพันธ์ สลากยา การอ่านสมุดโทรศัพท์หน้าเหลือง การอ่านข่าว
สังคม ข่าวบันเทิง ข่าวกีฬา การอ่านประเภทนี้มักใช้เวลาไม่นานและไม่กระทาทุกวัน
ส่วนใหญ่เป็นการอ่านเพื่อให้ความรู้แนะนาไปใช้หรือนาไปเป็นหัวข้อสนทนา บางครั้งก็เพื่อ
ฆ่าเวลา
ประเภทของการอ่าน
การอ่านแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ การอ่านในใจและการอ่านออกเสียง
1. การอ่านในใจ คือการแปลความหมายของตัวอักษรออกมาเป็นความคิด ความเข้าใจ และ
นาความคิดความเข้าใจที่ได้นั้นไปใช้ให้เป็นประโยชน์ ประเภทของการอ่านดังต่อไปนี้คือ
 การอ่านจับใจความ
 การอ่านตีความ
 การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ
 การอ่านวิเคราะห์
 การอ่านเพื่อประเมินคุณค่า
ประเภทของการอ่าน (ต่อ)
 การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความเป็นพื้นฐานของการอ่านในใจที่มุ่งคุณค่าทางสติปัญญา
แบ่งการอ่านชนิดนี้ออกเป็น 2 ประเภทคือ
• การอ่านจับใจความส่วนรวม เป็นการอ่านเพื่อเข้าใจเนื้อหาส่วนรวม เป็นประโยชน์
ต่อผู้ที่ต้องการอ่านอย่างรวดเร็ว
สังเกตส่วนประกอบของงานเขียน เช่น ชื่อเรื่อง คานาวัตถุประสงค์ และเขียน
เพื่ออะไร
วิเคราะห์จุดมุ่งหมายงานเขียนว่าเขียนด้วยวัตถุประสงค์ใด
จัดลาดับเนื้อหาใหม่ตามความสาคัญ
ใช้การตั้งคาถามกว้างๆ ว่าใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร
ประเภทของการอ่าน (ต่อ)
• การอ่านจับใจความสาคัญ ใจความสาคัญคือใจความหลักของเรื่องเป็นการอ่าน
ที่ละเอียดมากขึ้น เพื่อจับใจความสาคัญของงานเขียนแต่ละย่อหน้า
 อ่านวิเคราะห์คาหรือประโยค โดยการตีความหมายของศัพท์ยากในข้อเขียน
 วิเคราะห์จุดมุ่งหมายงานเขียนว่าเขียนด้วยวัตถุประสงค์ใด
 วิเคราะห์น้าเสียงว่าเป็นไปในทานองใด ประชดประชัน ล้อเลียน ฯลฯ
 วิจารณ์เนื้อหาสาระของงานเขียน
ประเภทของการอ่าน (ต่อ)
 การอ่านตีความ
การอ่านตีความ คือ การอ่านที่ผู้อ่านจะต้องใช้สติปัญญาตีความหมายของคาและ
ข้อความทั้งหมด โดยพิจารณาถึงความหมายโดยนัย หรือความหมายแฝงที่ผู้เขียนต้องการจะ
สื่อความหมาย ซึ่งทั้งนี้ผู้อ่านจะสามารถตีความหมายของคาสานวนได้ถูกต้องหรือไม่นั้น
จาเป็นต้องอาศัยเนื้อความแวดล้อมของข้อความนั้นๆ บางครั้งต้องอาศัยความรู้หรือ
ประสบการณ์ปัจจุบันเป็นเครื่องช่วยตัดสินการอ่านตีความมีหลักเกณฑ์ในการอ่านดังนี้
ประเภทของการอ่าน (ต่อ)
ข้อปฏิบัติในการอ่านตีความ
- อ่านเรื่องให้ละเอียดโดยพยายามจับประเด็นสาคัญของเรื่องให้ได้
- หาเหตุผลอย่างรอบคอบเพื่อพิจารณาว่ามีความหมายถึงสิ่งใด
- ทาความเข้าใจกับถ้อยคาที่ได้จากการตีความ
- เรียบเรียงถ้อยคาให้มีความหมายชัดเจนและมีเหตุมีผลเป็นหลักสาคัญ
ตัวอย่างการอ่านตีความ
“เห็นช้างขี้ขี้ตามช้าง” ตีความได้ว่า จะทาอะไรควรดูฐานะของตน
ไม่ควรเอาอย่างคนที่มีฐานะดีกว่าเรา
ประเภทของการอ่าน (ต่อ)
 การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ
การอ่านชนิดนี้เป็นการอ่านที่ค่อนข้างยาก เพราะต้องใช้การหาเหตุผลมาใช้ในการวิจารณ์
ข้อควรปฏิบัติในการอ่านอย่างใช้วิจารณญาณ
 พิจารณาความหมายของข้อความที่อ่าน
 พิจารณาความต่อเนื่องของประโยคว่ามีเหตุผลสอดรับกันหรือไม่
 พิจารณาความต่อเนื่องของใจความหลักและใจความรอง
 แยกแยะข้อเท็จจริงออกจากความคิดเห็นและความรู้สึก
 พิจารณาว่ามีความรู้เนื้อหา หรือมีความคิดแปลกใหม่น่าสนใจหรือไม่
ประเภทของการอ่าน (ต่อ)
 การอ่านวิเคราะห์ การอ่านชนิดนี้เป็นการอ่านเพื่อพิจารณาอย่างถี่ถ้วน เป็นการแยกแยะ
ทาความเข้าใจองค์ประกอบหรือโครงสร้างของหนังสือแต่ละประเภท
ข้อควรปฏิบัติในการอ่านวิเคราะห์
 ศึกษารูปแบบของงานประพันธ์ว่าเป็นรูปแบบใด
 แยกเนื้อเรื่องออกเป็นส่วนๆ ให้เห็นว่าใครทาอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อไร
 แยกพิจารณาแต่ละส่วนให้ละเอียดลงไปว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง
 พิจารณากลวิธีในการนาเสนอ
ประเภทของการอ่าน (ต่อ)
 การอ่านเพื่อประเมินคุณค่า การอ่านวิธีนี้ หมายถึงการที่ผู้อ่านใช้อารมณ์ความรู้สึก
ส่วนตัว ในการประเมินค่างานเขียนซึ่งอาจจะมีเรื่องของอารมณ์และความรู้สึกส่วนตัวเข้าร่วม
ด้วย การประเมินคุณค่าที่ดีต้องปราศจากอารมณ์และในการประเมินคุณค่านั้นต้องประเมิน
ตามลักษณะของหนังสือด้วย เช่น ถ้าเป็นตารา เอกสารทางวิชาการต้องประเมินในเรื่อง
ความรู้ การใช้ภาษา ฯลฯ ถ้าเป็นหนังสือสารคดีหรือบทความ ควรประเมินความคิดเห็นของ
ผู้เขียน หรือหนังสือพิมพ์ต้องประเมินจากความน่าเชื่อถือของข่าว และอคติของผู้เขียน
การอ่านประเมินค่า มีวิธีการอ่านดังนี้
ประเภทของการอ่าน (ต่อ)
 พิจารณาความถูกต้องของภาษาจากเรื่องที่อ่าน ภาษาที่ไม่ถูกต้องจะทาให้เกิดความ
คลาดเคลื่อนไปจากความหมายที่แท้จริง ความถูกต้องของภาษามีหลายลักษณะ
เช่น การใช้คาผิดความหมาย การเรียงคาในประโยคผิด การไม่รู้จักเว้นวรรคตอน
เป็นต้น นับเป็นองค์ประกอบสาคัญต่อการสื่อความหมาย
พิจารณาความต่อเนื่องของประโยค ว่าเป็นข้อความที่ไปกันได้ ไม่ขัดแย้งกัน หรือ
ข้อความที่ให้ความก้าวหน้าแก่กัน หากข้อความใดมีเนื้อหาสับสนวุ่นวาย ไม่เข้ากับ
หลักสามข้อนี้ให้ถือว่าเป็นเรื่องที่ไม่ควรอ่าน
ประเภทของการอ่าน (ต่อ)
พิจารณาความต่อเนื่องของความหมาย ความหมายที่ต่อเนื่องต้องมีแกนหลักในการ
เชื่อมโยงความหมาย เช่น การเขียนชีวประวัติ อาจใช้ช่วงเวลาของชีวิตเป็นแกนหลัก
เป็นต้น เมื่ออ่านแล้วต้องแยกข้อเท็จจริงออกจากความคิดเห็น และความรู้สึก จาก
เรื่องที่อ่านดังตัวอย่าง เช่น
ประเภทของการอ่าน (ต่อ)
“ประเทศหนึ่งๆ ต่างมีระบอบการปกครองแตกต่างกันออกไป ประเทศรัสเซียได้ชื่อว่า
เป็นประเทศที่ปกครองด้วยระบบสังคมนิยม ไม่มีศาสนา ไม่มีพระมหากษัตริย์ ถ้าข้าพเจ้าต้อง
มีชีวิตอยู่ที่นั่นคงจะอึดอัดใจมิใช่น้อย เพราะข้าพเจ้าถือว่า ทั้งสองสถาบันนี้คือ ศูนย์รวมจิตใจ
ของทุกคน”
ข้อเท็จจริง - ประเทศหนึ่งๆต่างมีระบอบการปกครองของตนเองไม่เหมือน
ประเทศอื่น ประเทศรัสเซียมีการปกครองตามระบอบสังคมนิยม ไม่มีศาสนา ไม่มี
พระมหากษัตริย์
ความรู้สึก – ถ้าข้าพเจ้าต้องมีชีวิตอยู่ที่นั่นคงจะอึดอัดใจมิใช่น้อย
ประเภทของการอ่าน (ต่อ)
 พิจารณาดูความสัมพันธ์ของหลักการและตัวอย่าง ว่ามีความจริงเพียงไร สมเหตุผล
หรือไม่ ก่อนที่จะเชื่อในเรื่องที่อ่านนั้น
 ประเมินข้อเท็จจริง ความคิดเห็น และความรู้สึก วิเคราะห์ความเป็นไปในความคิด
ของผู้เขียน กับความคิดเห็นส่วนตัวของเรา ผลลัพธ์แห่งการประเมินนั้นจะเป็น
ความคิดสร้างสรรค์ให้กับเราหรือไม่
ประเภทของการอ่าน (ต่อ)
2. การอ่านออกเสียง การอ่านออกเสียง หมายถึงการอ่านข้อความโดยการเปล่งเสียงออกมา
เพื่อให้ผู้อื่นได้รับรู้ข้อความนั้นๆ ด้วยการอ่านออกเสียงแบ่งเป็น 2 ลักษณะคือ
 การอ่านออกเสียงปกติ เป็นการอ่านออกเสียงตามปกติทั่วไป อ่านได้ทั้งบทร้อยแก้วและ
ร้อยกรอง เช่น อ่านข่าว อ่านประกาศ อ่านตีบท อ่านสารคดี อ่านข้อความประกอบ
ภาพนิ่ง หรืออ่านบทภาพยนตร์ ฯลฯ
ประเภทของการอ่าน (ต่อ)
ข้อควรปฏิบัติในการอ่านออกเสียงตามปกติ
 ทาความเข้าใจกับเรื่องที่จะอ่านก่อนการอ่านจริง
 ออกเสียงชัดเจน ดังพอประมาณ มีลีลาจังหวะในการอ่านอย่างเหมาะสม
 แบ่งวรรคตอนได้ถูกต้อง
 อ่านออกเสียงถูกต้องตามอักขรวิธี
ประเภทของการอ่าน (ต่อ)
 อ่านทานองเสนาะ การอ่านทานองเสนาะเป็นการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองหรือ
วรรณคดีไทยให้ไพเราะน่าฟัง มุ่งให้เกิดความรู้สึกซาบซึ้ง เกิดอารมณ์ จินตนาการ คล้อย
ตามบทร้อยกรองนั้นๆ ด้วย
หลักเกณฑ์ในการอ่านทานองเสนาะ
 ต้องรู้จักลักษณะคาประพันธ์ที่จะอ่านก่อนว่าบังคับฉันทลักษณ์อย่างไร
 อ่านให้ถูกทานอง
 ควรมีน้าเสียงและลีลาในการอ่านที่ดี
 ออกเสียงแต่ละคาถูกต้องชัดเจน
ความสาคัญของการอ่าน
ชีวิตของแต่ละคนย่อมต้องเกี่ยวข้องผูกพันกับสังคม คือ กลุ่มคนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
ไม่มีใครที่จะอยู่ได้โดยปราศจากสังคมและการอยู่ร่วมกับคนอื่น ซึ่งจะต้องมีความเข้าใจซึ่งกัน
และกัน มีการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ความสนใจ เพื่อให้สังคมเกิดความสงบสุขและ
พัฒนาไปข้างหน้าอย่างแท้จริง
ความสาคัญของการอ่าน (ต่อ)
การอ่านจึงมีความสาคัญ ดังนี้
 การอ่านเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในวัยศึกษาเล่าเรียน
จาเป็นต้องอ่านหนังสือเพื่อการศึกษาหาความรู้ด้านต่างๆ
 การอ่านเป็นเครื่องมือช่วยให้ประสบความสาเร็จในการประกอบอาชีพ เพราะสามารถนา
ความรู้ที่ได้จากการอ่านไปพัฒนางานของตนได้
การอ่านเป็นเครื่องมือสืบทอดทางวัฒนธรรมของคนรุ่นต่อๆ ไป
การอ่านเป็นวิธีการส่งเสริมให้คนมีความคิดอ่านและฉลาดรอบรู้ เพราะประสบการณ์ที่ได้
จากการอ่านเมื่อเก็บสะสมเพิ่มพูนนานวันเข้า ก็จะทาให้เกิดความคิด เกิดสติปัญญา เป็นคน
ฉลาดรอบรู้ได้
ความสาคัญของการอ่าน (ต่อ)
 การอ่านเป็นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดความเพลิดเพลินบันเทิงใจ เป็นวิธีหนึ่งในการแสวงหา
ความสุขให้กับตนเองที่ง่ายที่สุด และได้ประโยชน์คุ้มค่าที่สุด
 การอ่านเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต ทาให้เป็นคนที่สมบูรณ์ทั้งด้านจิตใจและบุคลิกภาพ
เพราะเมื่ออ่านมากย่อมรู้มาก สามารถนาความรู้ไปใช่ในการดารงชีวิตได้อย่างมีความสุข
 การอ่านเป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบการเมือง การปกครอง ศาสนา ประวัติศาสตร์
และสังคม
 การอ่านเป็นวิธีการหนึ่งในการพัฒนาระบบการสื่อสารและการใช้เครื่องมือทาง
อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ
หลักการอ่านคาในภาษาไทย
การอ่านออกเสียงคาเป็นการแสดงความหมายของคาไปสู่ผู้อ่านและผู้ฟัง เพื่อให้เกิด
ความเข้าใจกัน ในการอ่านคาในภาษาไทยมีปัญหาอยู่มาก เพราะนอกจากคาไทยแล้ว
ยังมีภาษาต่างประเทศปนอยู่หลายภาษา คาบางคาอ่านอย่างภาษาไทย บางคาอ่านตาม
ลักษณะของภาษาเดิม การอ่านคาในภาษาไทยจึงต้องศึกษาหลักเกณฑ์และเหตุผลประกอบ
เป็นคาไป
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
วิธีการอ่าน ระดับของการอ่าน แบ่งเป็น 2 ระดับ คือ
1.อ่านออก การที่ผู้อ่านรู้จักพยัญชนะ สระและเครื่องหมายต่างๆ สามารถอ่านออกเสียง
ออกมาเป็นคาได้อย่างถูกต้อง
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
2.อ่านเป็น เป็นการอ่านที่แตกต่างจากระดับแรกโดยสิ้นเชิง เพราะการอ่านเป็นนั้น
หมายความว่า ผู้อ่านจะต้องอ่านได้ถูกต้อง คล่องแคล่ว จับใจความได้ตรงตามที่ผู้เขียน
ต้องการ ทราบความหมายของข้อความทุกอย่าง รวมถึงความหมายที่ผู้เขียนเจตนาแฝงเร้น
ไว้ สามารถเข้าใจเจตนาและอารมณ์ของผู้เขียนตลอดจนสามารถประเมินคุณค่าและเลือกรับ
สิ่งดีๆ จากงานเขียนนั้นได้ จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องฝึกฝนทักษะในการอ่านของตนเองให้
มาก เพื่อที่จะได้อ่านเป็น ซึ่งต้องอาศัยเวลาในการฝึกฝนค่อนข้างนาน
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
การอ่านออกเสียงคาให้ถูกต้อง ทาให้ผู้รับสารสามารถเข้าใจความหมายขอคาและ
สามารถสื่อสารได้เข้าใจซึ่งกันและกัน การศึกษาทาความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการอ่านคาตาม
อักขรวิธีอย่างถ่องแท้ จะช่วยให้การสื่อสารบรรลุประสิทธิผลตาเจตนาของผู้ส่งสาร
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
1. การอ่านคาสมาส
2. การอ่านคาที่มาจากภาษาบาลีและ
ภาษาสันสกฤต
3. การอ่านอักษรนา
4. การอ่านอักษรควบกลา
5. การอ่านคาแผลง
6. การอ่านคาพ้อง
7. การอ่านพยัญชนะ ฑ
8. การอ่านพยัญชนะ ฤ ตัว ฤ
9. การอ่านตัวเลข
10. การอ่านเครื่องหมายต่างๆ
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
1. การอ่านคาสมาส มีวิธีการอ่าน ดังนี้
1.1 คาหน้าพยัญชนะเขียนเรียงพยางค์ให้อ่านเรียงพยางค์ต่อกับคาหลัง เช่น
พลศึกษา อ่าน พะ-ละ-สึก-สา
อารยธรรม อ่าน อา-ระ-ยะ-ทา
ศากยวงศ์ อ่าน สา-กะ-ยะ-วง
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
1. การอ่านคาสมาส มีวิธีการอ่าน ดังนี้
1.2 พยัญชนะสุดท้ายของคาหน้าเป็นตัวสะกด ให้อ่านออกเสียง 2 ครั้ง คือ อ่านเป็น
ตัวสะกดและอ่านซ้าตามสระที่ปรากฏ เช่น
รัชกาล อ่าน รัด-ชะ-กาน
กิจกรรม อ่าน กิด-จะ-กา
ศักราช อ่าน สัก-กะ-หราด
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
1. การอ่านคาสมาส มีวิธีการอ่าน ดังนี้
1.3 คาหน้ามีตัวสะกดและตัวตามอ่านออกเสียงตัวสะกดซ้าและตัวตามอ่านออกเสียง
อะ กึ่งเสียง เช่น
สัตวแพทย์ อ่าน สัด-ตะ-วะ-แพด
อิสรภาพ อ่าน อิด-สะ-หระ-พาบ
ทิพยอาสน์ อ่าน ทิบ-พะ-ยะ-อาด
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
1. การอ่านคาสมาส มีวิธีการอ่าน ดังนี้
1.4 พยัญชนะตัวสะกดของคาหน้าเป็นอักษรควบแท้ อ่านออกเสียงควบกล้า เช่น
มาตรฐาน อ่าน มาด-ตระ-ถาน
จักรวาล อ่าน จัก-กระ-วาน
1.5 คาสมาสบางคาที่ไม่ออกเสียงแบบสมาส เช่น
ชลบุรี อ่าน ชน-บุ-รี
เพชรบุรี อ่าน เพ็ด-บุ-รี
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
1. การอ่านคาสมาส มีวิธีการอ่าน ดังนี้
ข้อสังเกต คาไทยบางคาไม่ใช่คาสมาส แต่นิยมอ่านออกเสียงแบบสมาส เช่น
ผลไม้ อ่าน ผน-ละ-ไม้
ราชวัง อ่าน ราด-ชะ-วัง
เทพเจ้า อ่าน เทบ-พะ-เจ้า
พลความ อ่าน พน-ละ-ความ
พลเมือง อ่าน พน-ละ-เมือง
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
2. การอ่านคาที่มาจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต มีวิธีการอ่านดังนี้
2.1 พยัญชนะวรรคที่เป็นตัวสะกดตัวตาม ไม่ต้องอ่านเสียงตัวสะกดนั้น เช่น
มัจฉา อ่าน มัด-ฉา
วิตถาร อ่าน วิด-ถาน
อาชญา อ่าน ปรัด-ยา
สัปตสก อ่าน สั-ตะ-สก
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
2. การอ่านคาที่มาจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต มีวิธีการอ่านดังนี้
2.2 คาที่ในภาษาเดิมออกเสียง อะ เรียงพยางค์ อ่านเป็น อะ เช่น
กรณี อ่าน กะ-ระ-นี
กรกฎาคม อ่าน กะ-ระ-กะ-ดา-คม
ธนบัตร อ่าน ทะ-นะ-บัด
สมณะ อ่าน สะ-มะ-นะ
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
2. การอ่านคาที่มาจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต มีวิธีการอ่านดังนี้
2.3 คาที่อ่านออกเสียง ออ ตามหลักภาษาไทย เช่น
ธรณี อ่าน ทะ-ระ-นี
มรณา อ่าน มอ-ระ-นา
บวร อ่าน บอ-วอน
วรกาย อ่าน วอ-ระ-กาย
มรดก อ่าน มอ-ระ-ดก
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
2. การอ่านคาที่มาจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต มีวิธีการอ่านดังนี้
2.4 คาบางคาอ่านได้ 2 แบบคืออ่านเรียงพยางค์กับไม่เรียงพยางค์ เช่น
กรณี คมนาคม ปรปักษ์ เทศนา
2.5 คาที่ ย ล ร ว เป็นตัวสะกดหรือเป็นตัวตาม ต้องออกเสียงตัวสะกดด้วย เช่น
กัลบก อ่าน กัน-ละ-บก อัยการ อ่าน ไอ-ยะ-กาน
วัชรา อ่าน วัด-ชะ-รา วิทยา อ่าน วิด-ทะ-ยา
จัตวา อ่าน จัด-ตะ-วา
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
2. การอ่านคาที่มาจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต มีวิธีการอ่านดังนี้
2.6 คาบางคาอ่านแบบอักษรนาหรืออักษรควบ เช่น
อาขยาน อ่าน อา-ขะ-หยาน
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
3. การอ่านอักษรนา มีวิธีการดังนี้
3.1 พยัญชนะตัวที่นา เป็นอักษรกลางหรืออักษรสูงและตัวที่ถูกนามาเป็นอักษรต่า
เดี่ยวให้อ่านตามเสียงวรรณยุกต์ของตัวนา หรือมีเสียงวรรณยุกต์ของตัวนา หรือมีเสียง ห
ที่พยางค์หลัง เช่น
กนก อ่าน กะ-หนก
ขยาย อ่าน ขะ-หยาย
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
3. การอ่านอักษรนา มีวิธีการดังนี้
3.2 ห นา อักษรต่าเดี่ยวให้อ่านเสียงตัว ห กลมกลืนกัอักษรต่าเดี่ยวและอ่านออกเสียง
พยางค์เดียว เช่น
หมู หมา หนู หรูหรา ไหล ใหล ไหน หมอ เหงา หงอย
3.3 นาอักษรต่าเดี่ยว ย ให้อ่านกลมกลืนเสียง ย และออกเสียงพยางค์เดียวได้แก่
อย่า อยู่ อย่าง อยาก
มีคาบางคาไม่อ่านตามกฎเกณฑ์ จะอ่านตามความนิยม เช่น
สมาคม ขมา ไผท ผจง ขจร
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
4. การอ่านอักษรควบกล้า
4.1 การอ่านอักษรควบแท้ โดยการอ่านออกเสียงพยัญชนะควบกล้ากับพยัญชนะ ร ล
ว พร้อมกัน เช่น
กลอง ครอบ พราย ตรวจ เปลี่ยน ผลาญ ไขว่ ครัว
4.2 การอ่านอักษรควบกล้าไม่แท้ โดยอ่านออกเสียงพยัญชนะควบกล้าตัวหน้าเพียง
เสียงเดียว คือ ทร สร ศร ออกเสียงเป็น ซ เช่น
ทราย เทริด ไทร ทรุด ทราม ทราบ ทรวง พุททรา
อินทรี ทรวดทรง สร้อย เสริม สร้าง แสร้ง เศร้า ศรี จริง
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
5. การอ่านคาแผลง มีวิธีการอ่านดังนี้
5.1 คาเดิมที่มีพยัญชนะต้นตัวเดียว เมื่อแผลงเป็น 2 พยางค์ ให้ออกเสียงตามคาที่แผลง
ใหม่ เช่น
แจก แผลงเป็น จาแนก อ่าน จา-แนก
อวย แผลงเป็น อานวย อ่าน อา-นวย
อาจ แผลงเป็น อานาจ อ่าน อา-นาด
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
5.2 คาเดิมที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรควบเมื่อแผลงเป็น 2 พยางค์ ให้อ่านออกเสียง
พยางค์ท้าย(เสียงวรรณยุกต์) ให้เหมือนคาเดิม เช่น
กราบ แผลงเป็น การาบ อ่าน กา-หราบ
ตรวจ แผลงเป็น ตารวจ อ่าน ตา-หรวด
ตริ แผลงเป็น ดาริ อ่าน ดา-หริ
ปราบ แผลงเป็น บาราบ อ่าน บา-หราบ
ปราศ แผลงเป็น บาราศ อ่าน บา-ราด(ยกเว้น)
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
5.3 คาเดิมเป็นอักษรกลาง แผลงเป็นอักษรสูงออกเสียงเป็นอักษรนา เช่น
บัง แผลงเป็น ผนัง อ่าน ผะ-หนัง
บวช แผลเป็น ผนวช อ่าน ผะ-หนวด
บวก แผลงเป็น ผนวก อ่าน ผะ-หนวก
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
6. การอ่านคาพ้อง
6.1 คาพ้องรูป คือ คาที่เขียนเหมือนกันแต่อ่านออกเสียงต่างกัน เช่น
พลี (พะ-ลี,พลี) สระ(สะ-สะ-หร) กรี(กะ-รี,กรี)
ปรัก(ปะ-หรัก,ปรัก) ปรามาส(ปะ-รา-มาด,ปรา-มาด)
6.2 คาพ้องเสียง คือ คาที่เขียนต่างกันแต่อ่านออกเสียงเหมือนกัน เช่น
การ กานต์ กานท์ การณ์ กาน กาล
จันทร์ จันทน์ จัน จัณฑ์
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
7. การอ่านพยัญชนะ ฑ มีวิธีการดังนี้
7.1 ออกเสียง ต เช่น
มณฑป อ่าน มน-ดบ บัณเฑาะก์ อ่าน บัน-เดาะ
บัณฑุ อ่าน บัน-ดุ ปานฑพ อ่าน ปาน-ดบ
บุณฑริก อ่าน บุน-ดะ-ริก บัณฑิต อ่าน บัน-ดิด
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
7. การอ่านพยัญชนะ ฑ มีวิธีการดังนี้
7.2 อ่านออกเสียง ท เช่น
มณฑก อ่าน มน-ทก มณฑล อ่าน มน-ทน
ขัณฑสีมา อ่าน ขัน-ทะสี-มา ขันฑสกร อ่าน ขัน-ทด-สะ-กอน
มณโฑ อ่าน มน-โท บัณฑิก อ่าน บัน-ทิก
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
8. การอ่านพยัญชนะ ฤ ตัว ฤ เป็นสระในภาษาสันสกฤษ เดิมอ่าน ริ อย่างเดียว แต่เมื่อ
นามาใช้ในภาษาไทยสามารถอ่านได้ 3 เสียง คือ ริ รึ เรอ มีวิธีการอ่านดังนี้
8.1 การออกเสียง (ริ)
8.1.1 เมื่อ ฤ ตามหลังพยัญชนะ ก ต ท ป ศ ส เช่น
กฤตยา กฤษฎีกา ตฤนมัย ทฤษฎี ปฤจฉา
ปฤษฎางค์ ศฤงคาร สฤษฏ์ กฤษณา ตฤป
8.1.2 เมื่อเป็นพยางค์หน้าของคาและมีตัวสะกด เช่น
ฤทธิ์ ฤณ(หนี้) ฤทธา ฤษยา
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
8.2 การอ่านออกเสียง (รึ)
8.2.1 เมื่อเป็นพยางค์หน้าของคา ละมีตัวสะกด เช่น
ฤดู ฤทัย ฤษภ(วัยตัวผู้) ฤษี ฤชา ฤดี
ฤช ฆคเวท ฤกษณะ(การมองเห็น)
8.2.2 เมื่อ ฤ ตามหลังพยัญชนะ ค น ม พ ห เช่น
คฤหบดี คฤหาสน์ นฤบดี พฤศจิกายน หฤทัย นฤมล
มฤตยู มฤค หฤโหด พฤนท์ มฤตก พฤกษ์
8.2.3 เมื่ออยู่โดดๆ เช่น ฤ
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
9. การอ่านตัวเลข มีหลักเกณฑ์ดังนี้
9.1 จานวนเลขตั้งแต่ 2 หลักขึ้นไป ถ้าตัวเลขตัวท้ายเป็นเลข 1 ให้ออกเสียงเอ็ด
9.2 ตัวเลขที่มีจุดทศนิยม
9.2.1 ตัวหน้าจุดทศนิยม ให้อ่านแบบจานวนเต็ม ตัวเลขหลังจุดทศนิยม ให้
อ่านเรียงตัว
9.2.2 ตัวเลขที่เป็นเงินตราหรือหน่วยนับ ให้อ่านตามหน่วยเงิน หรือหน่วยนับ
นั้นๆ
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
9.3 การอ่านตัวเลขบอกเวลา
9.3.1 การอ่านชั่วโมงที่ไม่มีจานวนนาที เช่น 05.00 อ่านว่า ห้า-นา-ลิ-กา
9.3.2 การอ่านจานวนชั่วโมง นาทีและวินาที อ่านจากหน่วยใหญ่ไปหน่วยย่อย
9.4 การอ่านเวลาที่มีเศษของวินาที เช่น
2 : 03 : 47.80 อ่านว่า สอง-นา-ลิ-กา-สาม-นา-ที-สี่-สิบ-เจ็ด-จุด-แปด-สูน-วิ-นา-ที
9.5 การอ่านตัวเลขที่แสดงมาตราส่วนหรืออัตราส่วน เช่น
1 : 200,000 อ่านว่า หนึ่ง-ต่อ-สอง-แสน
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
9.6 การอ่านตัวเลขหนังสือราชการ นิยมอ่านแบบเรียงตัว เข่น
หนังสือที่ ศธ 0030.01/605 ลว. 15 มกราคม 2553 อ่านว่า หนังสือที่สอทอสูนสูน
สามสูนจุดสูนหนึ่งทับหกสูนหนึ่ง ลงวันที่สิบห้ามะกะราคม พุดทะสักกะหราดสองพัน
ห้าร้อยห้าสิบสาม
9.7 การอ่านเลข ร.ศ. ที่มีการเทียบเป็น พ.ศ. กากับ เช่น
ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436) อ่านว่า รัดตะนะโกสินสกร้อยสิบสอง ตรงกับ
พุดทะสักกะหราดสองพันสี่ร้อยสามสิบหก
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
9.8 การอ่านบ้านเลขที่
9.8.1 การอ่านบ้านเลขที่ซึ่งตัวเลข 2 หลักให้อ่านแบบจานวนเต็ม ส่วนตัวเลข
หลังเครื่องหมายทับ(/) ให้อ่านแบบเรียงตัว เช่น
บ้านเลขที่ 97/258 อ่านว่า บ้านเลขที่เก้าสิบเจ็ดทับสองห้าแปด
9.8.2 การอ่านบ้านเลขที่ซึ่งมีตัวเลข 3 หลักขึ้นไป ให้อ่านแบบจานวนเต็ม
หรือแบบเรียงตัวก็ได้ ส่วนตัวเลขหลังเครื่องหมายทับ (/) ให้อ่านแบบเรียงตัว
9.8.3 การอ่านบ้านเลขที่กลุ่มตัวเลขที่มี 0 อยู่ข้างหน้า ให้อ่านเรียงตัวเสมอ
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
9.9 การอ่านรหัสไปรษณีย์ ให้อ่านแบบเรียงตัว
9.10 การอ่านหมายเลขทางหลวง ให้อ่านตัวเลขแบบเรียงตัว
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
10. การอ่านเครื่องหมายต่างๆ มีหลักการอ่านดังนี้
10.1 การอ่านคาหรือข้อความที่มีเครื่องหมายวงเล็บกากับอยู่ ให้อ่านว่า วงเล็บ
เปิด...วงเล็บปิด
10.2 การอ่านเครื่องหมายอัญประกาศ ( “...” ) ให้อ่าน อัญประกาศเปิด....
อัญประกาศปิด
10.3 การอ่านเครื่องหมายไม้ยมก เช่น ให้อ่านซ้าคาหรือข้อความ
10.4 การอ่านเครื่องหมายไปยาลน้อยหรือเปยยาลน้อย เวลาอ่านต้องอ่านเต็มคา
หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ)
10. การอ่านเครื่องหมายต่างๆ มีหลักการอ่านดังนี้
10.5 การอ่านเครื่องหมายไปยาลใหญ่ หรือเปยยาลใหญ่ หากอยู่ท้ายข้อความให้
อ่านว่าละ หรือ และอื่นๆ และเมื่ออยู่กลางข้อความให้อ่านว่า ละถึง
10.6 การอ่านเครื่องหมายไข่ปลาหรือจุดไข่ปลา ก่อนอ่านควรหยุดเล็กน้อย แล้ว
จึงอ่านว่า ละ ละ ละ แล้วจึงอ่านข้อความต่อไป
คุณสมบัติของนักอ่านที่ดี
1. มีนิสัยรักการอ่าน
2. มีจิตใจกว้างขวางพร้อมที่จะอ่านหนังสือที่ดีมีคุณค่าได้ทุกประเภท
3. มีเจตคติที่ดีต่อการอ่านและเรื่องที่อ่าน
4. หมั่นหาเวลาหรือจัดเวลาสาหรับการอ่านให้กับตนเองทุกวันอย่างสม่าเสมอ
5. เป็นคนรักหนังสือและแสวงหาหนังสือที่ดีอ่านอยู่เสมอ
6. มีความสามารถในการเลือกหนังสือที่ดีอ่าน
7. มีความอดทน มีอารมณ์ หรือมีสมาธิในการอ่าน
8. มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่สมบูรณ์
9. มีความเบิกบาน แจ่มใส และปลอดโปร่งอยู่เสมอ
10. มีนิสัยใฝ่หาความรู้ ความคิด และประสบการณ์ใหม่ๆ อยู่เสมอ
คุณสมบัติของนักอ่านที่ดี (ต่อ)
11. มีทักษะในการอ่านสรุปความ วิเคราะห์ความ และวินิจฉัยความ
12. มีความคิดหรือมีวิจารณญาณที่ดีต่อเรื่องที่อ่านสามารถที่จะแยกแยะข้อเท็จจริง ความ
ถูกต้อง ความเหมาะสมต่างๆ และสามารถเลือกนาไปใช้ประโยชน์
13. มีนิสัยชอบจดบันทึกเรื่องราวต่างๆ ที่พบในการอ่านและเห็นว่ามีคุณค่า
14. มีความจาดี รู้จักหาวิธีช่วยจา และเพิ่มประสิทธิภาพของการจา
15. มีนิสัยชอบเข้าร้านหนังสือและห้องสมุด
16. มีโอกาสหรือหาโอกาสพูดคุยกับผู้รักการอ่านด้วยกันอยู่เสมอ เพื่อแลกเปลี่ยน
ทรรศนะในการอ่านให้แตกฉานยิ่งขึ้น
17. มีนิสัยหมั่นทบทวน ติดตาม ค้นคว้าเพิ่มเติม
จบบทที่ 3 หลักการอ่าน

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1Ploykarn Lamdual
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญRung Kru
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการkrujee
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)Petsa Petsa
 
วิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญวิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญRung Kru
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1พัน พัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์yuyjanpen
 
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้bn k
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...Totsaporn Inthanin
 

La actualidad más candente (20)

ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการ
 
ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 
วิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญวิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
ใบงานที่ 6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
ใบงานที่  6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งานใบงานที่  6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
ใบงานที่ 6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 

Destacado

บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความAj.Mallika Phongphaew
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01Apida Runvat
 
ตัวอย่างใบลาป่วย
ตัวอย่างใบลาป่วยตัวอย่างใบลาป่วย
ตัวอย่างใบลาป่วยhgh for sale guide
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนจดหมายกิจธุระ
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนจดหมายกิจธุระใบความรู้ที่ 3 การเขียนจดหมายกิจธุระ
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนจดหมายกิจธุระJoice Naka
 
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาPiyarerk Bunkoson
 

Destacado (11)

บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความ
 
ใบลา
ใบลาใบลา
ใบลา
 
การอ่านจับใจความสำคัญ
การอ่านจับใจความสำคัญการอ่านจับใจความสำคัญ
การอ่านจับใจความสำคัญ
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01
 
ตัวอย่างใบลาป่วย
ตัวอย่างใบลาป่วยตัวอย่างใบลาป่วย
ตัวอย่างใบลาป่วย
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมาย
 
ใบลาป่วยลากิจ
ใบลาป่วยลากิจใบลาป่วยลากิจ
ใบลาป่วยลากิจ
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนจดหมายกิจธุระ
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนจดหมายกิจธุระใบความรู้ที่ 3 การเขียนจดหมายกิจธุระ
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนจดหมายกิจธุระ
 
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
 

Similar a บทที่ 3 หลักการอ่าน

เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธkhaowpun
 
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพPloyApichaya
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรมPrapa Khangkhan
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
งานนำเสนอIs3
งานนำเสนอIs3งานนำเสนอIs3
งานนำเสนอIs3ohm11007
 
การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความการอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความmayavee16
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยน้อง มัดไหม
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนkuneena
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์Supaporn Khiewwan
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดmouseza
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดmouseza
 

Similar a บทที่ 3 หลักการอ่าน (20)

เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธ
 
บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่
 
แบบฝึกเล่ม 1
แบบฝึกเล่ม 1แบบฝึกเล่ม 1
แบบฝึกเล่ม 1
 
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
บทความ
บทความบทความ
บทความ
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
งานนำเสนอIs3
งานนำเสนอIs3งานนำเสนอIs3
งานนำเสนอIs3
 
การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความการอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความ
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
2ส่วนนำ
2ส่วนนำ2ส่วนนำ
2ส่วนนำ
 
2ส่วนนำ
2ส่วนนำ2ส่วนนำ
2ส่วนนำ
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอน
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอน
 
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
 

Más de Aj.Mallika Phongphaew

บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมบทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายบทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยAj.Mallika Phongphaew
 

Más de Aj.Mallika Phongphaew (12)

บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
บทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมบทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุม
 
บทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายบทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปราย
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟัง
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 

บทที่ 3 หลักการอ่าน

  • 2. เนื้อหาที่จะเรียนในบทที่ 3 หลักการอ่าน  ความหมายของการอ่าน  จุดมุ่งหมายของการอ่าน  ประเภทของการอ่าน  ความสาคัญของการอ่าน  หลักการอ่านคาในภาษาไทย  คุณสมบัติของนักอ่านที่ดี
  • 3. บทนา หลักการอ่านในภาษาไทย การอ่าน อาจจะกล่าวได้ว่าเป็นหัวใจของการอ่านทั้งนี้เพราะจุดประสงค์เบื้องต้นของ การอ่าน โดยทั่วไปคือ เพื่อความเข้าใจในเรื่องที่อ่าน อ่านแล้วสรุปได้ใจความ ดังนั้นถ้าอ่าน แล้วไม่เข้าใจเรื่องที่อ่านก็ทาให้ไม่ทราบว่าผู้เขียนต้องการที่จะสื่ออะไร ทาให้ไม่บรรลุ วัตถุประสงค์ของการอ่าน
  • 4. “การอ่านทาคนให้เป็นคนโดยสมบูรณ์” เป็นคากล่าวของ เซอร์ ฟรานซิส เบคอน นักปรัชญาเมธีชาวอังกฤษ แสดงให้ เห็นว่า การอ่านเป็นสิ่งสาคัญสาหรับมนุษย์ เพราะมนุษย์จะไม่สามารถเป็นมนุษย์อยู่ได้อย่าง สมบูรณ์แบบหากปราศจากการอ่าน ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่ของทักษะทางภาษาที่จาเป็นต้องฝึกฝน อยู่สม่าเสมอ และสามารถฝึกฝนได้เรื่อยๆ ตามวัย และประสบการณ์ไม่มีวันสิ้นสุด เป็นสิ่ง สาคัญที่จะช่วยให้มนุษย์ได้รับความคิด ความรู้และความบันเทิง มีผลต่อชีวิตและจิตใจของ มนุษย์ให้เจริญ
  • 5. ความหมายของการอ่าน ชวาล แพรัตกุล (2520 : 134) ได้ให้ความหมายของความเข้าใจว่า เป็นความสามารถใน การผสมแล้วขยายความรู้ความจา ให้ได้ไกลออกไปจากเดิมอย่างสมเหตุสมผลซึ่งจะต้องมี คุณสมบัติหลาย ประการดังนี้ คือ 1. รู้ความหมายและรายละเอียดย่อยๆ ของเรื่องมาก่อนแล้ว 2. รู้ความเกี่ยวข้องความสัมพันธ์ระหว่างขั้นและความรู้ย่อยๆ เหล่านั้น 3. สามารถอธิบายสิ่งเหล่านั้นได้ด้วยภาษาของตนเอง 4. เมื่อพบสิ่งอื่นใดที่มีสภาพทานองเดียวกับที่เคยเรียนรู้มาก่อน ก็สามารถตอบ และอธิบายได้
  • 6. ความหมายของการอ่าน (ต่อ) ทรงพันธ์ วรรณมาศ (2524 : 2–3) ได้แสดงความคิดเห็นว่าการที่ผู้อ่านจะมีความเข้าใจ ในการอ่านและจับใจความได้นั้น จะต้องสืบเนื่องมาจากการอ่านได้เกิดทักษะ 5 ขั้น ตามลาดับคือ ขั้นที่ 1 อ่านออก เป็นหลักการอ่านเบื้องต้นตั้งแต่วัยเด็กเริ่มหัดอ่าน ก็จะต้องอ่านออก เสียงให้ถูกต้อง หรือเมื่ออ่านตาราออกเสียงก็ยังเป็นส่วนสาคัญอยู่ ขั้นที่ 2 อ่านคล่อง หมายถึง การอ่านในใจ ซึ่งเป็นการอ่านขั้นสูง เพราะเมื่ออ่านออกเสียง เกิดความชานาญแล้วการอ่านในใจก็จะตามมา การอ่านประเภทนี้จะต้องกินเวลา ในการอ่านสั้นๆ
  • 7. ความหมายของการอ่าน (ต่อ) ขั้นที่ 3 อ่านเข้าใจเรื่อง ได้แก่ การอ่านแล้วได้รับความรู้ใหม่ ขั้นที่ 4 อ่านแยกแยะชนิดของข้อความได้ โดยเฉพาะข้อความจริง ข้อคิดเห็น และข้อ แสดงอารมณ์ ขั้นที่ 5 อ่านแล้วตีความหรือวินิจฉัยสารได้ ขั้นนี้เป็นขั้นที่จาเป็นมากที่สุดในการอ่าน หนังสือ ผู้อ่านจะต้องเข้าใจว่าผู้เขียนได้ส่งสารอะไรมาให้ผู้อ่านบ้างโดยผู้อ่านต้อง พิจารณาเอง
  • 8. ความหมายของการอ่าน (ต่อ) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายของการอ่านว่า “การอ่านตามตัวหนังสือ การออกเสียงตามตัวหนังสือ การดูหรือเข้าใจความจากตัวหนังสือ : สังเกต หรือพิจารณาดู เพื่อให้เข้าใจ : คิด นับ (ไทยเดิม)” จากคาจากัดความข้างต้นนี้ การอ่านในที่นี้จึงหมายถึงการอ่านในใจและการอ่านออก เสียง สมบัติ จาปาเงิน ให้ความหมายของการอ่านว่า เป็นการเก็บรวบรวมความคิดที่ปรากฏ อยู่ในหนังสือที่อ่าน
  • 9. ความหมายของการอ่าน (ต่อ) สรุปว่าการอ่านที่จะได้ผลต้องพิจารณาจากพฤติกรรมพื้นฐาน 3 ด้าน คือการแปล ความตีความและการขยายความ การแปลความ คือ การเข้าใจเรื่องราวอย่างตรงไปตรงมา การตีความ คือ การเข้าใจเรื่องราวอย่างลึกซึ้ง และอาจแยกแยะไปได้อีกหลาย แง่มุม การขยายความ คือ การนาเสนอความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในรูปของการอธิบาย เพิ่มเติม
  • 10. สรุป ความหมายของการอ่าน การอ่าน คือ การรับรู้ข้อความในการเขียนของตนเองหรือของผู้อื่น รวมถึงการการรับรู้ ความหมายจากเครื่องหมายและสัญลักษณ์ต่างๆ เช่น สัญลักษณ์จราจร เครื่องหมาย ที่แสดงบนแผนที่ เป็นต้น การรับรู้ข้อความ เข้าใจเรื่องราว หรือได้รับรสความบันเทิงใจตรงตามจุดประสงค์ ของผู้เขียนเป็นการอ่านที่ดีและได้ประโยชน์อย่างแท้จริง
  • 11. จุดมุ่งหมายของการอ่าน การอ่านจากหนังสือและสื่อแต่ละครั้งของแต่ละคนจะมีจุดมุ่งหมายแตกต่างกัน ออกไป อาจจาแนก ได้กว้างๆ ดังนี้ 1.การอ่านเพื่อหาความรู้ การอ่านเพื่อหาความรู้ ได้แก่ การอ่านหนังสือจากหนังสือประเภทตาราทางวิชาการ สารคดีทางวิชาการ การวิจัยประเภทต่างๆ หรือการอ่านผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การอ่าน จากหนังสือที่มีสาระเดียวกันควรอ่านจาก ผู้เขียนหลายๆ คน เพื่อเป็นการตรวจสอบ ความถูกต้องแม่นยา ของเนื้อหา ผู้อ่านจะได้มีมุมมองที่กว้างขึ้น มี ความรอบรู้ได้แนวคิด ที่หลากหลาย และไม่ควรอ่านเฉพาะในเนื้อหาวิชาที่ตนชอบเท่านั้น ควรอ่านอย่าง หลากหลายเพราะความรู้ในวิชาหนึ่ง อาจนาไปช่วยเสริมในอีกวิชาหนึ่งได้
  • 12. จุดมุ่งหมายของการอ่าน (ต่อ) 2. การอ่านเพื่อความบันเทิง การอ่านเพื่อความบันเทิงได้แก่ การอ่านจากหนังสือประเภทสารคดีท่องเที่ยว นวนิยาย เรื่องสั้น เรื่องแปล การ์ตูน บทประพันธ์ บทเพลง แม้จะเป็นการอ่าน เพื่อความบันเทิง แต่ผู้อ่านจะได้ความรู้ที่สอดแทรกอยู่ในเรื่องด้วย การอ่านประเภทนี้มี ข้อควรระวังว่าปัจจุบันหนังสือบางชนิดมีเนื้อหาสาระและรูปภาพที่ขัดต่อวัฒนธรรมและ จารีตประเพณีไทย ผู้อ่านจึงควรพิจารณาเลือกให้ดี
  • 13. จุดมุ่งหมายของการอ่าน (ต่อ) 3.การอ่านเพื่อทราบข่าวสาร ความคิด การอ่านเพื่อทราบข่าวสาร ความคิด ได้แก่ การอ่านหนังสือประเภทบทความ บทวิจารณ์ ข่าว รายงาน การประชุม ข้อควรระวัง ในการอ่านประเภทนี้ คือ ผู้อ่านมักเลือก อ่านสื่อที่สอดคล้องกับความคิดและ ความชอบของตน จึงทา ให้ปิดกั้นการรับรู้และแนวคิด ด้านอื่นๆ ดังนั้น ถ้าจะเกิดประโยชน์อย่างแท้จริงต้องเลือกอ่านอย่างหลากหลายไม่เจาะจง อ่านเฉพาะสื่อที่นาเสนอตรงกับความคิดของตน เพราะจะทาให้มุมมองที่กว้างขึ้นอันจะช่วย ให้เรามีเหตุผลอื่นๆ มาประกอบการวิจารณ์ วิเคราะห์ได้ลุ่มลึกมากขึ้น
  • 14. จุดมุ่งหมายของการอ่าน (ต่อ) 4.การอ่านเพื่อจุดประสงค์เฉพาะแต่ละครั้ง การอ่านเพื่อจุดประสงค์เฉพาะแต่ละครั้ง ได้แก่ การอ่านที่ไม่ได้เจาะจง แต่เป็น การอ่านเป็นครั้งคราวในเรื่องที่ตนสนใจหรืออยากรู้ เช่น การอ่านประกาศต่างๆ การอ่าน โฆษณา แผ่นพับประชาสัมพันธ์ สลากยา การอ่านสมุดโทรศัพท์หน้าเหลือง การอ่านข่าว สังคม ข่าวบันเทิง ข่าวกีฬา การอ่านประเภทนี้มักใช้เวลาไม่นานและไม่กระทาทุกวัน ส่วนใหญ่เป็นการอ่านเพื่อให้ความรู้แนะนาไปใช้หรือนาไปเป็นหัวข้อสนทนา บางครั้งก็เพื่อ ฆ่าเวลา
  • 15. ประเภทของการอ่าน การอ่านแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ การอ่านในใจและการอ่านออกเสียง 1. การอ่านในใจ คือการแปลความหมายของตัวอักษรออกมาเป็นความคิด ความเข้าใจ และ นาความคิดความเข้าใจที่ได้นั้นไปใช้ให้เป็นประโยชน์ ประเภทของการอ่านดังต่อไปนี้คือ  การอ่านจับใจความ  การอ่านตีความ  การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ  การอ่านวิเคราะห์  การอ่านเพื่อประเมินคุณค่า
  • 16. ประเภทของการอ่าน (ต่อ)  การอ่านจับใจความ การอ่านจับใจความเป็นพื้นฐานของการอ่านในใจที่มุ่งคุณค่าทางสติปัญญา แบ่งการอ่านชนิดนี้ออกเป็น 2 ประเภทคือ • การอ่านจับใจความส่วนรวม เป็นการอ่านเพื่อเข้าใจเนื้อหาส่วนรวม เป็นประโยชน์ ต่อผู้ที่ต้องการอ่านอย่างรวดเร็ว สังเกตส่วนประกอบของงานเขียน เช่น ชื่อเรื่อง คานาวัตถุประสงค์ และเขียน เพื่ออะไร วิเคราะห์จุดมุ่งหมายงานเขียนว่าเขียนด้วยวัตถุประสงค์ใด จัดลาดับเนื้อหาใหม่ตามความสาคัญ ใช้การตั้งคาถามกว้างๆ ว่าใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร
  • 17. ประเภทของการอ่าน (ต่อ) • การอ่านจับใจความสาคัญ ใจความสาคัญคือใจความหลักของเรื่องเป็นการอ่าน ที่ละเอียดมากขึ้น เพื่อจับใจความสาคัญของงานเขียนแต่ละย่อหน้า  อ่านวิเคราะห์คาหรือประโยค โดยการตีความหมายของศัพท์ยากในข้อเขียน  วิเคราะห์จุดมุ่งหมายงานเขียนว่าเขียนด้วยวัตถุประสงค์ใด  วิเคราะห์น้าเสียงว่าเป็นไปในทานองใด ประชดประชัน ล้อเลียน ฯลฯ  วิจารณ์เนื้อหาสาระของงานเขียน
  • 18. ประเภทของการอ่าน (ต่อ)  การอ่านตีความ การอ่านตีความ คือ การอ่านที่ผู้อ่านจะต้องใช้สติปัญญาตีความหมายของคาและ ข้อความทั้งหมด โดยพิจารณาถึงความหมายโดยนัย หรือความหมายแฝงที่ผู้เขียนต้องการจะ สื่อความหมาย ซึ่งทั้งนี้ผู้อ่านจะสามารถตีความหมายของคาสานวนได้ถูกต้องหรือไม่นั้น จาเป็นต้องอาศัยเนื้อความแวดล้อมของข้อความนั้นๆ บางครั้งต้องอาศัยความรู้หรือ ประสบการณ์ปัจจุบันเป็นเครื่องช่วยตัดสินการอ่านตีความมีหลักเกณฑ์ในการอ่านดังนี้
  • 19. ประเภทของการอ่าน (ต่อ) ข้อปฏิบัติในการอ่านตีความ - อ่านเรื่องให้ละเอียดโดยพยายามจับประเด็นสาคัญของเรื่องให้ได้ - หาเหตุผลอย่างรอบคอบเพื่อพิจารณาว่ามีความหมายถึงสิ่งใด - ทาความเข้าใจกับถ้อยคาที่ได้จากการตีความ - เรียบเรียงถ้อยคาให้มีความหมายชัดเจนและมีเหตุมีผลเป็นหลักสาคัญ ตัวอย่างการอ่านตีความ “เห็นช้างขี้ขี้ตามช้าง” ตีความได้ว่า จะทาอะไรควรดูฐานะของตน ไม่ควรเอาอย่างคนที่มีฐานะดีกว่าเรา
  • 20. ประเภทของการอ่าน (ต่อ)  การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ การอ่านชนิดนี้เป็นการอ่านที่ค่อนข้างยาก เพราะต้องใช้การหาเหตุผลมาใช้ในการวิจารณ์ ข้อควรปฏิบัติในการอ่านอย่างใช้วิจารณญาณ  พิจารณาความหมายของข้อความที่อ่าน  พิจารณาความต่อเนื่องของประโยคว่ามีเหตุผลสอดรับกันหรือไม่  พิจารณาความต่อเนื่องของใจความหลักและใจความรอง  แยกแยะข้อเท็จจริงออกจากความคิดเห็นและความรู้สึก  พิจารณาว่ามีความรู้เนื้อหา หรือมีความคิดแปลกใหม่น่าสนใจหรือไม่
  • 21. ประเภทของการอ่าน (ต่อ)  การอ่านวิเคราะห์ การอ่านชนิดนี้เป็นการอ่านเพื่อพิจารณาอย่างถี่ถ้วน เป็นการแยกแยะ ทาความเข้าใจองค์ประกอบหรือโครงสร้างของหนังสือแต่ละประเภท ข้อควรปฏิบัติในการอ่านวิเคราะห์  ศึกษารูปแบบของงานประพันธ์ว่าเป็นรูปแบบใด  แยกเนื้อเรื่องออกเป็นส่วนๆ ให้เห็นว่าใครทาอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อไร  แยกพิจารณาแต่ละส่วนให้ละเอียดลงไปว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง  พิจารณากลวิธีในการนาเสนอ
  • 22. ประเภทของการอ่าน (ต่อ)  การอ่านเพื่อประเมินคุณค่า การอ่านวิธีนี้ หมายถึงการที่ผู้อ่านใช้อารมณ์ความรู้สึก ส่วนตัว ในการประเมินค่างานเขียนซึ่งอาจจะมีเรื่องของอารมณ์และความรู้สึกส่วนตัวเข้าร่วม ด้วย การประเมินคุณค่าที่ดีต้องปราศจากอารมณ์และในการประเมินคุณค่านั้นต้องประเมิน ตามลักษณะของหนังสือด้วย เช่น ถ้าเป็นตารา เอกสารทางวิชาการต้องประเมินในเรื่อง ความรู้ การใช้ภาษา ฯลฯ ถ้าเป็นหนังสือสารคดีหรือบทความ ควรประเมินความคิดเห็นของ ผู้เขียน หรือหนังสือพิมพ์ต้องประเมินจากความน่าเชื่อถือของข่าว และอคติของผู้เขียน การอ่านประเมินค่า มีวิธีการอ่านดังนี้
  • 23. ประเภทของการอ่าน (ต่อ)  พิจารณาความถูกต้องของภาษาจากเรื่องที่อ่าน ภาษาที่ไม่ถูกต้องจะทาให้เกิดความ คลาดเคลื่อนไปจากความหมายที่แท้จริง ความถูกต้องของภาษามีหลายลักษณะ เช่น การใช้คาผิดความหมาย การเรียงคาในประโยคผิด การไม่รู้จักเว้นวรรคตอน เป็นต้น นับเป็นองค์ประกอบสาคัญต่อการสื่อความหมาย พิจารณาความต่อเนื่องของประโยค ว่าเป็นข้อความที่ไปกันได้ ไม่ขัดแย้งกัน หรือ ข้อความที่ให้ความก้าวหน้าแก่กัน หากข้อความใดมีเนื้อหาสับสนวุ่นวาย ไม่เข้ากับ หลักสามข้อนี้ให้ถือว่าเป็นเรื่องที่ไม่ควรอ่าน
  • 24. ประเภทของการอ่าน (ต่อ) พิจารณาความต่อเนื่องของความหมาย ความหมายที่ต่อเนื่องต้องมีแกนหลักในการ เชื่อมโยงความหมาย เช่น การเขียนชีวประวัติ อาจใช้ช่วงเวลาของชีวิตเป็นแกนหลัก เป็นต้น เมื่ออ่านแล้วต้องแยกข้อเท็จจริงออกจากความคิดเห็น และความรู้สึก จาก เรื่องที่อ่านดังตัวอย่าง เช่น
  • 25. ประเภทของการอ่าน (ต่อ) “ประเทศหนึ่งๆ ต่างมีระบอบการปกครองแตกต่างกันออกไป ประเทศรัสเซียได้ชื่อว่า เป็นประเทศที่ปกครองด้วยระบบสังคมนิยม ไม่มีศาสนา ไม่มีพระมหากษัตริย์ ถ้าข้าพเจ้าต้อง มีชีวิตอยู่ที่นั่นคงจะอึดอัดใจมิใช่น้อย เพราะข้าพเจ้าถือว่า ทั้งสองสถาบันนี้คือ ศูนย์รวมจิตใจ ของทุกคน” ข้อเท็จจริง - ประเทศหนึ่งๆต่างมีระบอบการปกครองของตนเองไม่เหมือน ประเทศอื่น ประเทศรัสเซียมีการปกครองตามระบอบสังคมนิยม ไม่มีศาสนา ไม่มี พระมหากษัตริย์ ความรู้สึก – ถ้าข้าพเจ้าต้องมีชีวิตอยู่ที่นั่นคงจะอึดอัดใจมิใช่น้อย
  • 26. ประเภทของการอ่าน (ต่อ)  พิจารณาดูความสัมพันธ์ของหลักการและตัวอย่าง ว่ามีความจริงเพียงไร สมเหตุผล หรือไม่ ก่อนที่จะเชื่อในเรื่องที่อ่านนั้น  ประเมินข้อเท็จจริง ความคิดเห็น และความรู้สึก วิเคราะห์ความเป็นไปในความคิด ของผู้เขียน กับความคิดเห็นส่วนตัวของเรา ผลลัพธ์แห่งการประเมินนั้นจะเป็น ความคิดสร้างสรรค์ให้กับเราหรือไม่
  • 27. ประเภทของการอ่าน (ต่อ) 2. การอ่านออกเสียง การอ่านออกเสียง หมายถึงการอ่านข้อความโดยการเปล่งเสียงออกมา เพื่อให้ผู้อื่นได้รับรู้ข้อความนั้นๆ ด้วยการอ่านออกเสียงแบ่งเป็น 2 ลักษณะคือ  การอ่านออกเสียงปกติ เป็นการอ่านออกเสียงตามปกติทั่วไป อ่านได้ทั้งบทร้อยแก้วและ ร้อยกรอง เช่น อ่านข่าว อ่านประกาศ อ่านตีบท อ่านสารคดี อ่านข้อความประกอบ ภาพนิ่ง หรืออ่านบทภาพยนตร์ ฯลฯ
  • 28. ประเภทของการอ่าน (ต่อ) ข้อควรปฏิบัติในการอ่านออกเสียงตามปกติ  ทาความเข้าใจกับเรื่องที่จะอ่านก่อนการอ่านจริง  ออกเสียงชัดเจน ดังพอประมาณ มีลีลาจังหวะในการอ่านอย่างเหมาะสม  แบ่งวรรคตอนได้ถูกต้อง  อ่านออกเสียงถูกต้องตามอักขรวิธี
  • 29. ประเภทของการอ่าน (ต่อ)  อ่านทานองเสนาะ การอ่านทานองเสนาะเป็นการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองหรือ วรรณคดีไทยให้ไพเราะน่าฟัง มุ่งให้เกิดความรู้สึกซาบซึ้ง เกิดอารมณ์ จินตนาการ คล้อย ตามบทร้อยกรองนั้นๆ ด้วย หลักเกณฑ์ในการอ่านทานองเสนาะ  ต้องรู้จักลักษณะคาประพันธ์ที่จะอ่านก่อนว่าบังคับฉันทลักษณ์อย่างไร  อ่านให้ถูกทานอง  ควรมีน้าเสียงและลีลาในการอ่านที่ดี  ออกเสียงแต่ละคาถูกต้องชัดเจน
  • 30. ความสาคัญของการอ่าน ชีวิตของแต่ละคนย่อมต้องเกี่ยวข้องผูกพันกับสังคม คือ กลุ่มคนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไม่มีใครที่จะอยู่ได้โดยปราศจากสังคมและการอยู่ร่วมกับคนอื่น ซึ่งจะต้องมีความเข้าใจซึ่งกัน และกัน มีการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ความสนใจ เพื่อให้สังคมเกิดความสงบสุขและ พัฒนาไปข้างหน้าอย่างแท้จริง
  • 31. ความสาคัญของการอ่าน (ต่อ) การอ่านจึงมีความสาคัญ ดังนี้  การอ่านเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในวัยศึกษาเล่าเรียน จาเป็นต้องอ่านหนังสือเพื่อการศึกษาหาความรู้ด้านต่างๆ  การอ่านเป็นเครื่องมือช่วยให้ประสบความสาเร็จในการประกอบอาชีพ เพราะสามารถนา ความรู้ที่ได้จากการอ่านไปพัฒนางานของตนได้ การอ่านเป็นเครื่องมือสืบทอดทางวัฒนธรรมของคนรุ่นต่อๆ ไป การอ่านเป็นวิธีการส่งเสริมให้คนมีความคิดอ่านและฉลาดรอบรู้ เพราะประสบการณ์ที่ได้ จากการอ่านเมื่อเก็บสะสมเพิ่มพูนนานวันเข้า ก็จะทาให้เกิดความคิด เกิดสติปัญญา เป็นคน ฉลาดรอบรู้ได้
  • 32. ความสาคัญของการอ่าน (ต่อ)  การอ่านเป็นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดความเพลิดเพลินบันเทิงใจ เป็นวิธีหนึ่งในการแสวงหา ความสุขให้กับตนเองที่ง่ายที่สุด และได้ประโยชน์คุ้มค่าที่สุด  การอ่านเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต ทาให้เป็นคนที่สมบูรณ์ทั้งด้านจิตใจและบุคลิกภาพ เพราะเมื่ออ่านมากย่อมรู้มาก สามารถนาความรู้ไปใช่ในการดารงชีวิตได้อย่างมีความสุข  การอ่านเป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบการเมือง การปกครอง ศาสนา ประวัติศาสตร์ และสังคม  การอ่านเป็นวิธีการหนึ่งในการพัฒนาระบบการสื่อสารและการใช้เครื่องมือทาง อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ
  • 33. หลักการอ่านคาในภาษาไทย การอ่านออกเสียงคาเป็นการแสดงความหมายของคาไปสู่ผู้อ่านและผู้ฟัง เพื่อให้เกิด ความเข้าใจกัน ในการอ่านคาในภาษาไทยมีปัญหาอยู่มาก เพราะนอกจากคาไทยแล้ว ยังมีภาษาต่างประเทศปนอยู่หลายภาษา คาบางคาอ่านอย่างภาษาไทย บางคาอ่านตาม ลักษณะของภาษาเดิม การอ่านคาในภาษาไทยจึงต้องศึกษาหลักเกณฑ์และเหตุผลประกอบ เป็นคาไป
  • 34. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) วิธีการอ่าน ระดับของการอ่าน แบ่งเป็น 2 ระดับ คือ 1.อ่านออก การที่ผู้อ่านรู้จักพยัญชนะ สระและเครื่องหมายต่างๆ สามารถอ่านออกเสียง ออกมาเป็นคาได้อย่างถูกต้อง
  • 35. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 2.อ่านเป็น เป็นการอ่านที่แตกต่างจากระดับแรกโดยสิ้นเชิง เพราะการอ่านเป็นนั้น หมายความว่า ผู้อ่านจะต้องอ่านได้ถูกต้อง คล่องแคล่ว จับใจความได้ตรงตามที่ผู้เขียน ต้องการ ทราบความหมายของข้อความทุกอย่าง รวมถึงความหมายที่ผู้เขียนเจตนาแฝงเร้น ไว้ สามารถเข้าใจเจตนาและอารมณ์ของผู้เขียนตลอดจนสามารถประเมินคุณค่าและเลือกรับ สิ่งดีๆ จากงานเขียนนั้นได้ จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องฝึกฝนทักษะในการอ่านของตนเองให้ มาก เพื่อที่จะได้อ่านเป็น ซึ่งต้องอาศัยเวลาในการฝึกฝนค่อนข้างนาน
  • 36. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) การอ่านออกเสียงคาให้ถูกต้อง ทาให้ผู้รับสารสามารถเข้าใจความหมายขอคาและ สามารถสื่อสารได้เข้าใจซึ่งกันและกัน การศึกษาทาความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการอ่านคาตาม อักขรวิธีอย่างถ่องแท้ จะช่วยให้การสื่อสารบรรลุประสิทธิผลตาเจตนาของผู้ส่งสาร
  • 37. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 1. การอ่านคาสมาส 2. การอ่านคาที่มาจากภาษาบาลีและ ภาษาสันสกฤต 3. การอ่านอักษรนา 4. การอ่านอักษรควบกลา 5. การอ่านคาแผลง 6. การอ่านคาพ้อง 7. การอ่านพยัญชนะ ฑ 8. การอ่านพยัญชนะ ฤ ตัว ฤ 9. การอ่านตัวเลข 10. การอ่านเครื่องหมายต่างๆ
  • 38. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 1. การอ่านคาสมาส มีวิธีการอ่าน ดังนี้ 1.1 คาหน้าพยัญชนะเขียนเรียงพยางค์ให้อ่านเรียงพยางค์ต่อกับคาหลัง เช่น พลศึกษา อ่าน พะ-ละ-สึก-สา อารยธรรม อ่าน อา-ระ-ยะ-ทา ศากยวงศ์ อ่าน สา-กะ-ยะ-วง
  • 39. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 1. การอ่านคาสมาส มีวิธีการอ่าน ดังนี้ 1.2 พยัญชนะสุดท้ายของคาหน้าเป็นตัวสะกด ให้อ่านออกเสียง 2 ครั้ง คือ อ่านเป็น ตัวสะกดและอ่านซ้าตามสระที่ปรากฏ เช่น รัชกาล อ่าน รัด-ชะ-กาน กิจกรรม อ่าน กิด-จะ-กา ศักราช อ่าน สัก-กะ-หราด
  • 40. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 1. การอ่านคาสมาส มีวิธีการอ่าน ดังนี้ 1.3 คาหน้ามีตัวสะกดและตัวตามอ่านออกเสียงตัวสะกดซ้าและตัวตามอ่านออกเสียง อะ กึ่งเสียง เช่น สัตวแพทย์ อ่าน สัด-ตะ-วะ-แพด อิสรภาพ อ่าน อิด-สะ-หระ-พาบ ทิพยอาสน์ อ่าน ทิบ-พะ-ยะ-อาด
  • 41. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 1. การอ่านคาสมาส มีวิธีการอ่าน ดังนี้ 1.4 พยัญชนะตัวสะกดของคาหน้าเป็นอักษรควบแท้ อ่านออกเสียงควบกล้า เช่น มาตรฐาน อ่าน มาด-ตระ-ถาน จักรวาล อ่าน จัก-กระ-วาน 1.5 คาสมาสบางคาที่ไม่ออกเสียงแบบสมาส เช่น ชลบุรี อ่าน ชน-บุ-รี เพชรบุรี อ่าน เพ็ด-บุ-รี
  • 42. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 1. การอ่านคาสมาส มีวิธีการอ่าน ดังนี้ ข้อสังเกต คาไทยบางคาไม่ใช่คาสมาส แต่นิยมอ่านออกเสียงแบบสมาส เช่น ผลไม้ อ่าน ผน-ละ-ไม้ ราชวัง อ่าน ราด-ชะ-วัง เทพเจ้า อ่าน เทบ-พะ-เจ้า พลความ อ่าน พน-ละ-ความ พลเมือง อ่าน พน-ละ-เมือง
  • 43. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 2. การอ่านคาที่มาจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต มีวิธีการอ่านดังนี้ 2.1 พยัญชนะวรรคที่เป็นตัวสะกดตัวตาม ไม่ต้องอ่านเสียงตัวสะกดนั้น เช่น มัจฉา อ่าน มัด-ฉา วิตถาร อ่าน วิด-ถาน อาชญา อ่าน ปรัด-ยา สัปตสก อ่าน สั-ตะ-สก
  • 44. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 2. การอ่านคาที่มาจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต มีวิธีการอ่านดังนี้ 2.2 คาที่ในภาษาเดิมออกเสียง อะ เรียงพยางค์ อ่านเป็น อะ เช่น กรณี อ่าน กะ-ระ-นี กรกฎาคม อ่าน กะ-ระ-กะ-ดา-คม ธนบัตร อ่าน ทะ-นะ-บัด สมณะ อ่าน สะ-มะ-นะ
  • 45. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 2. การอ่านคาที่มาจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต มีวิธีการอ่านดังนี้ 2.3 คาที่อ่านออกเสียง ออ ตามหลักภาษาไทย เช่น ธรณี อ่าน ทะ-ระ-นี มรณา อ่าน มอ-ระ-นา บวร อ่าน บอ-วอน วรกาย อ่าน วอ-ระ-กาย มรดก อ่าน มอ-ระ-ดก
  • 46. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 2. การอ่านคาที่มาจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต มีวิธีการอ่านดังนี้ 2.4 คาบางคาอ่านได้ 2 แบบคืออ่านเรียงพยางค์กับไม่เรียงพยางค์ เช่น กรณี คมนาคม ปรปักษ์ เทศนา 2.5 คาที่ ย ล ร ว เป็นตัวสะกดหรือเป็นตัวตาม ต้องออกเสียงตัวสะกดด้วย เช่น กัลบก อ่าน กัน-ละ-บก อัยการ อ่าน ไอ-ยะ-กาน วัชรา อ่าน วัด-ชะ-รา วิทยา อ่าน วิด-ทะ-ยา จัตวา อ่าน จัด-ตะ-วา
  • 47. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 2. การอ่านคาที่มาจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต มีวิธีการอ่านดังนี้ 2.6 คาบางคาอ่านแบบอักษรนาหรืออักษรควบ เช่น อาขยาน อ่าน อา-ขะ-หยาน
  • 48. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 3. การอ่านอักษรนา มีวิธีการดังนี้ 3.1 พยัญชนะตัวที่นา เป็นอักษรกลางหรืออักษรสูงและตัวที่ถูกนามาเป็นอักษรต่า เดี่ยวให้อ่านตามเสียงวรรณยุกต์ของตัวนา หรือมีเสียงวรรณยุกต์ของตัวนา หรือมีเสียง ห ที่พยางค์หลัง เช่น กนก อ่าน กะ-หนก ขยาย อ่าน ขะ-หยาย
  • 49. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 3. การอ่านอักษรนา มีวิธีการดังนี้ 3.2 ห นา อักษรต่าเดี่ยวให้อ่านเสียงตัว ห กลมกลืนกัอักษรต่าเดี่ยวและอ่านออกเสียง พยางค์เดียว เช่น หมู หมา หนู หรูหรา ไหล ใหล ไหน หมอ เหงา หงอย 3.3 นาอักษรต่าเดี่ยว ย ให้อ่านกลมกลืนเสียง ย และออกเสียงพยางค์เดียวได้แก่ อย่า อยู่ อย่าง อยาก มีคาบางคาไม่อ่านตามกฎเกณฑ์ จะอ่านตามความนิยม เช่น สมาคม ขมา ไผท ผจง ขจร
  • 50. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 4. การอ่านอักษรควบกล้า 4.1 การอ่านอักษรควบแท้ โดยการอ่านออกเสียงพยัญชนะควบกล้ากับพยัญชนะ ร ล ว พร้อมกัน เช่น กลอง ครอบ พราย ตรวจ เปลี่ยน ผลาญ ไขว่ ครัว 4.2 การอ่านอักษรควบกล้าไม่แท้ โดยอ่านออกเสียงพยัญชนะควบกล้าตัวหน้าเพียง เสียงเดียว คือ ทร สร ศร ออกเสียงเป็น ซ เช่น ทราย เทริด ไทร ทรุด ทราม ทราบ ทรวง พุททรา อินทรี ทรวดทรง สร้อย เสริม สร้าง แสร้ง เศร้า ศรี จริง
  • 51. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 5. การอ่านคาแผลง มีวิธีการอ่านดังนี้ 5.1 คาเดิมที่มีพยัญชนะต้นตัวเดียว เมื่อแผลงเป็น 2 พยางค์ ให้ออกเสียงตามคาที่แผลง ใหม่ เช่น แจก แผลงเป็น จาแนก อ่าน จา-แนก อวย แผลงเป็น อานวย อ่าน อา-นวย อาจ แผลงเป็น อานาจ อ่าน อา-นาด
  • 52. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 5.2 คาเดิมที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรควบเมื่อแผลงเป็น 2 พยางค์ ให้อ่านออกเสียง พยางค์ท้าย(เสียงวรรณยุกต์) ให้เหมือนคาเดิม เช่น กราบ แผลงเป็น การาบ อ่าน กา-หราบ ตรวจ แผลงเป็น ตารวจ อ่าน ตา-หรวด ตริ แผลงเป็น ดาริ อ่าน ดา-หริ ปราบ แผลงเป็น บาราบ อ่าน บา-หราบ ปราศ แผลงเป็น บาราศ อ่าน บา-ราด(ยกเว้น)
  • 53. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 5.3 คาเดิมเป็นอักษรกลาง แผลงเป็นอักษรสูงออกเสียงเป็นอักษรนา เช่น บัง แผลงเป็น ผนัง อ่าน ผะ-หนัง บวช แผลเป็น ผนวช อ่าน ผะ-หนวด บวก แผลงเป็น ผนวก อ่าน ผะ-หนวก
  • 54. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 6. การอ่านคาพ้อง 6.1 คาพ้องรูป คือ คาที่เขียนเหมือนกันแต่อ่านออกเสียงต่างกัน เช่น พลี (พะ-ลี,พลี) สระ(สะ-สะ-หร) กรี(กะ-รี,กรี) ปรัก(ปะ-หรัก,ปรัก) ปรามาส(ปะ-รา-มาด,ปรา-มาด) 6.2 คาพ้องเสียง คือ คาที่เขียนต่างกันแต่อ่านออกเสียงเหมือนกัน เช่น การ กานต์ กานท์ การณ์ กาน กาล จันทร์ จันทน์ จัน จัณฑ์
  • 55. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 7. การอ่านพยัญชนะ ฑ มีวิธีการดังนี้ 7.1 ออกเสียง ต เช่น มณฑป อ่าน มน-ดบ บัณเฑาะก์ อ่าน บัน-เดาะ บัณฑุ อ่าน บัน-ดุ ปานฑพ อ่าน ปาน-ดบ บุณฑริก อ่าน บุน-ดะ-ริก บัณฑิต อ่าน บัน-ดิด
  • 56. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 7. การอ่านพยัญชนะ ฑ มีวิธีการดังนี้ 7.2 อ่านออกเสียง ท เช่น มณฑก อ่าน มน-ทก มณฑล อ่าน มน-ทน ขัณฑสีมา อ่าน ขัน-ทะสี-มา ขันฑสกร อ่าน ขัน-ทด-สะ-กอน มณโฑ อ่าน มน-โท บัณฑิก อ่าน บัน-ทิก
  • 57. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 8. การอ่านพยัญชนะ ฤ ตัว ฤ เป็นสระในภาษาสันสกฤษ เดิมอ่าน ริ อย่างเดียว แต่เมื่อ นามาใช้ในภาษาไทยสามารถอ่านได้ 3 เสียง คือ ริ รึ เรอ มีวิธีการอ่านดังนี้ 8.1 การออกเสียง (ริ) 8.1.1 เมื่อ ฤ ตามหลังพยัญชนะ ก ต ท ป ศ ส เช่น กฤตยา กฤษฎีกา ตฤนมัย ทฤษฎี ปฤจฉา ปฤษฎางค์ ศฤงคาร สฤษฏ์ กฤษณา ตฤป 8.1.2 เมื่อเป็นพยางค์หน้าของคาและมีตัวสะกด เช่น ฤทธิ์ ฤณ(หนี้) ฤทธา ฤษยา
  • 58. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 8.2 การอ่านออกเสียง (รึ) 8.2.1 เมื่อเป็นพยางค์หน้าของคา ละมีตัวสะกด เช่น ฤดู ฤทัย ฤษภ(วัยตัวผู้) ฤษี ฤชา ฤดี ฤช ฆคเวท ฤกษณะ(การมองเห็น) 8.2.2 เมื่อ ฤ ตามหลังพยัญชนะ ค น ม พ ห เช่น คฤหบดี คฤหาสน์ นฤบดี พฤศจิกายน หฤทัย นฤมล มฤตยู มฤค หฤโหด พฤนท์ มฤตก พฤกษ์ 8.2.3 เมื่ออยู่โดดๆ เช่น ฤ
  • 59. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 9. การอ่านตัวเลข มีหลักเกณฑ์ดังนี้ 9.1 จานวนเลขตั้งแต่ 2 หลักขึ้นไป ถ้าตัวเลขตัวท้ายเป็นเลข 1 ให้ออกเสียงเอ็ด 9.2 ตัวเลขที่มีจุดทศนิยม 9.2.1 ตัวหน้าจุดทศนิยม ให้อ่านแบบจานวนเต็ม ตัวเลขหลังจุดทศนิยม ให้ อ่านเรียงตัว 9.2.2 ตัวเลขที่เป็นเงินตราหรือหน่วยนับ ให้อ่านตามหน่วยเงิน หรือหน่วยนับ นั้นๆ
  • 60. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 9.3 การอ่านตัวเลขบอกเวลา 9.3.1 การอ่านชั่วโมงที่ไม่มีจานวนนาที เช่น 05.00 อ่านว่า ห้า-นา-ลิ-กา 9.3.2 การอ่านจานวนชั่วโมง นาทีและวินาที อ่านจากหน่วยใหญ่ไปหน่วยย่อย 9.4 การอ่านเวลาที่มีเศษของวินาที เช่น 2 : 03 : 47.80 อ่านว่า สอง-นา-ลิ-กา-สาม-นา-ที-สี่-สิบ-เจ็ด-จุด-แปด-สูน-วิ-นา-ที 9.5 การอ่านตัวเลขที่แสดงมาตราส่วนหรืออัตราส่วน เช่น 1 : 200,000 อ่านว่า หนึ่ง-ต่อ-สอง-แสน
  • 61. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 9.6 การอ่านตัวเลขหนังสือราชการ นิยมอ่านแบบเรียงตัว เข่น หนังสือที่ ศธ 0030.01/605 ลว. 15 มกราคม 2553 อ่านว่า หนังสือที่สอทอสูนสูน สามสูนจุดสูนหนึ่งทับหกสูนหนึ่ง ลงวันที่สิบห้ามะกะราคม พุดทะสักกะหราดสองพัน ห้าร้อยห้าสิบสาม 9.7 การอ่านเลข ร.ศ. ที่มีการเทียบเป็น พ.ศ. กากับ เช่น ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436) อ่านว่า รัดตะนะโกสินสกร้อยสิบสอง ตรงกับ พุดทะสักกะหราดสองพันสี่ร้อยสามสิบหก
  • 62. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 9.8 การอ่านบ้านเลขที่ 9.8.1 การอ่านบ้านเลขที่ซึ่งตัวเลข 2 หลักให้อ่านแบบจานวนเต็ม ส่วนตัวเลข หลังเครื่องหมายทับ(/) ให้อ่านแบบเรียงตัว เช่น บ้านเลขที่ 97/258 อ่านว่า บ้านเลขที่เก้าสิบเจ็ดทับสองห้าแปด 9.8.2 การอ่านบ้านเลขที่ซึ่งมีตัวเลข 3 หลักขึ้นไป ให้อ่านแบบจานวนเต็ม หรือแบบเรียงตัวก็ได้ ส่วนตัวเลขหลังเครื่องหมายทับ (/) ให้อ่านแบบเรียงตัว 9.8.3 การอ่านบ้านเลขที่กลุ่มตัวเลขที่มี 0 อยู่ข้างหน้า ให้อ่านเรียงตัวเสมอ
  • 63. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 9.9 การอ่านรหัสไปรษณีย์ ให้อ่านแบบเรียงตัว 9.10 การอ่านหมายเลขทางหลวง ให้อ่านตัวเลขแบบเรียงตัว
  • 64. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 10. การอ่านเครื่องหมายต่างๆ มีหลักการอ่านดังนี้ 10.1 การอ่านคาหรือข้อความที่มีเครื่องหมายวงเล็บกากับอยู่ ให้อ่านว่า วงเล็บ เปิด...วงเล็บปิด 10.2 การอ่านเครื่องหมายอัญประกาศ ( “...” ) ให้อ่าน อัญประกาศเปิด.... อัญประกาศปิด 10.3 การอ่านเครื่องหมายไม้ยมก เช่น ให้อ่านซ้าคาหรือข้อความ 10.4 การอ่านเครื่องหมายไปยาลน้อยหรือเปยยาลน้อย เวลาอ่านต้องอ่านเต็มคา
  • 65. หลักการอ่านคาในภาษาไทย (ต่อ) 10. การอ่านเครื่องหมายต่างๆ มีหลักการอ่านดังนี้ 10.5 การอ่านเครื่องหมายไปยาลใหญ่ หรือเปยยาลใหญ่ หากอยู่ท้ายข้อความให้ อ่านว่าละ หรือ และอื่นๆ และเมื่ออยู่กลางข้อความให้อ่านว่า ละถึง 10.6 การอ่านเครื่องหมายไข่ปลาหรือจุดไข่ปลา ก่อนอ่านควรหยุดเล็กน้อย แล้ว จึงอ่านว่า ละ ละ ละ แล้วจึงอ่านข้อความต่อไป
  • 66. คุณสมบัติของนักอ่านที่ดี 1. มีนิสัยรักการอ่าน 2. มีจิตใจกว้างขวางพร้อมที่จะอ่านหนังสือที่ดีมีคุณค่าได้ทุกประเภท 3. มีเจตคติที่ดีต่อการอ่านและเรื่องที่อ่าน 4. หมั่นหาเวลาหรือจัดเวลาสาหรับการอ่านให้กับตนเองทุกวันอย่างสม่าเสมอ 5. เป็นคนรักหนังสือและแสวงหาหนังสือที่ดีอ่านอยู่เสมอ 6. มีความสามารถในการเลือกหนังสือที่ดีอ่าน 7. มีความอดทน มีอารมณ์ หรือมีสมาธิในการอ่าน 8. มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่สมบูรณ์ 9. มีความเบิกบาน แจ่มใส และปลอดโปร่งอยู่เสมอ 10. มีนิสัยใฝ่หาความรู้ ความคิด และประสบการณ์ใหม่ๆ อยู่เสมอ
  • 67. คุณสมบัติของนักอ่านที่ดี (ต่อ) 11. มีทักษะในการอ่านสรุปความ วิเคราะห์ความ และวินิจฉัยความ 12. มีความคิดหรือมีวิจารณญาณที่ดีต่อเรื่องที่อ่านสามารถที่จะแยกแยะข้อเท็จจริง ความ ถูกต้อง ความเหมาะสมต่างๆ และสามารถเลือกนาไปใช้ประโยชน์ 13. มีนิสัยชอบจดบันทึกเรื่องราวต่างๆ ที่พบในการอ่านและเห็นว่ามีคุณค่า 14. มีความจาดี รู้จักหาวิธีช่วยจา และเพิ่มประสิทธิภาพของการจา 15. มีนิสัยชอบเข้าร้านหนังสือและห้องสมุด 16. มีโอกาสหรือหาโอกาสพูดคุยกับผู้รักการอ่านด้วยกันอยู่เสมอ เพื่อแลกเปลี่ยน ทรรศนะในการอ่านให้แตกฉานยิ่งขึ้น 17. มีนิสัยหมั่นทบทวน ติดตาม ค้นคว้าเพิ่มเติม