SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 10
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 8
สถานการณ์ปัญหา 
ในคาบเรียนนี้นักศึกษาได้รับหน้าที่ในการเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบวัสดุกราฟิก ซึ่ง ปฏิบัติหน้าที่ประจำอยู่ที่คลินิก รับปรึกษาปัญหาการผลิตสื่อ ซึ่งในวันนี้ก็มีคุณครู 5 คน เข้ามาปรึกษากับ คุณ ซึ่งประกอบด้วย 
คุณครูแดน ต้องการนำเสนอเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป และเนื้อหามีความเป็น นามธรรม ซึ่งครูแดนต้องการให้นักเรียนได้ความคิดรวบยอด (Concept) ของเรื่องที่สอน และช่วยในการ สรุปเนื้อหาที่สอน 
คุณครูรุท เป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์และในการสอนวันนี้ต้องการให้นักเรียนเข้าใจถึงระบบ การทำงานของระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ 
คุณครูอั้ม เป็นครูฝ่ายวิชาการของโรงเรียน ซึ่งจะต้องทำหน้าที่การสรุปสถิติจำนวนนักเรียนทุก ระดับชั้น(ม.1 - ม.6) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกภาคการศึกษา เพื่อแสดงให้บุคลากรใน โรงเรียนและบุคคลทั่วไปทราบ 
คุณครูพอลล่า เป็นครูที่สอนในระดับอนุบาล ซึ่งต้องการเร้าความสนใจของนักเรียนให้ นักเรียนเกิดความสนุกสนานและเกิดจินตนาการ 
คุณครูศรราม เป็นครูฝ่ายปกครอง ซึ่งต้องการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้นักเรียนหันมาเล่น กีฬา และให้นักเรียนห่างไกลยาเสพติด
ภารกิจ 
1. เลือกสื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะความต้องการของคุณครู แต่ละคน พร้อมอธิบายเหตุผลในการเลือกและคุณลักษณะของวัสดุ กราฟิกที่สำคัญที่เลือกใช้ 
2. ออกแบบการนำเสนอข้อมูล โดยใช้คุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่ สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาในสาระการเรียนรู้วิชาเอกของคุณ
1. เลือกสื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะความต้องการของคุณครูแต่ละคน พร้อมอธิบาย เหตุผลในการเลือกและคุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่สำคัญที่เลือกใช้ 
คุณครูแดน 
สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมการลักษณะความต้องการของคุณครู แดน คือ สื่อประเภทแผนภูมิ ซึ่งมีความเหมาะสมที่จะใช้เพื่อแสดงความ เกี่ยวข้องของนามธรรม โดยแสดงความสัมพันธ์เหล่านั้นให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น และสื่อประเภทแผนภูมิมีหลากหลายรูปแบบ แต่ที่ตรงกับความต้องการของ คุณครูแดนจะเป็นแผนภูมิแบบต้นไม้และลำธาร 
แผนภูมิแบบต้นไม้และลำธาร ซึ่งเป็นแผนภูมิที่นำเสนอเรื่องราวที่ เป็นภาพรวมหรือความคิดรวบยอด หรือต้นกำเนิดที่สามารถแยกย่อยออกไป หรือแตกสาขาออกไปเหมือนต้นไม้ ส่วนแบบลาธารเป็นการแสดงเนื้อหาที่ ให้เห็นส่วนย่อยหลายสาขาที่แยกออกจากต้นกำเนิดเดียวกัน
คุณครูรุท 
สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะความต้องการของคุณครูรุท คือ แผนภาพ เพราะแผนภาพเป็นภาพลายเส้นหรือทัศนสัญลักษณ์ที่แสดงเคร้า โครงของวัตถุ โครงสร้างที่สำคัญของสิ่งที่เราจะอธิบายให้ง่ายขึ้น แผนภาพสื่อ ความหมายได้ดี การใช้แผนภาพถ้าใช้คู่กับของจริง จะทำให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น ซึ่งหากคุณครูรุทนำแผนภาพเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของ คอมพิวเตอร์ไปใช้คู่กับส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์จริงๆก็จะทำให้เด็ก เข้าใจได้ง่ายขึ้น
คุณครูอั้ม 
สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมการลักษณะความ ต้องการของคุณครูอั้ม คือ สื่อประเภทแผนสถิต เป็นแผนภูมิ ที่เหมาะกับเนื้อหาที่แสดงการเปรียบเทียบระหว่างจำนวน ตัวเลขของสิ่งต่างๆ 
แผนสถิติแบบวงกลมจะมีความเหมาะสมที่จะใช้ ในการสรุปสถิติจำนวนนักเรียน เพราะจะทำให้เห็นภาพได้ ชัดเจนว่านักเรียนระดับชั้นไหนมีจำนวนเท่าไร่ มีกี่เปอร์เซ็น จากจำนวนนักเรียนทั้งหมดของโรงเรียน 
แผนสถิติแบบเส้น เหมาะที่จะใช้สรุปสถิติ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกภาคการศึกษา
คุณครูศรราม 
สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมการลักษณะความต้องการของคุณครูรุจ คือ ภาพโฆษณา เพราะ ภาพโฆษณา เป็นการออกแบบซึ่งประกอบด้วย ภาพ ข้อความ หรือเรื่องราว จุดมุ่งหมายของภาพโฆษณา คือเพื่อกระตุ้นให้ ผู้ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ตามจุดประสงค์ของภาพโฆษณา ดังนั้นภาพโฆษณา จึงตรงตามความต้องการของครูศรรามที่ต้องการเชิญชวนให้นักเรียนหันมา เล่นกีฬา และห่างไกลยาเสพติด 
คุณครูพอลล่า 
สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมการลักษณะความต้องการของคุณครูพอล ล่า คือ การ์ตูน เพราะการ์คูนเป็นภาพลายเส้น ซึ่งแสดงสัญลักษณ์ของเรื่องราว ต่างๆ และสามารถถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด จินตนาการของผู้วาดได้ และ การ์ตูนที่วาดผิดไปจากของเดิมเล็กน้อยจะเป็นตัวที่ช่วยดึงความสนใจ และ สร้างความสนุกสนานได้
2. ออกแบบการนำเสนอข้อมูล โดยใช้คุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่สอดคล้องกับ เนื้อหาวิชาในสาระการเรียนรู้วิชาเอกของคุณ 
โดยวิชาเอกของนักศึกษาก็คือวิชาคณิตศาสตร์ ดังนั้นจะออกแบบการ นำเสนอข้อมูลโดยใช้ การ์ตูนและแผนสถิติ 
แผนสถิติ 
- ใช้ในการเปรียบเทียบจำนวนนักเรียนในแต่ละปีการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น ซึ่งการทำแบบนี้จะทำให้คุณครูรู้ว่าควรจะ ปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนให้ดีขึ้นยิ่งกว่าเดิม หรือทำให้รู้ว่าการเรียนการ สอนแบบนี้ของคุณครูใช้ได้ผลดีกับนักเรียนและควรปฏิบัติต่อไปเรื่อยๆ
การ์ตูน 
- จะใช้นำเข้าสู่บทเรียนเนื่องจากผู้เรียนส่วนใหญ่คิดว่าวิชาคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่ ยากทำให้ผู้เรียนไม่สนใจเรียนดังนั้นจึงใช้การ์ตูนเป็นตัวดึงดูดผู้เรียน 
-ใช้อธิบายสถานการณ์โจทย์ต่างๆที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจำวันโดยใช้การ์ตูนซึ่ง จะทำให้ผู้เรียนไม่เกิดความเบื่อหน่าย 
- ใช้สถานการณ์เกี่ยวกับเรื่องราวในการ์ตูนในการสรุปบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียน เห็นภาพว่านำคณิตศาสตร์ไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันและมีความเข้าใจใน คณิตศาสตร์ได้ง่าย
สมาชิก 
นางสาวพรพิมล จันทร์สว่าง 563050111-3 
นางสาวรติยากร คชา 563050126-0 
นางสาวศินารักษ์ สุขโต 563050140-6 
นางสาวนิดาวรรณ เพียสุพรรณ 563050370-9

Más contenido relacionado

Más de AomJi Math-ed

การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
AomJi Math-ed
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
AomJi Math-ed
 
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
AomJi Math-ed
 
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
AomJi Math-ed
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
AomJi Math-ed
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
AomJi Math-ed
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
AomJi Math-ed
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
AomJi Math-ed
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
AomJi Math-ed
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
AomJi Math-ed
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
AomJi Math-ed
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
AomJi Math-ed
 
สรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อนสรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อน
AomJi Math-ed
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
AomJi Math-ed
 

Más de AomJi Math-ed (15)

การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
สรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อนสรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อน
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
 

บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน

  • 2. สถานการณ์ปัญหา ในคาบเรียนนี้นักศึกษาได้รับหน้าที่ในการเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบวัสดุกราฟิก ซึ่ง ปฏิบัติหน้าที่ประจำอยู่ที่คลินิก รับปรึกษาปัญหาการผลิตสื่อ ซึ่งในวันนี้ก็มีคุณครู 5 คน เข้ามาปรึกษากับ คุณ ซึ่งประกอบด้วย คุณครูแดน ต้องการนำเสนอเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป และเนื้อหามีความเป็น นามธรรม ซึ่งครูแดนต้องการให้นักเรียนได้ความคิดรวบยอด (Concept) ของเรื่องที่สอน และช่วยในการ สรุปเนื้อหาที่สอน คุณครูรุท เป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์และในการสอนวันนี้ต้องการให้นักเรียนเข้าใจถึงระบบ การทำงานของระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ คุณครูอั้ม เป็นครูฝ่ายวิชาการของโรงเรียน ซึ่งจะต้องทำหน้าที่การสรุปสถิติจำนวนนักเรียนทุก ระดับชั้น(ม.1 - ม.6) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกภาคการศึกษา เพื่อแสดงให้บุคลากรใน โรงเรียนและบุคคลทั่วไปทราบ คุณครูพอลล่า เป็นครูที่สอนในระดับอนุบาล ซึ่งต้องการเร้าความสนใจของนักเรียนให้ นักเรียนเกิดความสนุกสนานและเกิดจินตนาการ คุณครูศรราม เป็นครูฝ่ายปกครอง ซึ่งต้องการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้นักเรียนหันมาเล่น กีฬา และให้นักเรียนห่างไกลยาเสพติด
  • 3. ภารกิจ 1. เลือกสื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะความต้องการของคุณครู แต่ละคน พร้อมอธิบายเหตุผลในการเลือกและคุณลักษณะของวัสดุ กราฟิกที่สำคัญที่เลือกใช้ 2. ออกแบบการนำเสนอข้อมูล โดยใช้คุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่ สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาในสาระการเรียนรู้วิชาเอกของคุณ
  • 4. 1. เลือกสื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะความต้องการของคุณครูแต่ละคน พร้อมอธิบาย เหตุผลในการเลือกและคุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่สำคัญที่เลือกใช้ คุณครูแดน สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมการลักษณะความต้องการของคุณครู แดน คือ สื่อประเภทแผนภูมิ ซึ่งมีความเหมาะสมที่จะใช้เพื่อแสดงความ เกี่ยวข้องของนามธรรม โดยแสดงความสัมพันธ์เหล่านั้นให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น และสื่อประเภทแผนภูมิมีหลากหลายรูปแบบ แต่ที่ตรงกับความต้องการของ คุณครูแดนจะเป็นแผนภูมิแบบต้นไม้และลำธาร แผนภูมิแบบต้นไม้และลำธาร ซึ่งเป็นแผนภูมิที่นำเสนอเรื่องราวที่ เป็นภาพรวมหรือความคิดรวบยอด หรือต้นกำเนิดที่สามารถแยกย่อยออกไป หรือแตกสาขาออกไปเหมือนต้นไม้ ส่วนแบบลาธารเป็นการแสดงเนื้อหาที่ ให้เห็นส่วนย่อยหลายสาขาที่แยกออกจากต้นกำเนิดเดียวกัน
  • 5. คุณครูรุท สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะความต้องการของคุณครูรุท คือ แผนภาพ เพราะแผนภาพเป็นภาพลายเส้นหรือทัศนสัญลักษณ์ที่แสดงเคร้า โครงของวัตถุ โครงสร้างที่สำคัญของสิ่งที่เราจะอธิบายให้ง่ายขึ้น แผนภาพสื่อ ความหมายได้ดี การใช้แผนภาพถ้าใช้คู่กับของจริง จะทำให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น ซึ่งหากคุณครูรุทนำแผนภาพเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของ คอมพิวเตอร์ไปใช้คู่กับส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์จริงๆก็จะทำให้เด็ก เข้าใจได้ง่ายขึ้น
  • 6. คุณครูอั้ม สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมการลักษณะความ ต้องการของคุณครูอั้ม คือ สื่อประเภทแผนสถิต เป็นแผนภูมิ ที่เหมาะกับเนื้อหาที่แสดงการเปรียบเทียบระหว่างจำนวน ตัวเลขของสิ่งต่างๆ แผนสถิติแบบวงกลมจะมีความเหมาะสมที่จะใช้ ในการสรุปสถิติจำนวนนักเรียน เพราะจะทำให้เห็นภาพได้ ชัดเจนว่านักเรียนระดับชั้นไหนมีจำนวนเท่าไร่ มีกี่เปอร์เซ็น จากจำนวนนักเรียนทั้งหมดของโรงเรียน แผนสถิติแบบเส้น เหมาะที่จะใช้สรุปสถิติ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกภาคการศึกษา
  • 7. คุณครูศรราม สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมการลักษณะความต้องการของคุณครูรุจ คือ ภาพโฆษณา เพราะ ภาพโฆษณา เป็นการออกแบบซึ่งประกอบด้วย ภาพ ข้อความ หรือเรื่องราว จุดมุ่งหมายของภาพโฆษณา คือเพื่อกระตุ้นให้ ผู้ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ตามจุดประสงค์ของภาพโฆษณา ดังนั้นภาพโฆษณา จึงตรงตามความต้องการของครูศรรามที่ต้องการเชิญชวนให้นักเรียนหันมา เล่นกีฬา และห่างไกลยาเสพติด คุณครูพอลล่า สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมการลักษณะความต้องการของคุณครูพอล ล่า คือ การ์ตูน เพราะการ์คูนเป็นภาพลายเส้น ซึ่งแสดงสัญลักษณ์ของเรื่องราว ต่างๆ และสามารถถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด จินตนาการของผู้วาดได้ และ การ์ตูนที่วาดผิดไปจากของเดิมเล็กน้อยจะเป็นตัวที่ช่วยดึงความสนใจ และ สร้างความสนุกสนานได้
  • 8. 2. ออกแบบการนำเสนอข้อมูล โดยใช้คุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่สอดคล้องกับ เนื้อหาวิชาในสาระการเรียนรู้วิชาเอกของคุณ โดยวิชาเอกของนักศึกษาก็คือวิชาคณิตศาสตร์ ดังนั้นจะออกแบบการ นำเสนอข้อมูลโดยใช้ การ์ตูนและแผนสถิติ แผนสถิติ - ใช้ในการเปรียบเทียบจำนวนนักเรียนในแต่ละปีการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น ซึ่งการทำแบบนี้จะทำให้คุณครูรู้ว่าควรจะ ปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนให้ดีขึ้นยิ่งกว่าเดิม หรือทำให้รู้ว่าการเรียนการ สอนแบบนี้ของคุณครูใช้ได้ผลดีกับนักเรียนและควรปฏิบัติต่อไปเรื่อยๆ
  • 9. การ์ตูน - จะใช้นำเข้าสู่บทเรียนเนื่องจากผู้เรียนส่วนใหญ่คิดว่าวิชาคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่ ยากทำให้ผู้เรียนไม่สนใจเรียนดังนั้นจึงใช้การ์ตูนเป็นตัวดึงดูดผู้เรียน -ใช้อธิบายสถานการณ์โจทย์ต่างๆที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจำวันโดยใช้การ์ตูนซึ่ง จะทำให้ผู้เรียนไม่เกิดความเบื่อหน่าย - ใช้สถานการณ์เกี่ยวกับเรื่องราวในการ์ตูนในการสรุปบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียน เห็นภาพว่านำคณิตศาสตร์ไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันและมีความเข้าใจใน คณิตศาสตร์ได้ง่าย
  • 10. สมาชิก นางสาวพรพิมล จันทร์สว่าง 563050111-3 นางสาวรติยากร คชา 563050126-0 นางสาวศินารักษ์ สุขโต 563050140-6 นางสาวนิดาวรรณ เพียสุพรรณ 563050370-9