SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 6
Descargar para leer sin conexión
ระเบียบการทั่วไปของผู้สมัครเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหาร
                        ในส่วนของสานักงานตารวจแห่งชาติ
          พื้นความรู้และคุณสมบัติของผู้สมัครเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหารในส่วนของสานักงานตารวจเเห่งชาติ
           ผู้สมัครเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหารในส่วนของสานักงานตารวจเเห่งชาติต้องมีพื้นฐานความรู้ และ
คุณสมบัติ ต่อไปนี้
                     1.สาเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม.3) หลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ หรือเทียบเท่า
                     2.อายุไม่ต่ากว่า 14 ปีบริบูรณ์ และไม่เกิน 17 ปีบริบูรณ์ ในปีที่จะเข้ารับการศึกษาเป็นนักเรียน
เตรียมทหาร การนับอายุให้นับตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร
                     3.มีสัญชาติไทยโดยกาเนิด เเละบิดามารดามีสัญชาติไทยโดยกาเนิด แต่ถ้าบิดาเป็นนายทหาร
สัญญาบัตร นายตารวจสัญญาบัตรหรือ นายทหารชั้นประทวน นายตารวจชั้นประทวน ซึ่งมีสัญชาติไทยโดย
กาเนิดเเล้ว มารดาจะมิใช่ผู้มีสัญชาติไทยโดยกาเนิดก็ได้
                     4.มีอวัยวะ รูปร่าง ลักษณะท่าทาง ขนาดของร่างกายเหมาะสมแก่การเป็นทหารหรือตารวจ ไม่
เป็นโรคตามที่กาหนดไว้ในกฎกระทรวงตามความในกฎหมาย ว่าด้วยการรับราชการทหารและกฎกระทรวงออก
ตามความในกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบข้าราชการตารวจ ตามที่กองบัญชาการทหารสูงสุดกาหนดรายละเอียดไว้ใน
ผนวกท้ายระเบียบ ( รายละเอียดตามผนวก ก )
                     5.เป็นชายโสด ไม่เคยมีความประพฤติเสื่อมเสียทางเพศ หรือติดต่อ ได้เสียกับหญิง ถึงขั้นที่จะ
ถือว่าเป็นผู้มีภรรยา
                     6.เป็นผู้มีความประพฤติเรียบร้อย ไม่บกพร่องในศีลธรรมอันดี มีอุดมการณ์ เลื่อมใสใน
ระบอบการปกครองเเบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตริย์เป็นประมุข และมีผู้ปกครองดูเเลความประพฤติ
                     7.ไม่เป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัว และไม่เคยเป็นบุคคลล้มละลาย
                     8.ไม่เป็นผู้ที่อยู่ในระหว่างเป็นผู้ต้องหาหรือจาเลยในคดีอาญา และไม่เคยต้องโทษจาคุกตาม
คาพิพากษาคดีถึงที่สุด เว้นเเต่ ความผิดที่กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
                     9.ไม่เป็นผู้ที่อยู่ในระหว่างพักราชการ หรือหนีราชการ
                     10.ไม่เป็นผู้ที่เคยถูกไล่ออกจากโรงเรียน หรือถูกปลดออกเพราะความผิด หรือถูกไล่ออกจาก
ราชการ
                     11.ไม่เป็นผู้เสพยาเสพติด หรือสารเคมีให้โทษที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
                     12.บิดามารดาและผู้ปกครองเป็นผู้มีอาชีพสุจริตอันชอบธรรม หรือมีหลักฐานเชื่อถือได้
                     13.เป็นผู้ที่ได้รับอนุญาตจากบิดา มารดา และผู้ปกครองให้สมัครเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหาร
                     14.ต้องมีผู้ปกครองหรือผู้รับรองซึ่งสามารถรับรองข้อความเเละพันธกรณีตามที่กองบัญชาการ
ทหารสูงสุดกาหนดไว้
                     15.ต้องไม่มีพันธกรณีผูกพันกับองค์กรของรัฐบาลหรือเอกชน อันจะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
                     16.ไม่เป็นผู้ที่เคยทุจริตในการสมัครหรือในการสอบคัดเลือกมาเเล้ว
                     17.พื้นความรู้และคุณสมบัติดังกล่าวนี้ แม้ปรากฏว่าเป็นความเท็จภายหลังที่เข้ารับนักเรียน
เตรียมทหารเเล้วก็ตามจะต้องออกจากความเป็นนักเรียนเตรียมทหารทันที
ผู้ไม่มีสิทธิสมัครเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหาร
                  1.ไม่มีคุณสมบัติ และลักษณะครบถ้วนตามที่ระบุข้างต้น
                  2.ผู้ที่เคยถูกถอนทะเบียนออกจากความเป็นนักเรียนเตรียมทหาร

                    ผู้สมัครที่มีสิทธิได้รับคะเเนนเพิ่มพิเศษ
                    1.บุตรของข้าราชการตารวจ หรือราชการในสังกัดกระทรวงกลาโหมที่มีเวลารับราชการ
ดังต่อไปนี้ให้ได้รับคะเเนนเพิ่มตามลาดับ
                    1.1 รับราชการไม่น้อยกว่า 15 ปี หรือได้รับพระราชทานเหรียญจักรมาลา เพิ่มให้ร้อยละ 4 ของ
คะเเนนเต็ม
                    1.2 รับราชการไม่น้อยกว่า 10 ปี เพิ่มให้ร้อยละ 3 ของคะเเนนเต็ม
                    1.3 รับราชการไม่ถึง 10 ปี เพิ่มให้ร้อยละ 2 ของคะเเนนเต็ม

                      ระยะเวลารับราชการ ให้นับตั้งเเต่วันเข้ารับราชการถึงวันที่ 1 พฤษภาคม ของปีรับสมัคร
                     2.บุตรของข้าราชการตารวจ ทหาร ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ของรัฐ พนักงานราชการ หรือลูกจ้าง
ซึ่งได้ปฏิบัติหน้าที่ราชการในระหว่างเวลามีการรบ หรือสงคราม หรือมีการปราบจลาจล หรือในระหว่างเวลาที่มี
พระบรมราชโองการประกาศกฎอัยการศึก หรือมีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบ
บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินหรือในระหว่างเวลาที่สั่งให้เป็นนักดาเรือดาน้า ซึ่งมีสิทธิได้รับเวลาราชการ
ทวีคูณตามกฎหมาย ว่าด้วยบาเหน็จบานานข้าราชการ เพิ่มให้ร้อยล่ะ 3 ของคะเเนนเต็ม
                     บุตรของข้าราชการตารวจ ทหาร ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ของรัฐ พนักงานราชการ หรือลูกจ้าง ซึ่ง
ได้ปฏิบัติหน้าที่ทางยุทธการร่วมกับทหาร ระหว่างเวลาที่มีการซ้อมรบหรือการสงคราม หรือมีการปราบจลาตล
หรือในระหว่างเวลาที่มีพระบรมราชโองการประกาศใช้กฎอัยการศึก หรือ มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ตาม
กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการในสถานการฉุกเฉิน หรือในระหว่างเวลาที่สั่งให้เป็นนักดาเรือดาน้าหรือ
ปฏิบัติหน้าที่สารวจจัดทาหลักเขตเเดนระหว่างประเทศ ซึงมีสิทธิได้รับเวลาราชการทวีคูณตามกฎหมาย ว่าด้วย
บาเหน็จบานาญข้าราชการเพิ่มให้ร้อยละ 5 ของคะเเนนเต็ม
                     พลเรือนหรือบุตรของพลเรือน ซึ่งได้ปฏิบัติหน้าที่ทางยุทธการร่วมกับทหารในการป้องกัน
และรักษาความมั่นคงของราชอาณาจักรจากภัยคุกคามภายนอกและภายในประเทศ เพิ่มให้ร้อยละ 5 ของคะเเนน
เต็ม
                      3.บุตรของข้าราชการตารวจ ทหาร ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ของรัฐ พนกงานราชการ หรือลูกจ้าง
ซึ่งต้องประสบภัยทุพลภาพในขณะปฏิบัติราชการในหน้าที่ตามปกติ หรือประทุษร้ายเพราะเหตุการกระทาการ
ตามหน้าที่ หรือต้องบาดเจ็บถึงตายเพราะเหตุนั้นซึ่งได้รับบาเหน็จบานาญพิเศษตามกฎหมาย ว่าด้วยบาเหน็จ
บานาญขข้าราชการ หรือได้รับเงินค่าทาขวัญ ตามข้อบังคับกระทรวงกลาโหมว่าด้วยคนงาน หรือได้รับบาเหน็จ
พิเศษ ตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยบาเหน็จลูกจ้าง เพิ่มร้อยละ 6 ของคะเเนนเต็ม
                     บุตรของข้าราชการตารวจ ทหาร ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ของรัฐ พนักงานราชการ หรือลูกจ้าง
ซึ่งประสบอันตรายถึงทพพลภาพในขณะปิบัติราชการในหน้าที่ทางยุทธการ หรือถูกประทุษร้าย เพราะเหตุกระทา
การตามหน้าที่ ตามข้อ 4.2 หรือต้องบาดเจ็บถึงตายเพราะเหตุนั้นซึ่งได้รับบาเหน็จบานาญพิเศษ ตามกฎหมาย ว่า
ด้วยการบาเหน็จบานาญข้าราชการหรือได้รับเงินค่าทาขัวญ ตามข้อบังคับกระทรวงกลาโหมว่าด้วยคนงานหรือ
ได้รับบาเหน็จพิเศาตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยบานาญลูกจ้าง หรือบุตรของผู้ได้รับพระราชทาน
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี หรือเหรียญ หรือเข็มกล้าหาญ เพิ่มร้อยละ 10 ของคะเเนนเต็ม
                    4.บุตรของข้าราชการตารวจ ทหาร ที่ได้ปฏิบัติหน้าที่ในการปราบปรามโจรผู้ร้ายจนถึงแก่
ทุพพลภาพหรือถึงเเก่ชีวิต หรือผู้ที่ได้ช่วยเหลือราชการในการปราบปรามโจรผู้ร้ายจนถึงเเก่ทุพพลภาพหรือถึงเเก่
ชีวิต ซึ่งได้รับรองจจากสานักงานตารวจเเห่งชาติ เพิ่มให้ร้อยละ 10 ของคะเเนนเต็ม
                    การเพิ่มคะเเนนพิเศษ ตามข้อ 4.1 และ 4.2 ให้เพิ่มคะเเนนหลังจากสอบผ่านภาควิชาการ
                    การเพิ่มคะเเเนนพิเศษ ตามข้อ 4.3 และ 4.4 ให้เพิ่มคะเเนนพิเศษในภาควิชาการเท่านั้น
                    กรณีผู้ได้รับสิทธิการเพิ่มคะเเนนพิเศษหลายกรณีให้เพิ่มเฉพาะกรณีที่ได้คะเเนนมากที่สุดเพียง
กรณีเดียว
                    (การพิจารณาให้สิทธิพิเศษตามหลักฐานดังกล่าวข้างต้นปฏิบัติตามประมวลระเบียบการตารวจ
ไม่เกี่ยวกับคดี )

                    การสอบคัดเลือก
                    การสอบคัดเลือกกระทาเป็นสองรอบ ดังนี้
                     1.การสอบรอบเเรก เป็นการสอบข้อเขียน วิชาที่สอบ ได้เเก่ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
ภาษาอังกฤษ ภาษาไทยเเละสังคมศึกษา ขอบเขตที่สอบเนื้อหาวิชาครอบคลุทความรู้ระดัย ช่วงชั้นที่ 3
(มัธยมศึกษาปีที่ 1-3) ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ มีรายละเอียดดังนี้
                     1.1 วิชาวิทยาศาสตร์ (คะเเเนนเต็ม 200 คะเเนน)
                     1.2 วิชาคณิตศาสตร์ (คะเเเนนเต็ม 200 คะเเนน)
                     1.3 วิชาภาษาอังกฤษ (คะเเเนนเต็ม 150 คะเเนน)
                     1.4 วิชาภาษาไทยและวิชาสังคมศึกษา (คะเเเนนเต็ม 150 คะเเนน)
 โรงเรียนนายร้อยตารวจ จะคัดเลือกผู้ที่สอบข้อเขียนผ่าน โดยคัดเลือกจากผู้ที่ได้คะเเนนข้อ
เขียนสูงสุดลงมาตามลาดับไว้จานวนหนึ่งแล้วประกาศรายชื่อเพื่อให้เข้าสอบรอบสองต่อไป
                    2.การสอบรอบสอง เป็นการตรวจสอบร่างกาย ตรวจสอบประวัติ สอบพลศึกษา สอบ
สัมภาษณ์ และวัดขนาดร่างกายมีรายละเอียดดังนี้
  2.1 การตรวจร่างกายและการตรวจสอบประวัติ
   ผู้สมัครจะต้องเข้ารับการตรวจร่างกายที่โรงพยาบาลตารวจ ตามวัน เวลาที่
จะประกาศให้ทราบ ผู้ไม่ไปรับการตรวจร่างกายถือว่าสละสิทธิ
   ผลการตรวจร่างกายถือความเห็นของคณะกรรมการเเพทย์จากโรงพยาบาล
ตารวจ ที่สานักงานตารวจเเห่งชาติตั้งเเต่เป็นเด็ดขาด ไม่รับพิจารณาผลการตรวจร่างกายที่ผู้สมัครได้รับการตรวจ
หรือได้รับใบรับรองผลการการตรวจโรคจากที่อื่นมาเเสดง
   นอกจากการตรวจร่างกายแล้วจะมีการฉาย                                          X-RAY ตรวจโลหิด ตรวจ
ปัสสาวะและอื่นๆ ผู้สมัครจะต้องชาระค่าตรวจร่างกายตามที่คณะกรรมการเเพทย์กาหนด ในกรณีที่เเพทย์ต้อง
ตรวจพิเศษ นอกเหนือจากการตรวจธรรมดาผู้รับการตรวจ จะต้องออกค่าใช้จ่ายเอง
   ในวันตรวจร่างกายจะทาการพิมพ์ลายนิ้วมือของผู้สมัคร เพื่อตรวจสอบ
ประวัติไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากรสานักงานตารวจเเห่งชาติ และยังต้องไปตรวจสอบไปยังสถานีตารวจ
ท้องที่ที่ผู้สมัครมีภูมิลาเนาอยู่อีกทางหนึ่งด้วยหากผู้ใดมีประวัติถูกลงโทษหรือมีความประพฤติไม่ดีตามกาหนดไว้
ในเรื่องคุณสมบัติ จะถูกตัดสิทธิไม่ให้เป็นผู้สอบคัดเลือกได้


 คาเตือน
 1.ในตอนเช้าวันตรวจร่างกาย ไม่ควรรับประทานอาหารหวานจัด เพราะอาจทาให้ตรวจพบ
น้าตาลในปัสสาวะ
 2.ก่อนตรวจร่างกายห้ามรับประทานยาแก้ไอทุกชนิด หรือยากระตุ้นกาลัง ซึ่งอาจก่อให้เกิด
ความผิดปกทางหัวใจและหลอดเลือดได้
 3.ห้ามผู้สมัครใส่              CONTACT-LENS ไปตรวจสายตา

 การสอบพลศึกษา
เป็นการทดสอบสมรรถภาพร่างกาย มีคะเเนนเต็มรวม 50 คะเเนน คะเเนนที่จะได้ลดหลั่นกันลงมา
ตามลาดับ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการทดสอบเเต่ละประเภทที่ผู้สอบปฏิบัติได้สาเร็จหรือจานวนครั้งที่ปฏิบัติ สาหรับผู้ที่
ได้คะเเนนรวมจาการทดสอบทุกประเภทต่ากว่า 20 คะเเนน หรือว่ายน้า 50 เมตร หรือวิ่ง 1000 เมตร ไม่ถึงเวลา
ไม่ได้ตามที่กาหนดถือว่าสอบตกให้คัดออก (คะเเเนนผลการสอบพลศึกษาจะไม่นาไปรวมกับคะเเนนการสอบ
ข้อเขียน )

 ผู้เข้าสอบจะต้องทาการสอบให้ครบทุกประเภท ถ้าขาดสอบประเภทใดประเภทหนึ่ง ถือว่าสอบตกและ
จะตัดสิทธิไม่รับเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหาร โดยไม่คานึงถึงคะเเนนสอบข้อเขียน ประเภทที่สอบและเกณฑ์การ
ให้คะเเนนดังนี้
 1. ดึงข้อราวเดี่ยว
 ท่าเตรียม ให้ผู้ทดสอบจับข้อราวเดี่ยวแบบคว่าการอบ ปล่อยตัวให้ตรงจนเเขน ลาตัว และขา
เหยียดตรง
 ท่าปฏิบัติ ให้ผู้ทดสอบทาท่าต่อจากท่าเตรียม โดยงอเเขนดึงตัวขึ้นจนคางอยู่เหนือราว แล้ว
ปล่อยตัวลงสู่ท่าเตรียมกระทาติดต่อกันให้ได้จานวนครั้งมากที่สุด ห้ามเเกว่งเท้าหรือเตะขา หรือหยุดพักระหว่าง
ครั้งนานเกินกว่า 3-4 วินาที หรือไม่สามารถดึงขึ้นพ้นราวได้ 2 ครั้งติดต่อกัน หรือดึงไม่พ้น ให้หยุดการทดสอบ
 ถ้าทาได้ 16 ครั้ง จะได้คะเเนนเต็ม
 2. ลุกนั่ง 30 วินาที
 ท่าเตรียม ผู้ทดสอบนอนหงาย เข่าทั้งสองงอเป็นมุมฉาก เท้าทั้งสองวางห่างกันพอประมาณ
ฝ่ามือทั้งสองประสานกันที่ท้ายทอย ผู้ช่วยคุกเข่าอยู่บนปลายเท้าของผู้ทดสอบโดยเอามือทั้งสองกดข้อเท้าของผู้
ทดสอบไว้ให้ส้นเท้าติดพื้น
 ท่าปฏิบัติ เมื่อได้ยินสัญญาณเริ่ม ให้ผู้ทดสอบลุกขึ้นสู่ท่านั่งพร้อมกับก้มศีรษะลงระหว่างเข้า
ทั้งสองให้เเขนทั้งสองเเตะกับเข่าแล้วกลับลงนอนสู่ท่าเตรียมจนศอกเเตะกับพื้น ทาเช่นนนี้ติดต่อกันให้ได้จานวน
ครั้งมากที่สุดภายใน 30 วินาทีในขณะปฏิบัตินิ้วมือประสานที่ท้ายทอยตลอดเวลา และขณะที่ลุกขึ้นมาสู่ท่านั่งห้าม
เอนตัวไปมา
 ถ้าทาได้ 25 ครั้ง จะได้คะเเนนเต็ม
3. นั่งงอตัว
 ท่าเตรียม ผู้เข้ารับการทดสอบลงนั่งบนเบาะ ลักษณะเหยียดขา เข้าตึง ฝ่าเท้าเเนบชิดเครื่องวัด
ความอ่อนตัว
 ท่าปฏิบัติ เมื่อพร้อม ให้ผู้เข้ารับการทดสอบเหยียดเเขนตรง คว่าฝ่ามือขนานกับพื้นแล้วค่อยๆ
ก้มตัวไปด้านหน้า ให้มืออยู่บนระดับไม้วัดจนไม่สามารถก้มต่อไปได้ ( ห้ามโยกหัว หรืองอตัวเเรงๆ เพราะอาจทา
ให้กระดูกสันหลังเป้นอันตราย ) แล้วค้างไว้ 3 วินาที วัดระยะจากเส้นดิ่ง ตรงปลายเท้ากับปลายมือ บันทึกระยะ
เป็นเซนติเมตร ถ้าเหยียดเลยปลายเท้าให้บันทึกค่าเป็น บวก ถ้าไม่ถึงปลายเท้าให้บันทึกค่าเป็น ลบ ทดสอบ 2 ครั้ง
บันทึกคะเเนนครั้งที่ดีที่สุด
 ถ้าทาได้ 20 เซนติเมตร จะได้คะเเนนเต็ม
 4. วิ่งระยะสั้น ( 50 เมตร )
 ท่าเตรียม ผู้ทดสอบยืนอยู่หลังเส้นในลู่วิ่งของตนเอง พร้อมจะปฏิบัติ
 ท่าปฏิบัติ เมื่อได้ยินสัญญาณ ให้ผู้ทดสอยเริ่มวิ่งอย่างเร็วออกจากเส้นเริ่มจนผ่านเส้นชัย
 ถ้าทาได้ไม่เกิน 6.5 วินาที จะได้คะเเนนเต็ม
 5. วิ่งระยะไกล ( 1000 เมตร )
 ท่าเตรียม ผู้ทดสอบยืนหลังเส้นเริ่ม เตรียมตัวปฏิบัติ
 ท่าปฏิบัติ เมื่อได้ยินสัญญาณ ให้ผู้ทดสอบเริ่มวิ่งจากเส้นเริ่มไปตามทางวิ่งจนสิ้นสุดระยะทาง
โดยผ่านเส้นชัย
 ถ้าทาเวลาได้ไม่เกิน 3.22 วินาที จะได้คะเเนนเต็ม
 ผู้ที่ทดสอบวิ่งระยะไกลทาเวลาเกินกว่า 5 นาที 22 วินาที หรือวิ่งไม่ถึง จะไม่รวมคะเเนนการ
สอบพลทุกประเภท และถือว่าสอบพลศึกษาตก
 6. ยืนกระโดดไกล
 ท่าเตรียม ผู้สอบยืนบนพื้นเรียบหลังเส้นกระโดด ปลายเท้าทั้งสองชิดเส้น หันหน้าไปทาง
ทิศทางที่จะกระโดด
 ท่าปฏิบัติ เมื่อได้ยินสัญญาณให้เริ่มปฏิบัติ ให้ผู้ทดสอบ กระโดดไปข้างหน้าให้ได้ระยะไกล
ที่สุด ( โดยใช้การเเกว่งเเขนช่วย ) วัดระยะการกระโดดจากเส้นกระโดดไปยังจุดที่ส้นเท้าลงบนพื้นไกลเส้นเริ่มต้น
มากที่สุด
 ถ้ากระโดดได้ไกล 2.40 เมตร จะได้คะเเนนเต็ม
 7. ว่ายน้า 50 เมตร
 ท่าเตรียม ผู้ทดสอบยยืนที่ขอบสระพร้อมจะปฏิบัติ
 ท่าปฏิบัติ เมื่อได้ยินสัญญาณ ให้ผู้ทดสอบพุ่งตัวลงสระว่ายน้าแล้วว่ายโดยเร็ว จนถึงขอบสระ
ที่เป็นเส้นชัย ถือเอาส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายเเตะขอบสระที่เป็นเส้นชัย
 ถ้าทาได้ไม่เกิน 40 วินาที จะได้คะเเนนเต็ม
 ผู้ที่สอบว่ายน้า ทาเวลาเกินกว่า 1 นาที 20 วินาที หรือว่ายไม่ถึงเส้นชัย จะไม่นวมคะเเนนการ
สอบพลทุกประเภท และถือว่าสอบพลศึกษาตก
 8. วิ่งกลับตัว ( วิ่งเก็บของ )
 ท่าเตรียม ผู้ทดสอบยืนอยู่หลังเส้นเริ่ม พร้อมปฏิบัติ
ท่าปฏิบัติ เมื่อได้ยินสัญญาณ ให้ผู้ทดสอบวิ่งอย่างเร็วจากเส้นเริ่มไปหยิบท่อนไม้ ท่อนที่ 1 ซึ่ง
วางอยู่ภายในรัศมี 1 ฟุต กลับมาวางภายในวงกลมหลังเส้นเริ่ม ( ห้ามโยนท่อนไม้ ถ้าวางไม่เข้าวงกลมต้องเริ่มต้น
ใหม่ ) แล้วกลับตัววิ่งไปหยิบท่อนไม้ท่อนที่ 2 แล้ววิ่งผ่านเส้นเริ่มต้นไปโดยไม่ต้องวางไม้ท่อนที่ 2 ลง
 ภ้าทาเวลาได้ภายใน 10.00 วินาที จะได้คะเเนนเต็ม

การวัดขนาดร่างกายและการสอบสัมภาษณ์ เป็นการพิจารณารูปร่าง ลักษณะท่าทาง ความสมบูรณ์ของ
ร่างกาย ความองอาจว่องไวและปฏิภาณไหวพริบ ตลอดจนคุณลักษณะอื่นๆ ที่เหมาะสมเข้าจะเป็นข้าราชการ
ตารวจชั้นสัญญาบัตร
ผลการสอบถือเกณฑ์             “ได้” หรือ “ตก” เท่านั้นไม่มีคะเเนน ผู้ที่สอบตกหมายถึง ผู้ที่มีลักษณะอย่างใด
อย่างหนึ่งไม่เหมาะสมที่จะเป็นข้าราชการตารวจชั้นสัญญาบัตร และจะตัดสิทธิไม่รับเข้าเป็นนนักเรียนเตรียม
ทหารโดยไม่คานึงถึงคะเเนนสอบข้อเขียน
ในวันสอบสัมภาษณ์จะทาการวัดขนาดร่างกายของผู้สมัครด้วย หากผู้สมัครมีร่างกายไม่ได้ขนาดตามที่
กาหนดไว้จะหมดสิทธิสอบสัมภาษณ์ทันที

Más contenido relacionado

Más de ศิริชัย เชียงทอง (6)

มนุษย์
มนุษย์มนุษย์
มนุษย์
 
การประดิษฐ์แผนที่ดาว
การประดิษฐ์แผนที่ดาวการประดิษฐ์แผนที่ดาว
การประดิษฐ์แผนที่ดาว
 
Handbook
HandbookHandbook
Handbook
 
Statistic 5614
Statistic 5614Statistic 5614
Statistic 5614
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

สอบตำรวจ

  • 1. ระเบียบการทั่วไปของผู้สมัครเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหาร ในส่วนของสานักงานตารวจแห่งชาติ พื้นความรู้และคุณสมบัติของผู้สมัครเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหารในส่วนของสานักงานตารวจเเห่งชาติ ผู้สมัครเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหารในส่วนของสานักงานตารวจเเห่งชาติต้องมีพื้นฐานความรู้ และ คุณสมบัติ ต่อไปนี้ 1.สาเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม.3) หลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ หรือเทียบเท่า 2.อายุไม่ต่ากว่า 14 ปีบริบูรณ์ และไม่เกิน 17 ปีบริบูรณ์ ในปีที่จะเข้ารับการศึกษาเป็นนักเรียน เตรียมทหาร การนับอายุให้นับตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร 3.มีสัญชาติไทยโดยกาเนิด เเละบิดามารดามีสัญชาติไทยโดยกาเนิด แต่ถ้าบิดาเป็นนายทหาร สัญญาบัตร นายตารวจสัญญาบัตรหรือ นายทหารชั้นประทวน นายตารวจชั้นประทวน ซึ่งมีสัญชาติไทยโดย กาเนิดเเล้ว มารดาจะมิใช่ผู้มีสัญชาติไทยโดยกาเนิดก็ได้ 4.มีอวัยวะ รูปร่าง ลักษณะท่าทาง ขนาดของร่างกายเหมาะสมแก่การเป็นทหารหรือตารวจ ไม่ เป็นโรคตามที่กาหนดไว้ในกฎกระทรวงตามความในกฎหมาย ว่าด้วยการรับราชการทหารและกฎกระทรวงออก ตามความในกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบข้าราชการตารวจ ตามที่กองบัญชาการทหารสูงสุดกาหนดรายละเอียดไว้ใน ผนวกท้ายระเบียบ ( รายละเอียดตามผนวก ก ) 5.เป็นชายโสด ไม่เคยมีความประพฤติเสื่อมเสียทางเพศ หรือติดต่อ ได้เสียกับหญิง ถึงขั้นที่จะ ถือว่าเป็นผู้มีภรรยา 6.เป็นผู้มีความประพฤติเรียบร้อย ไม่บกพร่องในศีลธรรมอันดี มีอุดมการณ์ เลื่อมใสใน ระบอบการปกครองเเบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตริย์เป็นประมุข และมีผู้ปกครองดูเเลความประพฤติ 7.ไม่เป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัว และไม่เคยเป็นบุคคลล้มละลาย 8.ไม่เป็นผู้ที่อยู่ในระหว่างเป็นผู้ต้องหาหรือจาเลยในคดีอาญา และไม่เคยต้องโทษจาคุกตาม คาพิพากษาคดีถึงที่สุด เว้นเเต่ ความผิดที่กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ 9.ไม่เป็นผู้ที่อยู่ในระหว่างพักราชการ หรือหนีราชการ 10.ไม่เป็นผู้ที่เคยถูกไล่ออกจากโรงเรียน หรือถูกปลดออกเพราะความผิด หรือถูกไล่ออกจาก ราชการ 11.ไม่เป็นผู้เสพยาเสพติด หรือสารเคมีให้โทษที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 12.บิดามารดาและผู้ปกครองเป็นผู้มีอาชีพสุจริตอันชอบธรรม หรือมีหลักฐานเชื่อถือได้ 13.เป็นผู้ที่ได้รับอนุญาตจากบิดา มารดา และผู้ปกครองให้สมัครเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหาร 14.ต้องมีผู้ปกครองหรือผู้รับรองซึ่งสามารถรับรองข้อความเเละพันธกรณีตามที่กองบัญชาการ ทหารสูงสุดกาหนดไว้ 15.ต้องไม่มีพันธกรณีผูกพันกับองค์กรของรัฐบาลหรือเอกชน อันจะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา 16.ไม่เป็นผู้ที่เคยทุจริตในการสมัครหรือในการสอบคัดเลือกมาเเล้ว 17.พื้นความรู้และคุณสมบัติดังกล่าวนี้ แม้ปรากฏว่าเป็นความเท็จภายหลังที่เข้ารับนักเรียน เตรียมทหารเเล้วก็ตามจะต้องออกจากความเป็นนักเรียนเตรียมทหารทันที
  • 2. ผู้ไม่มีสิทธิสมัครเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหาร 1.ไม่มีคุณสมบัติ และลักษณะครบถ้วนตามที่ระบุข้างต้น 2.ผู้ที่เคยถูกถอนทะเบียนออกจากความเป็นนักเรียนเตรียมทหาร ผู้สมัครที่มีสิทธิได้รับคะเเนนเพิ่มพิเศษ 1.บุตรของข้าราชการตารวจ หรือราชการในสังกัดกระทรวงกลาโหมที่มีเวลารับราชการ ดังต่อไปนี้ให้ได้รับคะเเนนเพิ่มตามลาดับ 1.1 รับราชการไม่น้อยกว่า 15 ปี หรือได้รับพระราชทานเหรียญจักรมาลา เพิ่มให้ร้อยละ 4 ของ คะเเนนเต็ม 1.2 รับราชการไม่น้อยกว่า 10 ปี เพิ่มให้ร้อยละ 3 ของคะเเนนเต็ม 1.3 รับราชการไม่ถึง 10 ปี เพิ่มให้ร้อยละ 2 ของคะเเนนเต็ม ระยะเวลารับราชการ ให้นับตั้งเเต่วันเข้ารับราชการถึงวันที่ 1 พฤษภาคม ของปีรับสมัคร 2.บุตรของข้าราชการตารวจ ทหาร ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ของรัฐ พนักงานราชการ หรือลูกจ้าง ซึ่งได้ปฏิบัติหน้าที่ราชการในระหว่างเวลามีการรบ หรือสงคราม หรือมีการปราบจลาจล หรือในระหว่างเวลาที่มี พระบรมราชโองการประกาศกฎอัยการศึก หรือมีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบ บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินหรือในระหว่างเวลาที่สั่งให้เป็นนักดาเรือดาน้า ซึ่งมีสิทธิได้รับเวลาราชการ ทวีคูณตามกฎหมาย ว่าด้วยบาเหน็จบานานข้าราชการ เพิ่มให้ร้อยล่ะ 3 ของคะเเนนเต็ม บุตรของข้าราชการตารวจ ทหาร ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ของรัฐ พนักงานราชการ หรือลูกจ้าง ซึ่ง ได้ปฏิบัติหน้าที่ทางยุทธการร่วมกับทหาร ระหว่างเวลาที่มีการซ้อมรบหรือการสงคราม หรือมีการปราบจลาตล หรือในระหว่างเวลาที่มีพระบรมราชโองการประกาศใช้กฎอัยการศึก หรือ มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ตาม กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการในสถานการฉุกเฉิน หรือในระหว่างเวลาที่สั่งให้เป็นนักดาเรือดาน้าหรือ ปฏิบัติหน้าที่สารวจจัดทาหลักเขตเเดนระหว่างประเทศ ซึงมีสิทธิได้รับเวลาราชการทวีคูณตามกฎหมาย ว่าด้วย บาเหน็จบานาญข้าราชการเพิ่มให้ร้อยละ 5 ของคะเเนนเต็ม พลเรือนหรือบุตรของพลเรือน ซึ่งได้ปฏิบัติหน้าที่ทางยุทธการร่วมกับทหารในการป้องกัน และรักษาความมั่นคงของราชอาณาจักรจากภัยคุกคามภายนอกและภายในประเทศ เพิ่มให้ร้อยละ 5 ของคะเเนน เต็ม 3.บุตรของข้าราชการตารวจ ทหาร ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ของรัฐ พนกงานราชการ หรือลูกจ้าง ซึ่งต้องประสบภัยทุพลภาพในขณะปฏิบัติราชการในหน้าที่ตามปกติ หรือประทุษร้ายเพราะเหตุการกระทาการ ตามหน้าที่ หรือต้องบาดเจ็บถึงตายเพราะเหตุนั้นซึ่งได้รับบาเหน็จบานาญพิเศษตามกฎหมาย ว่าด้วยบาเหน็จ บานาญขข้าราชการ หรือได้รับเงินค่าทาขวัญ ตามข้อบังคับกระทรวงกลาโหมว่าด้วยคนงาน หรือได้รับบาเหน็จ พิเศษ ตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยบาเหน็จลูกจ้าง เพิ่มร้อยละ 6 ของคะเเนนเต็ม บุตรของข้าราชการตารวจ ทหาร ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ของรัฐ พนักงานราชการ หรือลูกจ้าง ซึ่งประสบอันตรายถึงทพพลภาพในขณะปิบัติราชการในหน้าที่ทางยุทธการ หรือถูกประทุษร้าย เพราะเหตุกระทา การตามหน้าที่ ตามข้อ 4.2 หรือต้องบาดเจ็บถึงตายเพราะเหตุนั้นซึ่งได้รับบาเหน็จบานาญพิเศษ ตามกฎหมาย ว่า ด้วยการบาเหน็จบานาญข้าราชการหรือได้รับเงินค่าทาขัวญ ตามข้อบังคับกระทรวงกลาโหมว่าด้วยคนงานหรือ
  • 3. ได้รับบาเหน็จพิเศาตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยบานาญลูกจ้าง หรือบุตรของผู้ได้รับพระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี หรือเหรียญ หรือเข็มกล้าหาญ เพิ่มร้อยละ 10 ของคะเเนนเต็ม 4.บุตรของข้าราชการตารวจ ทหาร ที่ได้ปฏิบัติหน้าที่ในการปราบปรามโจรผู้ร้ายจนถึงแก่ ทุพพลภาพหรือถึงเเก่ชีวิต หรือผู้ที่ได้ช่วยเหลือราชการในการปราบปรามโจรผู้ร้ายจนถึงเเก่ทุพพลภาพหรือถึงเเก่ ชีวิต ซึ่งได้รับรองจจากสานักงานตารวจเเห่งชาติ เพิ่มให้ร้อยละ 10 ของคะเเนนเต็ม การเพิ่มคะเเนนพิเศษ ตามข้อ 4.1 และ 4.2 ให้เพิ่มคะเเนนหลังจากสอบผ่านภาควิชาการ การเพิ่มคะเเเนนพิเศษ ตามข้อ 4.3 และ 4.4 ให้เพิ่มคะเเนนพิเศษในภาควิชาการเท่านั้น กรณีผู้ได้รับสิทธิการเพิ่มคะเเนนพิเศษหลายกรณีให้เพิ่มเฉพาะกรณีที่ได้คะเเนนมากที่สุดเพียง กรณีเดียว (การพิจารณาให้สิทธิพิเศษตามหลักฐานดังกล่าวข้างต้นปฏิบัติตามประมวลระเบียบการตารวจ ไม่เกี่ยวกับคดี ) การสอบคัดเลือก การสอบคัดเลือกกระทาเป็นสองรอบ ดังนี้ 1.การสอบรอบเเรก เป็นการสอบข้อเขียน วิชาที่สอบ ได้เเก่ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทยเเละสังคมศึกษา ขอบเขตที่สอบเนื้อหาวิชาครอบคลุทความรู้ระดัย ช่วงชั้นที่ 3 (มัธยมศึกษาปีที่ 1-3) ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ มีรายละเอียดดังนี้ 1.1 วิชาวิทยาศาสตร์ (คะเเเนนเต็ม 200 คะเเนน) 1.2 วิชาคณิตศาสตร์ (คะเเเนนเต็ม 200 คะเเนน) 1.3 วิชาภาษาอังกฤษ (คะเเเนนเต็ม 150 คะเเนน) 1.4 วิชาภาษาไทยและวิชาสังคมศึกษา (คะเเเนนเต็ม 150 คะเเนน) โรงเรียนนายร้อยตารวจ จะคัดเลือกผู้ที่สอบข้อเขียนผ่าน โดยคัดเลือกจากผู้ที่ได้คะเเนนข้อ เขียนสูงสุดลงมาตามลาดับไว้จานวนหนึ่งแล้วประกาศรายชื่อเพื่อให้เข้าสอบรอบสองต่อไป 2.การสอบรอบสอง เป็นการตรวจสอบร่างกาย ตรวจสอบประวัติ สอบพลศึกษา สอบ สัมภาษณ์ และวัดขนาดร่างกายมีรายละเอียดดังนี้ 2.1 การตรวจร่างกายและการตรวจสอบประวัติ ผู้สมัครจะต้องเข้ารับการตรวจร่างกายที่โรงพยาบาลตารวจ ตามวัน เวลาที่ จะประกาศให้ทราบ ผู้ไม่ไปรับการตรวจร่างกายถือว่าสละสิทธิ ผลการตรวจร่างกายถือความเห็นของคณะกรรมการเเพทย์จากโรงพยาบาล ตารวจ ที่สานักงานตารวจเเห่งชาติตั้งเเต่เป็นเด็ดขาด ไม่รับพิจารณาผลการตรวจร่างกายที่ผู้สมัครได้รับการตรวจ หรือได้รับใบรับรองผลการการตรวจโรคจากที่อื่นมาเเสดง นอกจากการตรวจร่างกายแล้วจะมีการฉาย X-RAY ตรวจโลหิด ตรวจ ปัสสาวะและอื่นๆ ผู้สมัครจะต้องชาระค่าตรวจร่างกายตามที่คณะกรรมการเเพทย์กาหนด ในกรณีที่เเพทย์ต้อง ตรวจพิเศษ นอกเหนือจากการตรวจธรรมดาผู้รับการตรวจ จะต้องออกค่าใช้จ่ายเอง ในวันตรวจร่างกายจะทาการพิมพ์ลายนิ้วมือของผู้สมัคร เพื่อตรวจสอบ ประวัติไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากรสานักงานตารวจเเห่งชาติ และยังต้องไปตรวจสอบไปยังสถานีตารวจ
  • 4. ท้องที่ที่ผู้สมัครมีภูมิลาเนาอยู่อีกทางหนึ่งด้วยหากผู้ใดมีประวัติถูกลงโทษหรือมีความประพฤติไม่ดีตามกาหนดไว้ ในเรื่องคุณสมบัติ จะถูกตัดสิทธิไม่ให้เป็นผู้สอบคัดเลือกได้ คาเตือน 1.ในตอนเช้าวันตรวจร่างกาย ไม่ควรรับประทานอาหารหวานจัด เพราะอาจทาให้ตรวจพบ น้าตาลในปัสสาวะ 2.ก่อนตรวจร่างกายห้ามรับประทานยาแก้ไอทุกชนิด หรือยากระตุ้นกาลัง ซึ่งอาจก่อให้เกิด ความผิดปกทางหัวใจและหลอดเลือดได้ 3.ห้ามผู้สมัครใส่ CONTACT-LENS ไปตรวจสายตา การสอบพลศึกษา เป็นการทดสอบสมรรถภาพร่างกาย มีคะเเนนเต็มรวม 50 คะเเนน คะเเนนที่จะได้ลดหลั่นกันลงมา ตามลาดับ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการทดสอบเเต่ละประเภทที่ผู้สอบปฏิบัติได้สาเร็จหรือจานวนครั้งที่ปฏิบัติ สาหรับผู้ที่ ได้คะเเนนรวมจาการทดสอบทุกประเภทต่ากว่า 20 คะเเนน หรือว่ายน้า 50 เมตร หรือวิ่ง 1000 เมตร ไม่ถึงเวลา ไม่ได้ตามที่กาหนดถือว่าสอบตกให้คัดออก (คะเเเนนผลการสอบพลศึกษาจะไม่นาไปรวมกับคะเเนนการสอบ ข้อเขียน ) ผู้เข้าสอบจะต้องทาการสอบให้ครบทุกประเภท ถ้าขาดสอบประเภทใดประเภทหนึ่ง ถือว่าสอบตกและ จะตัดสิทธิไม่รับเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหาร โดยไม่คานึงถึงคะเเนนสอบข้อเขียน ประเภทที่สอบและเกณฑ์การ ให้คะเเนนดังนี้ 1. ดึงข้อราวเดี่ยว ท่าเตรียม ให้ผู้ทดสอบจับข้อราวเดี่ยวแบบคว่าการอบ ปล่อยตัวให้ตรงจนเเขน ลาตัว และขา เหยียดตรง ท่าปฏิบัติ ให้ผู้ทดสอบทาท่าต่อจากท่าเตรียม โดยงอเเขนดึงตัวขึ้นจนคางอยู่เหนือราว แล้ว ปล่อยตัวลงสู่ท่าเตรียมกระทาติดต่อกันให้ได้จานวนครั้งมากที่สุด ห้ามเเกว่งเท้าหรือเตะขา หรือหยุดพักระหว่าง ครั้งนานเกินกว่า 3-4 วินาที หรือไม่สามารถดึงขึ้นพ้นราวได้ 2 ครั้งติดต่อกัน หรือดึงไม่พ้น ให้หยุดการทดสอบ ถ้าทาได้ 16 ครั้ง จะได้คะเเนนเต็ม 2. ลุกนั่ง 30 วินาที ท่าเตรียม ผู้ทดสอบนอนหงาย เข่าทั้งสองงอเป็นมุมฉาก เท้าทั้งสองวางห่างกันพอประมาณ ฝ่ามือทั้งสองประสานกันที่ท้ายทอย ผู้ช่วยคุกเข่าอยู่บนปลายเท้าของผู้ทดสอบโดยเอามือทั้งสองกดข้อเท้าของผู้ ทดสอบไว้ให้ส้นเท้าติดพื้น ท่าปฏิบัติ เมื่อได้ยินสัญญาณเริ่ม ให้ผู้ทดสอบลุกขึ้นสู่ท่านั่งพร้อมกับก้มศีรษะลงระหว่างเข้า ทั้งสองให้เเขนทั้งสองเเตะกับเข่าแล้วกลับลงนอนสู่ท่าเตรียมจนศอกเเตะกับพื้น ทาเช่นนนี้ติดต่อกันให้ได้จานวน ครั้งมากที่สุดภายใน 30 วินาทีในขณะปฏิบัตินิ้วมือประสานที่ท้ายทอยตลอดเวลา และขณะที่ลุกขึ้นมาสู่ท่านั่งห้าม เอนตัวไปมา ถ้าทาได้ 25 ครั้ง จะได้คะเเนนเต็ม
  • 5. 3. นั่งงอตัว ท่าเตรียม ผู้เข้ารับการทดสอบลงนั่งบนเบาะ ลักษณะเหยียดขา เข้าตึง ฝ่าเท้าเเนบชิดเครื่องวัด ความอ่อนตัว ท่าปฏิบัติ เมื่อพร้อม ให้ผู้เข้ารับการทดสอบเหยียดเเขนตรง คว่าฝ่ามือขนานกับพื้นแล้วค่อยๆ ก้มตัวไปด้านหน้า ให้มืออยู่บนระดับไม้วัดจนไม่สามารถก้มต่อไปได้ ( ห้ามโยกหัว หรืองอตัวเเรงๆ เพราะอาจทา ให้กระดูกสันหลังเป้นอันตราย ) แล้วค้างไว้ 3 วินาที วัดระยะจากเส้นดิ่ง ตรงปลายเท้ากับปลายมือ บันทึกระยะ เป็นเซนติเมตร ถ้าเหยียดเลยปลายเท้าให้บันทึกค่าเป็น บวก ถ้าไม่ถึงปลายเท้าให้บันทึกค่าเป็น ลบ ทดสอบ 2 ครั้ง บันทึกคะเเนนครั้งที่ดีที่สุด ถ้าทาได้ 20 เซนติเมตร จะได้คะเเนนเต็ม 4. วิ่งระยะสั้น ( 50 เมตร ) ท่าเตรียม ผู้ทดสอบยืนอยู่หลังเส้นในลู่วิ่งของตนเอง พร้อมจะปฏิบัติ ท่าปฏิบัติ เมื่อได้ยินสัญญาณ ให้ผู้ทดสอยเริ่มวิ่งอย่างเร็วออกจากเส้นเริ่มจนผ่านเส้นชัย ถ้าทาได้ไม่เกิน 6.5 วินาที จะได้คะเเนนเต็ม 5. วิ่งระยะไกล ( 1000 เมตร ) ท่าเตรียม ผู้ทดสอบยืนหลังเส้นเริ่ม เตรียมตัวปฏิบัติ ท่าปฏิบัติ เมื่อได้ยินสัญญาณ ให้ผู้ทดสอบเริ่มวิ่งจากเส้นเริ่มไปตามทางวิ่งจนสิ้นสุดระยะทาง โดยผ่านเส้นชัย ถ้าทาเวลาได้ไม่เกิน 3.22 วินาที จะได้คะเเนนเต็ม ผู้ที่ทดสอบวิ่งระยะไกลทาเวลาเกินกว่า 5 นาที 22 วินาที หรือวิ่งไม่ถึง จะไม่รวมคะเเนนการ สอบพลทุกประเภท และถือว่าสอบพลศึกษาตก 6. ยืนกระโดดไกล ท่าเตรียม ผู้สอบยืนบนพื้นเรียบหลังเส้นกระโดด ปลายเท้าทั้งสองชิดเส้น หันหน้าไปทาง ทิศทางที่จะกระโดด ท่าปฏิบัติ เมื่อได้ยินสัญญาณให้เริ่มปฏิบัติ ให้ผู้ทดสอบ กระโดดไปข้างหน้าให้ได้ระยะไกล ที่สุด ( โดยใช้การเเกว่งเเขนช่วย ) วัดระยะการกระโดดจากเส้นกระโดดไปยังจุดที่ส้นเท้าลงบนพื้นไกลเส้นเริ่มต้น มากที่สุด ถ้ากระโดดได้ไกล 2.40 เมตร จะได้คะเเนนเต็ม 7. ว่ายน้า 50 เมตร ท่าเตรียม ผู้ทดสอบยยืนที่ขอบสระพร้อมจะปฏิบัติ ท่าปฏิบัติ เมื่อได้ยินสัญญาณ ให้ผู้ทดสอบพุ่งตัวลงสระว่ายน้าแล้วว่ายโดยเร็ว จนถึงขอบสระ ที่เป็นเส้นชัย ถือเอาส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายเเตะขอบสระที่เป็นเส้นชัย ถ้าทาได้ไม่เกิน 40 วินาที จะได้คะเเนนเต็ม ผู้ที่สอบว่ายน้า ทาเวลาเกินกว่า 1 นาที 20 วินาที หรือว่ายไม่ถึงเส้นชัย จะไม่นวมคะเเนนการ สอบพลทุกประเภท และถือว่าสอบพลศึกษาตก 8. วิ่งกลับตัว ( วิ่งเก็บของ ) ท่าเตรียม ผู้ทดสอบยืนอยู่หลังเส้นเริ่ม พร้อมปฏิบัติ
  • 6. ท่าปฏิบัติ เมื่อได้ยินสัญญาณ ให้ผู้ทดสอบวิ่งอย่างเร็วจากเส้นเริ่มไปหยิบท่อนไม้ ท่อนที่ 1 ซึ่ง วางอยู่ภายในรัศมี 1 ฟุต กลับมาวางภายในวงกลมหลังเส้นเริ่ม ( ห้ามโยนท่อนไม้ ถ้าวางไม่เข้าวงกลมต้องเริ่มต้น ใหม่ ) แล้วกลับตัววิ่งไปหยิบท่อนไม้ท่อนที่ 2 แล้ววิ่งผ่านเส้นเริ่มต้นไปโดยไม่ต้องวางไม้ท่อนที่ 2 ลง ภ้าทาเวลาได้ภายใน 10.00 วินาที จะได้คะเเนนเต็ม การวัดขนาดร่างกายและการสอบสัมภาษณ์ เป็นการพิจารณารูปร่าง ลักษณะท่าทาง ความสมบูรณ์ของ ร่างกาย ความองอาจว่องไวและปฏิภาณไหวพริบ ตลอดจนคุณลักษณะอื่นๆ ที่เหมาะสมเข้าจะเป็นข้าราชการ ตารวจชั้นสัญญาบัตร ผลการสอบถือเกณฑ์ “ได้” หรือ “ตก” เท่านั้นไม่มีคะเเนน ผู้ที่สอบตกหมายถึง ผู้ที่มีลักษณะอย่างใด อย่างหนึ่งไม่เหมาะสมที่จะเป็นข้าราชการตารวจชั้นสัญญาบัตร และจะตัดสิทธิไม่รับเข้าเป็นนนักเรียนเตรียม ทหารโดยไม่คานึงถึงคะเเนนสอบข้อเขียน ในวันสอบสัมภาษณ์จะทาการวัดขนาดร่างกายของผู้สมัครด้วย หากผู้สมัครมีร่างกายไม่ได้ขนาดตามที่ กาหนดไว้จะหมดสิทธิสอบสัมภาษณ์ทันที