SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 104
Descargar para leer sin conexión
สรุปผลสรุปผลที่สาคัญที่สาคัญ
สารวจสารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ในครัวเรือนในครัวเรือน พพ..ศศ.. 25525577
สานักงานสถิติแห่งชาติ
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยงานเจ้าของเรื่อง สานักสถิติเศรษฐกิจและสังคม
สานักงานสถิติแห่งชาติ
โทรศัพท์ 0 2142 1251
โทรสาร 0 2143 8135
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ : ictsurvey@nso.go.th
หน่วยงานที่เผยแพร่ สานักสถิติพยากรณ์
สานักงานสถิติแห่งชาติ
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา
อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 2 ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่
กทม. 10210
โทรศัพท์ 0 2141 7498
โทรสาร 0 2143 8132
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ : services@nso.go.th
ปีที่จัดพิมพ์ 2557
จัดพิมพ์โดย
สรุปผลทีสําคัญ สํารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สํานักงานสถิติแห่งชาติ
คํานํา
ในภาวะสังคมปัจจุบันประเทศไทยได้ก้าวสู่ยุคสารสนเทศอย่างรวดเร็วและ
ต่อเนื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้เข้ามามีบทบาทต่อประชาชน
ในการใช้เป็นเครื่องมือในการเข้าถึงข้อมูล ติดต่อสื่อสารได้อย่างทั่วถึง สะดวก รวดเร็ว
และหลายช่องทาง เพื่อให้การใช้เทคโนโลยีของคนไทยทัดเทียมกับประเทศที่พัฒนาแล้ว
จําเป็นต้องพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางด้านเทคโนโลยี และส่งเสริมประชาชนให้มี
ความรู้และทักษะการใช้เทคโนโลยี ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมของประเทศให้ก้าวไปข้างหน้าอย่างรวดเร็วในสังคมโลกาภิวัฒน์
สํานักงานสถิติแห่งชาติ ได้ให้ความสําคัญกับการจัดทําข้อมูลสถิติจาก
การสํารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทั้งในครัวเรือนและ
สถานประกอบการมาอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยการสํารวจข้อมูลจากครัวเรือนทําให้
ทราบสถานภาพการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประชาชน การมี
อุปกรณ์เทคโนโลยีและการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตในครัวเรือน เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐและ
เอกชนที่เกี่ยวข้องมีข้อมูลสําหรับนําไปกําหนดนโยบาย และการวางแผน ส่งเสริม
สนับสนุนให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ให้มากขึ้นและทั่วถึง
การสํารวจครั้งนี้ สํานักงานสถิติแห่งชาติได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี
จากผู้ให้ข้อมูลและผู้ใช้ข้อมูลทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในการร่วมกําหนด
ความต้องการและให้ข้อคิดเห็นการจัดทําโครงการเพื่อให้ได้ประโยชน์ร่วมกันทุกฝ่าย
อย่างแท้จริง จึงหวังว่าข้อมูลสถิติที่ได้จากการสํารวจนี้จะเป็นประโยชน์ในการติดตาม
ประเมินผล และปรับปรุงแผนการพัฒนาด้านต่างๆ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ต่อไป
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สำนักงำนสถิติแห่งชำติ
1
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
การสารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน ได้
จัดทาเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 และตั้งแต่ พ.ศ. 2546 เป็นต้นมา สานักงานสถิติ
แห่งชาติ ได้ทาการสารวจต่อเนื่องเป็นประจาทุกปี เพื่อให้ทราบจานวนประชากรที่ใช้
คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์มือถือ ลักษณะและพฤติกรรมในการใช้อุปกรณ์
เทคโนโลยีต่างๆ รวมทั้งทราบจานวนครัวเรือนที่มีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสารเช่น โทรศัพท์พื้นฐานเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องโทรสาร และการเชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ตในครัวเรือน เป็นต้น
การสารวจใช้วิธีสัมภาษณ์หัวหน้าครัวเรือน และสมาชิกในครัวเรือนที่มีอายุ 6 ปี
ขึ้นไป จากครัวเรือนตัวอย่างทั้งสิ้น 83,880 ครัวเรือน ผลการสารวจสรุปได้ดังนี้
การใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ตและโทรศัพท์มือถือ
ในจานวนประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปประมาณ 62.3 ล้านคน ผลการสารวจ
พบว่า มีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 23.8 ล้านคน (ร้อยละ 38.2) ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 21.7
ล้านคน (ร้อยละ 34.9) และผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ 48.1 ล้านคน (ร้อยละ 77.2)
เมื่อเปรียบเทียบระหว่างเขตการปกครองพบว่า ในเขตเทศบาลมีสัดส่วนผู้ใช้
คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 47.8 ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 44.9 และผู้ใช้
โทรศัพท์มือถือ ร้อยละ 83.9 ในขณะที่นอกเขตเทศบาลมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์
ร้อยละ 30.4 ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 26.9 และผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ ร้อยละ 71.8
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สำนักงำนสถิติแห่งชำติ
2
เมื่อพิจารณาแนวโน้มการใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และโทรศัพท์มือถือ
ของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปในช่วงระยะเวลา 5 ปี ระหว่างปี 2553-2557
พบว่า ผู้ใช้คอมพิวเตอร์มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 30.9 (จานวน 19.1 ล้านคน)
เป็นร้อยละ 38.2 (จานวน 23.8 ล้านคน) ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นจากร้อยละ
22.4 (จานวน 13.8 ล้านคน) เป็นร้อยละ 34.9 (จานวน 21.7 ล้านคน) ผู้ใช้
โทรศัพท์มือถือเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 61.8 (จานวน 38.2 ล้านคน) เป็นร้อยละ 77.2
(จานวน 48.1 ล้านคน) (แผนภูมิ 1)
22.4 23.7
26.5 28.9
34.930.9 32.0 33.7 35.0
38.2
61.8
66.4
70.2
73.3 77.2
0
10
20
30
40
50
60
70
80
2553 2554 2555 2556 2557
อินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ
ร้อยละ
ปี
แผนภูมิ 1 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต
และโทรศัพท์มือถือ พ.ศ. 2553-2557
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สำนักงำนสถิติแห่งชำติ
3
แม้ว่าการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประชากร
มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่ยังมีช่องว่างในการใช้อุปกรณ์ต่างๆ ของผู้ที่อยู่
ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล ในระหว่าง ปี 2553-2557 ผู้ใช้คอมพิวเตอร์
ที่อยู่ในเขตเทศบาลมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 43.4 เป็นร้อยละ 47.8
ส่วนผู้ใช้ที่อยู่นอกเขตเทศบาล เพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 25.2 เป็นร้อยละ 30.4
ในขณะที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่อยู่ในเขตเทศบาลมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นจาก
ร้อยละ 35.1 เป็นร้อยละ 44.9 ส่วนผู้ใช้ที่อยู่นอกเขตเทศบาลเพิ่มขึ้นจากร้อยละ
16.5 เป็นร้อยละ 26.9
สาหรับผู้ใช้โทรศัพท์มือถือที่อยู่ในเขตเทศบาลมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นจาก
ร้อยละ 72.2 เป็นร้อยละ 83.9 ในขณะที่ผู้ใช้ที่อยู่นอกเขตเทศบาลเพิ่มขึ้นจาก
ร้อยละ 57.0 เป็น ร้อยละ 71.8 (ตาราง 1)
ตาราง 1 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ตและ
โทรศัพท์มือถือ จาแนกตามเขตการปกครอง พ.ศ. 2553-2557
ปี
คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต โทรศัพท์มือถือ
ในเขต
เทศบาล
นอกเขต
เทศบาล
ในเขต
เทศบาล
นอกเขต
เทศบาล
ในเขต
เทศบาล
นอกเขต
เทศบาล
2553 43.4 25.2 35.1 16.5 72.2 57.0
2554 44.3 25.5 36.0 17.2 74.8 62.0
2555 45.4 27.5 37.7 20.5 77.7 66.2
2556 46.3 29.1 39.9 23.2 80.0 69.8
2557 47.8 30.4 44.9 26.9 83.9 71.8
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สำนักงำนสถิติแห่งชำติ
4
38.2
54.6
39.2
34.1 32.5
37.334.9
54.5
37.5
30.6
26.9
32.7
77.2
89.2
81.7
74.4
70.7 73.2
0
10
20
30
40
50
60
70
80
90
100
เมื่อพิจารณาสัดส่วนของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และ
โทรศัพท์มือถือเป็นรายภาค พบว่า กรุงเทพมหานครมีสัดส่วนผู้ใช้คอมพิวเตอร์
มากที่สุดคือ ร้อยละ 54.6 รองลงมาภาคกลาง ร้อยละ 39.2 ภาคใต้ ร้อยละ 37.3
ภาคเหนือ ร้อยละ 34.1 และน้อยที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 32.5
สาหรับสัดส่วนการใช้อินเทอร์เน็ตเช่นเดียวกันคือ กรุงเทพมหานครมี
ผู้ใช้มากที่สุดร้อยละ 54.5 รองลงมาคือภาคกลาง ร้อยละ 37.5 ภาคใต้ ร้อยละ
32.7 ภาคเหนือ ร้อยละ 30.6 และน้อยที่สุดคือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ร้อยละ 26.9
ในขณะที่การใช้โทรศัพท์มือถือ กรุงเทพมหานครยังมีสัดส่วนของผู้ใช้
มากที่สุดเช่นเดียวกันคือ ร้อยละ 89.2 รองลงมาคือ ภาคกลาง ร้อยละ 81.7
ภาคเหนือ ร้อยละ 74.4 ภาคใต้ ร้อยละ 73.2 และน้อยที่สุดคือภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 70.7 (แผนภูมิ 2)
ร้อยละ
แผนภูมิ 2 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต
และโทรศัพท์มือถือ จาแนกตามภาค
คอมพิวเตอร์
อินเทอร์เน็ต
โทรศัพท์มือถือ
ภาคทั่วประเทศ กทม. กลาง เหนือ ตะวันออก
เฉียงเหนือ
ใต้
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สำนักงำนสถิติแห่งชำติ
5
0
5
10
15
20
25
30
35
40
2553 2554 2555 2556 2557
21.9
23.5
26.3
28.8
34.9
22.8 23.9
26.6 29.1
34.9
ชาย
ห ิง
ลักษณะและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต
เมื่อเปรียบเทียบการใช้อินเทอร์เน็ตระหว่างเพศชายและเพศหญิง พบว่า
สัดส่วนการใช้อินเทอร์เน็ตของเพศชายและเพศหญิงไม่แตกต่างกันมากนัก โดย
ระหว่างปี 2553-2557 สัดส่วนการใช้อินเทอร์เน็ตของเพศชายเพิ่มขึ้นจากร้อยละ
21.9 เป็นร้อยละ 34.9 ส่วนเพศหญิงเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 22.8 เป็นร้อยละ 34.9
(แผนภูมิ 3)
เมื่อพิจารณาการใช้อินเทอร์เน็ตตามกลุ่มอายุต่าง ๆ พบว่า กลุ่มอายุ
15-24 ปี มีสัดส่วนการใช้อินเทอร์เน็ตสูงที่สุด ร้อยละ 69.7 รองลงมาคือ กลุ่ม
อายุ 6-14 ปี ร้อยละ 58.2 กลุ่มอายุ 25-34 ปี ร้อยละ 48.5 กลุ่มอายุ 35-49 ปี
ร้อยละ 25.9 และในกลุ่มอายุ 50 ปีขึ้นไปมีเพียง ร้อยละ 8.4 (ตาราง 2)
แผนภูมิ 3 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้อินเทอร์เน็ต จาแนกตามเพศ
พ.ศ. 2553 - 2557
ร้อยละ
ปี
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สำนักงำนสถิติแห่งชำติ
6
ตาราง 2 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้อินเทอร์เน็ต จาแนกตามกลุ่มอายุ
พ.ศ. 2553-2557
ปี
กลุ่มอายุ (ปี)
6-14 15-24 25-34 35-49 50ปีขึ้นไป
2553 35.9 50.0 24.6 13.6 4.2
2554 38.3 51.9 26.6 14.3 5.5
2555 46.5 54.8 29.7 17.1 6.2
2556 54.1 58.4 33.5 18.7 6.6
2557 58.2 69.7 48.5 25.9 8.4
สาหรับสถานที่ใช้อินเทอร์เน็ต พบว่า ส่วนใหญ่ใช้ที่บ้าน/ที่พักอาศัย
ร้อยละ 63.9 รองลงมาคือ ใช้ตามสถานที่ต่างๆ ผ่านโทรศัพท์มือถือ ร้อยละ 53.4
ใช้ในสถานศึกษา ร้อยละ 39.6 และใช้ที่ทางาน ร้อยละ 32.3
ส่วนกิจกรรมที่ใช้ส่วนใหญ่ใช้ในการดาวน์โหลด ดูหนัง ฟังเพลง ฟังวิทยุ
ร้อยละ 79.1 รองลงมาคือ เล่นเกม/ดาวน์โหลดเกม ร้อยละ 75.0 ใช้ Social
Network (Facebook, Twitter, GooglePlus, Line, Instagram) ร้อยละ 73.9
และติดตามข่าวสาร/อ่านหรือดาวน์โหลด นสพ. นิตยสาร (e-book) ร้อยละ 51.1
ในขณะที่ความถี่ในการใช้อินเทอร์เน็ตพบว่า ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเป็นประจา
(5-7 วันใน 1 สัปดาห์) ร้อยละ 59.6 รองลงมาใช้ค่อนข้างบ่อย (1-4 วันใน 1
สัปดาห์) ร้อยละ 37.4
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สำนักงำนสถิติแห่งชำติ
7
การมีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน
เมื่อพิจารณาสัดส่วนการมีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ในครัวเรือนในระหว่างปี 2553-2557 พบว่าครัวเรือนที่มีโทรศัพท์พื้นฐานมี
แนวโน้มลดลงจากร้อยละ 20.9 เป็นร้อยละ 14.4 ครัวเรือนที่มีเครื่องโทรสาร
เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากร้อยละ 1.7 เป็นร้อยละ 2.2 ครัวเรือนที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์
เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 22.8 เป็นร้อยละ 33.9 สาหรับครัวเรือนที่มีการเชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ตมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 11.4 เป็นร้อยละ 34.7 (ตาราง 3)
ตาราง 3 ร้อยละครัวเรือนที่มีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
พ.ศ.2553-2557
ปี
จานวน
ครัวเรือน
ทั้งสิ้น
(พันครัวเรือน)
ร้อยละของครัวเรือน
ที่มีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
โทรศัพท์
พื้นฐาน
โทรสาร คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต
2553 19,644.9 20.9 1.7 22.8 11.4
2554 19,786.4 18.6 1.6 24.7 13.4
2555 20,025.4 15.6 1.7 26.9 18.4
2556 20,121.4 14.0 1.7 28.7 23.5
2557 20,564.7 14.4 2.2 33.9 34.7
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สำนักงำนสถิติแห่งชำติ
8
สาหรับครัวเรือนที่มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต พบว่า มีการเชื่อม
ต่ออินเทอร์เน็ตด้วยประเภท Fixed broadband มากที่สุด ร้อยละ 45.0
รองลงมาแบบไร้สายเคลื่อนที่โทรศัพท์มือถือ 3G ขึ้นไป (เช่น WCDMA, EV-DO)
มีร้อยละ 40.3 Narrowband แบบไร้สายเคลื่อนที่โทรศัพท์มือถือ (2G, 2.5G
เช่น GSM, CDMA, GPRS) ร้อยละ 8.9 และแบบ Analogue modem, ISDN
มีเพียง ร้อยละ 3.4 (ตาราง 4)
ตาราง 4 ร้อยละของครัวเรือนที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต จาแนกตามประเภทของ
อินเทอร์เน็ต และภาค
ภาค
จานวน
ครัวเรือนที่
เชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ต
(พันครัวเรือน)
ประเภทของอินเทอร์เน็ต
Narrowband Broadband
ไม่แน่ใจ
Analogue
modem,
ISDN
แบบไร้สายเคลื่อนที่
โทรศัพท์มือถือ
2G, 2.5G (เช่น
GSM, CDMA,
GPRS)
Fixed
broadband1/
แบบไร้สาย
เคลื่อนที่
โทรศัพท์มือถือ 3G
(เช่นWCDMA,
EV-DO)
ทั่วราชอาณาจักร 7,126.4 3.4 8.9 45.0 40.3 2.4
กรุงเทพมหานคร 1,502.9 3.0 3.4 56.0 35.6 2.0
กลาง 2,458.2 3.4 8.5 42.7 42.7 2.7
เหนือ 1,064.8 2.6 9.3 49.4 37.9 0.8
ตะวันออกเฉียงเหนือ 1,253.1 4.1 13.0 37.0 43.4 2.6
ใต้ 847.5 3.6 13.4 38.8 40.1 4.1
หมายเหตุ : 1/ Fixed broadband ได้แก่ DSL (SDSL, ADSL, VDSL), Cable modem, Leased line, ดาวเทียม, เคเบิล
ใยแก้วนาแสง, Fixed wireless, WiMAX.)
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สานักงานสถิติแห่งชาติ9
ตัวชี้วัดที่สาคัญ
รายการ ปี
ภาค
ทั่วราช -
อาณาจักร
กรุงเทพ
มหานคร
กลาง เหนือ ตะวันออก
เฉียงเหนือ
ใต้
1. ร้อยละของประชากรอายุ 6
ปีขึ้นไป ที่ใช้คอมพิวเตอร์
2556
2557
35.0
38.2
53.3
54.6
36.4
39.2
32.0
34.1
30.3
32.5
34.8
37.3
2. ร้อยละของประชากรอายุ 6
ปีขึ้นไป ที่ใช้อินเทอร์เน็ต
2556
2557
28.9
34.9
48.8
54.5
29.8
37.5
27.2
30.6
23.2
26.9
29.1
32.7
3. ร้อยละของประชากรอายุ 6
ปีขึ้นไป ที่ใช้โทรศัพท์มือถือ
2556
2557
73.3
77.2
85.0
89.2
77.4
81.7
72.5
74.4
68.6
70.7
70.5
73.2
4. จานวนเครื่องโทรศัพท์
พื้นฐาน ต่อ 100 ครัวเรือน
2556
2557
14.2
15.4
48.8
41.4
16.7
17.7
10.6
10.8
4.9
5.7
12.5
11.9
5. จานวนเครื่องโทรสารต่อ
100 ครัวเรือน
2556
2557
1.7
2.3
6.4
6.3
1.9
2.8
0.9
1.1
0.7
0.9
1.9
1.9
6. จานวนเครื่องคอมพิวเตอร์
ต่อ 100 ครัวเรือน
2556
2557
45.5
58.4
107.5
115.0
48.1
58.5
39.4
49.2
30.0
41.6
41.9
51.7
7. ร้อยละของครัวเรือนที่มี
เครื่องคอมพิวเตอร์
2556
2557
28.7
33.9
55.9
57.2
30.4
34.2
27.3
31.2
20.1
25.9
28.5
31.6
8. ร้อยละของครัวเรือนที่
เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
2556
2557
23.5
34.7
53.7
59.4
27.9
40.2
19.8
28.2
13.4
22.9
23.4
31.7
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สานักงานสถิติแห่งชาติ10
สรุปประเด็นเด่น
1. ประชากรในกรุงเทพมหานครใช้คอมพิวเตอร์ (ร้อยละ 54.6) ใช้อินเทอร์เน็ต
(ร้อยละ 54.5) และใช้โทรศัพท์มือถือ (ร้อยละ 89.2) ซึ่งสูงกว่าภาคอื่น
2. ประชากรกลุ่มอายุ 11-14 ปี (ร้อยละ 95.8) ใช้คอมพิวเตอร์มากที่สุด
3. ประชากรกลุ่มอายุ 11-14 ปี (ร้อยละ 82.1) ใช้อินเทอร์เน็ตมากที่สุด
4. ประชากรส่วนใหญ่ใช้อินเทอร์เน็ตที่บ้าน (ร้อยละ 63.9) สถานที่ต่างๆ ผ่าน
โทรศัพท์มือถือ (ร้อยละ 53.4) และสถานศึกษา (ร้อยละ 39.6)
5. ประชากรส่วนใหญ่ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อกิจกรรมในการ ดาวน์โหลด ดูหนัง ฟังเพลง
ฟังวิทยุ (ร้อยละ 79.1) เล่นเกม/ดาวน์โหลดเกม (ร้อยละ 75.0) และใช้ Social
Network (Facebook, Twitter, Hi5,GooglePlus,Line,Instagram)(ร้อยละ73.9)
6. ประชากรส่วนใหญ่ใช้โทรศัพท์มือถือในบริการ SMS (ร้อยละ 63.9) ใช้ฟังก์ชันบน
โทรศัพท์มือถือ (ร้อยละ 56.2) และ ใช้บริการ data (Internet เช่น mms,
e-mail, social media เป็นต้น) (ร้อยละ 22.6)
7. ประชากรส่วนใหญ่ไม่เคยจองหรือซื้อสินค้าและบริการทางอินเทอร์เน็ต
(ร้อยละ 93.6) เหตุผลคือกลัวถูกหลอกลวง (ร้อยละ 36.7) ไม่เห็นสินค้าจริง
(ร้อยละ 36.2) และขั้นตอนการสั่งซื้อยุ่งยาก (ร้อยละ 15.1)
8. ประชากรที่เคยจองสินค้าและบริการทางอินเทอร์เน็ต ซึ่งมีเพียง (ร้อยละ 6.4)
ในจานวนนี้ส่วนใหญ่ซื้อเครื่องแต่งกายและเครื่องประดับ (ร้อยละ 52.2)
ใช้บริการ e-Ticket (ร้อยละ 16.6) และซื้ออาหาร เครื่องดื่ม สินค้าด้าน
สุขภาพ (ร้อยละ 16.1)
9. ครัวเรือนที่มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตส่วนใหญ่ใช้อินเทอร์เน็ต ประเภท Fixed
broadband (ร้อยละ 45.0) และแบบไร้สายเคลื่อนที่ (เทคโนโลยี 3G ขึ้นไป
WCDMA, EV-DO) (ร้อยละ 40.3)
สรุปผลทีสําคัญ สํารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สํานักงานสถิติแห่งชาติ11
สารบัญ
หน้า
คํานํา
บทสรุปสําหรับผู้บริหาร 1
ตัวชี้วัดที่สําคัญ 9
สรุปประเด็นเด่น 10
สารบัญแผนภูมิ 12
สารบัญตาราง 13
บทนํา 15
สรุปผลการสํารวจ 17
1. การใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต 17
1) จํานวนผู้ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต 17
2) เพศและอายุของผู้ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต 19
3) ระดับการศึกษาของผู้ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต 20
4) อาชีพของผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต 21
5) สถานที่ กิจกรรมและความถี่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต 22
6) ลักษณะและพฤติกรรมของผู้ที่เคยจองหรือซื้อสินค้าและบริการทางอินเทอร์เน็ต 23
2. จํานวนผู้มีโทรศัพท์มือถือ 27
3. การมีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน 29
1) ครัวเรือนที่มีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 29
2) จํานวนอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน 31
3) ประเภทของอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในครัวเรือน 32
4) ค่าใช้จ่ายในการใช้อินเทอร์เน็ตของครัวเรือน 33
4. ข้อคิดเห็นต่อการควบคุมดูแลเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 34
ภาคผนวก 35
คํานิยามที่สําคัญ 37
เปรียบเทียบจํานวนผู้ใช้และจํานวนอุปกรณ์เทคโนโลยีฯ พ.ศ. 2553-2557 41
ตารางสถิติที่สําคัญ 47
สรุปผลทีสําคัญ สํารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สํานักงานสถิติแห่งชาติ12
สารบัญแผนภูมิ
หน้า
แผนภูมิ 1 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปี ขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต
จําแนกตามเขตการปกครอง 17
แผนภูมิ 2 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต
จําแนกตามภาค 18
แผนภูมิ 3 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต
จําแนกตามกลุ่มอายุ 19
แผนภูมิ 4 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต
จําแนกตามระดับการศึกษา 20
แผนภูมิ 5 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้อินเทอร์เน็ต จําแนกตาม
สถานที่ใช้ 22
แผนภูมิ 6 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่เคยจองหรือซื้อสินค้าและ
บริการทางอินเทอร์เน็ต จําแนกตามกลุ่มอายุ 23
แผนภูมิ 7 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป ที่เคยจองหรือซื้อสินค้าและ
บริการทางอินเทอร์เน็ต จําแนกตามประเภทสินค้าและบริการ 24
แผนภูมิ 8 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป ที่เคยจองหรือซื้อสินค้าและ
บริการทางอินเทอร์เน็ต จําแนกตามค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ 25
แผนภูมิ 9 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป ที่ไม่เคยจองหรือซื้อสินค้าและ
บริการทางอินเทอร์เน็ต จําแนกตามเหตุผล 26
แผนภูมิ 10 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่มีโทรศัพท์มือถือ
จําแนกตามภาค 27
แผนภูมิ 11 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป ที่ใช้โทรศัพท์มือถือ
จําแนกตามกิจกรรมที่ใช้ 28
แผนภูมิ 12 ร้อยละของครัวเรือนที่มีเครื่องโทรศัพท์พื้นฐาน/เครื่องโทรสาร
จําแนกตามภาค 29
แผนภูมิ 13 ร้อยละของครัวเรือนที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์และครัวเรือนที่มีการ
เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต จําแนกตามภาค 30
แผนภูมิ 14 ร้อยละของครัวเรือนที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต จําแนกตามค่าใช้จ่าย
ในการใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยต่อเดือน 33
สรุปผลทีสําคัญ สํารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สํานักงานสถิติแห่งชาติ13
แผนภูมิ 15 ร้อยละของครัวเรือน จําแนกตามเรื่องที่ต้องการให้ภาครัฐเข้ามาควบคุม
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 34
สารบัญตาราง
หน้า
ตาราง 1 จํานวนและร้อยละของผู้มีงานทําอายุ 15 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์/
อินเทอร์เน็ต จําแนกตามอาชีพ 21
ตาราง 2 จํานวนของอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ต่อ100ครัวเรือน จําแนกตามภาค 31
ตาราง 3 ร้อยละของครัวเรือนที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต จําแนกตามประเภท
ของอินเทอร์เน็ต และภาค 32
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สานักงานสถิติแห่งชาติ
15
บทนา
1. ความเป็นมา
สานักงานสถิติแห่งชาติ ได้ดาเนินการสารวจการมีการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือนครั้งแรก พ.ศ. 2544 และตั้งแต่ พ.ศ. 2546
เป็นต้นมา ได้ทาการสารวจต่อเนื่องเป็นประจาทุกปี โดยผนวกแบบสอบถามกับ
โครงการสารวจภาวะการทางานของประชากร แต่เนื่องจากมีความต้องการใช้
ข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมากขึ้น จึงได้เพิ่มรายละเอียดของ
ข้อถามตามความต้องการของผู้ใช้และได้แยกแบบสอบถามออกจากการสารวจ
ภาวะการทางานของประชากร ตั้งแต่ปี 2548 เป็นต้นมา สาหรับการสารวจครั้งนี้
ได้ดาเนินการสารวจในไตรมาส 1 (มกราคม - มีนาคม) พ.ศ. 2557
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อทราบจานวนประชากรที่ใช้คอมพิวเตอร์ ใช้อินเทอร์เน็ต และใช้
โทรศัพท์มือถือ
2.2 เพื่อทราบจานวนครัวเรือนที่มีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสารในประเภทต่างๆ คือ เครื่องโทรศัพท์พื้นฐาน เครื่องคอมพิวเตอร์
เครื่องโทรสาร และการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตในครัวเรือน
2.3 เพื่อทราบรายละเอียดของการใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และ
โทรศัพท์มือถือของประชากร เช่น สถานที่ใช้ กิจกรรมในการใช้ ความถี่ในการใช้
งบประมาณที่ต้องการซื้อ เป็นต้น
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สานักงานสถิติแห่งชาติ
16
3. ประโยชน์ที่ได้รับจากการสารวจ
3.1 ทาให้ทราบถึงความก้าวหน้าในการใช้เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์
อินเทอร์เน็ต และโทรศัพท์มือถือของประชากร
3.2 สามารถนาไปเป็นดัชนีชี้วัดถึงความก้าวหน้า ทางด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารของประเทศ
3.3 ข้อมูลที่ได้สามารถนาไปใช้ในการกาหนดนโยบาย วางแผนพัฒนา
ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทั้งในส่วนของการพัฒนาบุคลากร
ตลอดจนสามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการกระจายความรู้
ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้กับประชาชนอย่างทั่วถึง
4. ขอบข่ายและคุ้มรวม
คุ้มรวมของการสารวจ คือ ครัวเรือนส่วนบุคคลและครัวเรือนกลุ่มบุคคล
ที่ตกเป็นตัวอย่างทั้งสิ้น 83,880 ครัวเรือน สาหรับวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
ใช้การสัมภาษณ์หัวหน้าครัวเรือนและสมาชิกในครัวเรือนที่มีอายุ 6 ปีขึ้นไป
โดยเจ้าหน้าที่ของสานักงานสถิติแห่งชาติ
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สานักงานสถิติแห่งชาติ
17
0
10
20
30
40
50
60
38.2
47.8
30.4
34.9
44.9
26.9
สรุปผลการสารวจ
1. การใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต
1) จานวนผู้ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต
ผลการสารวจในปี 2557 มีจานวนประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป ทั้งสิ้น
ประมาณ 62.3 ล้านคน ในจานวนนี้มีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 23.8 ล้านคน (ร้อยละ 38.2)
และมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 21.7 ล้านคน (ร้อยละ 34.9) โดยในเขตเทศบาลมีผู้ใช้
คอมพิวเตอร์ 13.3 ล้านคน (ร้อยละ 47.8) และมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 12.5 ล้านคน
(ร้อยละ 44.9) ในขณะที่นอกเขตเทศบาลมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 10.5 ล้านคน
(ร้อยละ 30.4) และผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 9.3 ล้านคน (ร้อยละ 26.9) (แผนภูมิ 1)
ร้อยละ
แผนภูมิ 1 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต
จาแนกตามเขตการปกครอง
เขตการปกครองทั่วประเทศ ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล
คอมพิวเตอร์
อินเทอร์เน็ต
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สานักงานสถิติแห่งชาติ
18
0
10
20
30
40
50
60
38.2
54.6
39.2
34.1 32.5
37.3
34.9
54.5
37.5
30.6
26.9
32.7
เมื่อพิจารณาเป็นรายภาคกรุงเทพมหานครมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 4.4 ล้านคน
(ร้อยละ 54.6) และใช้อินเทอร์เน็ต 4.4 ล้านคน (ร้อยละ 54.5) ภาคกลางมีผู้ใช้
คอมพิวเตอร์ 7.0ล้านคน (ร้อยละ39.2)และใช้อินเทอร์เน็ต6.7ล้านคน(ร้อยละ 37.5)
ภาคใต้มีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 3.1 ล้านคน (ร้อยละ37.3)และใช้อินเทอร์เน็ต 2.7ล้านคน
(ร้อยละ 32.7) ภาคเหนือมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 3.7 ล้านคน (ร้อยละ 34.1) และใช้
อินเทอร์เน็ต 3.3 ล้านคน (ร้อยละ 30.6) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีผู้ใช้คอมพิวเตอร์
5.7 ล้านคน (ร้อยละ 32.5) และใช้อินเทอร์เน็ต 4.7 ล้านคน (ร้อยละ 26.9)
(แผนภูมิ 2)
ร้อยละ
แผนภูมิ 2 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต
จาแนกตามภาค
ภาคทั่วประเทศ กทม. กลาง เหนือ ตะวันออก
เฉียงเหนือ
ใต้
คอมพิวเตอร์
อินเทอร์เน็ต
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สานักงานสถิติแห่งชาติ
19
0
10
20
30
40
50
60
70
80
90
100
84.9
67.1
46.4
27.4
9.6
58.2
69.7
48.5
25.9
8.4
2) เพศและอายุของผู้ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต
การใช้คอมพิวเตอร์หรืออินเทอร์เน็ตของเพศชายมีสัดส่วนใกล้เคียงกับ
เพศหญิง คือ เพศชายใช้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 49.0 และใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 48.7
ส่วนเพศหญิงใช้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 51.0 และใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 51.3
ประชากรกลุ่มอายุ 6-14 ปี มีสัดส่วนการใช้คอมพิวเตอร์สูงที่สุดคือ
ร้อยละ 84.9 รองลงมาคือ ประชากรกลุ่มอายุ 15-24 ปี ร้อยละ 67.1 และกลุ่ม
อายุ 25-34 ปีร้อยละ 46.4 ส่วนการใช้อินเทอร์เน็ตมีการใช้สูงที่สุดในกลุ่มอายุ
15-24 ปี ร้อยละ 69.7 รองลงมาคือกลุ่มอายุ 6-14 ปี ร้อยละ 58.2 และกลุ่มอายุ
25-34 ปี ร้อยละ 48.5 (แผนภูมิ 3)
ร้อยละ
แผนภูมิ 3 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต
จาแนกตามกลุ่มอายุ
คอมพิวเตอร์
อินเทอร์เน็ต
กลุ่มอายุ (ปี)50+6-14 25-34 35-4915-24
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สานักงานสถิติแห่งชาติ
20
0
10
20
30
40
50
60
70
80
90
100
23.8
41.7
49.9
63.8
86.8
21.117.2
42.7
51.6
64.8
86.9
23.2
3) ระดับการศึกษาของผู้ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต
ผู้มีการศึกษาในระดับอุดมศึกษามีสัดส่วนการใช้คอมพิวเตอร์สูงที่สุด
คือร้อยละ 86.8 และใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 86.9 รองลงมาคือ ระดับ
อาชีวศึกษา/อนุปริญญาใช้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 63.8 และใช้อินเทอร์เน็ต
ร้อยละ 64.8 ส่วนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายใช้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 49.9
และใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 51.6 (แผนภูมิ 4)
ร้อยละ
แผนภูมิ 4 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต
จาแนกตามระดับการศึกษา
คอมพิวเตอร์
อินเทอร์เน็ต
ระดับ
การศึกษา
ตั้งแต่ประถม
ศึกษาลงมา
มัธยมศึกษา
ตอนต้น
อุดมศึกษาอาชีวศึกษา
อนุปริญญา
มัธยมศึกษา
ตอนปลาย
อื่นๆ
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สานักงานสถิติแห่งชาติ
21
4) อาชีพของผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต
เมื่อสอบถามผู้มีงานทาอายุ 15 ปีขึ้น ในแต่ละอาชีพถึงการใช้
คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ตในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา พบว่า ผู้ทางานด้านประกอบ
วิชาชีพด้านต่าง ๆ มีสัดส่วนการใช้คอมพิวเตอร์สูงที่สุดคือ ร้อยละ 94.7 และใช้
อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 93.0 รองลงมาคืออาชีพเสมียนใช้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 84.7
และใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 83.2 งานด้านวิชาชีพช่างเทคนิคสาขาต่างๆ และอาชีพ
ที่เกี่ยวข้องใช้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 82.9 และใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 82.5 (ตาราง 1)
ตาราง 1 จานวนและร้อยละของผู้มีงานทาอายุ 15 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์/
อินเทอร์เน็ต จาแนกตามอาชีพ
อาชีพ
จานวนผู้มีงานทา
(พันคน)
ร้อยละผู้มีงานทา
ใช้คอมพิวเตอร์ ใช้อินเทอร์เน็ต
รวม 39,339,705 29.0 29.1
ผู้บัญญัติกฎหมาย ข้าราชการอาวุโสและ
ผู้จัดการ
1,486,893 67.6 66.0
ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่างๆ 2,147,416 94.7 93.0
วิชาชีพช่างเทคนิคสาขาต่างๆ และอาชีพที่
….เกี่ยวข้อง
1,650,331 82.9 82.5
เสมียน 1,591,827 84.7 83.2
พนักงานบริการ และพนักงานร้านค้าในตลาด 7,291,128 32.7 34.1
ผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตร
และการประมง
13,059,560 7.1 6.0
ผู้ปฏิบัติด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจ
….การค้าที่เกี่ยวข้อง
4,247,522 23.5 24.0
ผู้ปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักรและ
….ผู้ปฏิบัติงานด้านประกอบ
3,687,245 23.0 26.6
อาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการ
….ให้บริการ และอื่น ๆ
4,125,725 11.2 11.3
คนงานซึ่งไม่ได้จาแนกไว้ในหมวดอื่น 52,058 82.0 82.6
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สานักงานสถิติแห่งชาติ
22
0 10 20 30 40 50 60 70
63.9
53.4
39.6
32.3
21.2
20.2
19.2
6.0
5.1
5) สถานที่ กิจกรรมและความถี่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต
ผู้ที่ใช้อินเทอร์เน็ตส่วนใหญ่ใช้ที่บ้าน/ที่พักอาศัย ร้อยละ 63.9
รองลงมาใช้ตามสถานที่ต่างๆ ผ่านโทรศัพท์มือถือ ร้อยละ 53.4 ใช้ที่สถานศึกษา
ร้อยละ 39.6 และใช้ที่ทางาน ร้อยละ 32.3 (แผนภูมิ 5)
โดยกิจกรรมที่ใช้อินเทอร์เน็ตส่วนใหญ่ใช้ในการดาวน์โหลด ดูหนัง
ฟังเพลง ฟังวิทยุ ร้อยละ 79.1 รองลงมาเล่นเกม/ ดาวน์โหลดเกม ร้อยละ 75.0
และใช้ Social Network (Facebook, Twitter, GooglePlus, Line, Instagram
เป็นต้น) ร้อยละ 73.9
สาหรับความถี่ในการใช้อินเทอร์เน็ต พบว่า ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเป็นประจา
(5-7 วันใน 1 สัปดาห์) ร้อยละ 59.6 รองลงมาใช้ค่อนข้างบ่อย (1-4 วันใน 1
สัปดาห์) ร้อยละ 37.4
สถานที่ใช้อินเทอร์เน็ต
ร้อยละ
แผนภูมิ 5 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้อินเทอร์เน็ต จาแนกตาม
สถานที่ใช้
สถานที่ให้บริการต่างๆ
บ้าน/ที่พักอาศัย
สถานที่ต่างๆผ่านโทรศัพท์มือถือ
สถานศึกษา
ที่ทางาน
สถานที่ต่างๆผ่านคอมพิวเตอร์พกพา
บ้านเพื่อน/คนรู้จัก/ญาติ
ร้านอินเทอร์เน็ต
ศูนย์บริการสารสนเทศเพื่อประชาชน1/
หมายเหตุ: 1/
ห้องสมุด/ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สานักงานสถิติแห่งชาติ
23
0
5
10
15
20
25
30
35
40
1.6
26.5
35.1
28.4
8.4
6) ลักษณะและพฤติกรรมของผู้ที่เคยจองหรือซื้อสินค้าและบริการ
ทางอินเทอร์เน็ต
เพศและกลุ่มอายุ
ในจานวนผู้ที่ใช้อินเทอร์เน็ต 21.7 ล้านคน พบว่า ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่ไม่เคย
จองหรือซื้อสินค้าและบริการทางอินเทอร์เน็ตสูงถึง ร้อยละ 93.6 ส่วนผู้ที่เคยจอง
หรือซื้อสินค้าและบริการทางอินเทอร์เน็ตมีเพียง ร้อยละ 6.4 โดยเป็นหญิง
ร้อยละ 60.2 และชาย ร้อยละ 39.8
เมื่อพิจารณาตามกลุ่มอายุ พบว่า ผู้ที่เคยจองหรือซื้อสินค้าและบริการ
ทางอินเทอร์เน็ต ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มอายุ 25-34 ปี ร้อยละ 35.1 รองลงมา
เป็นกลุ่มอายุ 35-49 ปี ร้อยละ 28.4 และกลุ่มอายุ 15-24 ปี ร้อยละ 26.5
(แผนภูมิ 6)
ร้อยละ
แผนภูมิ 6 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่เคยจองหรือซื้อสินค้าและบริการ
ทางอินเทอร์เน็ต จาแนกตามกลุ่มอายุ
กลุ่มอายุ (ปี)50+6-14 25-34 35-4915-24
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สานักงานสถิติแห่งชาติ
24
ประเภทสินค้าและบริการที่เคยจองหรือซื้อทางอินเทอร์เน็ต
ผู้ที่เคยจองหรือซื้อสินค้าและบริการทางอินเทอร์เน็ต ระบุว่า เคยจอง
หรือซื้อสินค้าและบริการประเภทเครื่องแต่งกาย/เครื่องประดับ มากที่สุด
ร้อยละ 52.2 รองลงมา e -Ticket ร้อยละ 16.6 อาหารเครื่องดื่ม สินค้าสุขภาพ
ร้อยละ 16.1 เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ร้อยละ 8.6 และหนังสือ
นิตยสาร หนังสือพิมพ์ ร้อยละ 6.6 (แผนภูมิ 7)
0 10 20 30 40 50 60
52.2
16.6
16.1
8.6
6.6
6.3
5.4
4.0
3.7
3.3
3.1
1.3
1.3
1.0
ประเภทสินค้าและบริการ
แผนภูมิ 7 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่เคยจองหรือซื้อสินค้าและ
บริการทางอินเทอร์เน็ต จาแนกตามประเภทสินค้าและบริการ
เครื่องเขียน เครื่องกีฬา
หมายเหตุ: ตอบได้ไม่เกิน 2 คาตอบ
ร้อยละ
หนังสือ นิตยสาร หนังสือพิมพ์
เพลง ภาพยนตร์ สินค้าบันเทิงอื่นๆ
อุปกรณ์โทรศัพท์มือถือ
เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ
e-Ticket
อาหาร เครื่องดื่ม สินค้าสุขภาพ
เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
สั่งจองบริการต่างๆ
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ของเล่น ของขวัญ
ของใช้ในบ้าน สานักงาน
ซอฟแวร์ต่างๆ
เกม
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สานักงานสถิติแห่งชาติ
25
7.4
15.3
36.2
19.4
5.6
8.1
8.0
0 5 10 15 20 25 30 35 40
ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการทางอินเทอร์เน็ต
ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการทางอินเทอร์เน็ตของผู้ที่เคยจอง
หรือซื้อทางอินเทอร์เน็ตในรอบปีที่ผ่านมามีค่าใช้จ่ายไม่สูงมากนัก ส่วนใหญ่มี
ค่าใช้จ่ายอยู่ระหว่าง 1,000-2,999 บาท ร้อยละ 36.2 รองลงมาค่าใช้จ่าย
3,000-5,999 บาท ร้อยละ 19.4 ค่าใช้จ่าย 500-999 บาท ร้อยละ 15.3 และ
ค่าใช้จ่าย 10,000-19,999 บาทขึ้นไป ร้อยละ 8.1 (แผนภูมิ 8)
ร้อยละ
ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ
แผนภูมิ 8 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่เคยจองหรือซื้อสินค้าและบริการ
ทางอินเทอร์เน็ต จาแนกตามค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ
ต่ากว่า 500 บาท
500-999 บาท
1,000-2,999 บาท
3,000-5,999 บาท
6,000-9,999 บาท
10,000-19,999 บาท
20,000 บาทขึ้นไป
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สานักงานสถิติแห่งชาติ
26
36.7
36.2
15.1
3.7
2.6
1.6
1.0
0.5
2.6
0 5 10 15 20 25 30 35 40
เหตุผลของผู้ที่ไม่เคยจองหรือซื้อสินค้าและบริการทางอินเทอร์เน็ต
สาหรับผู้ที่ไม่เคยจองหรือซื้อสินค้าและบริการทางอินเทอร์เน็ต
ได้ระบุเหตุผล ดังนี้คือ กลัวถูกหลอกลวง ร้อยละ 36.7 ไม่เห็นสินค้าจริง ร้อยละ
36.2 ขั้นตอนการสั่งซื้อยุ่งยาก ร้อยละ 15.1 ความปลอดภัยของข้อมูลส่วนตัว
และบัตรเครดิต ร้อยละ 3.7 ราคาแพงกว่าหน้าร้าน ร้อยละ 2.6 ต้องรอสินค้า
ร้อยละ 1.6 ไม่แน่ใจเว็บไซต์จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย ร้อยละ 1.0
กลัวสินค้าสูญหายระหว่างส่ง ร้อยละ 0.5 และอื่นๆ ร้อยละ 2.6 (แผนภูมิ 9)
เหตุผลที่ไม่เคยจองหรือซื้อสินค้าฯ
ร้อยละ
แผนภูมิ 9 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ไม่เคยจองหรือซื้อสินค้าและ
บริการทางอินเทอร์เน็ต จาแนกตามเหตุผล
ไม่เห็นสินค้าจริง
ราคาแพงกว่าหน้าร้าน
กลัวถูกหลอกลวง
ความปลอดภัยของข้อมูลฯ
ขั้นตอนการสั่งซื้อยุ่งยาก
ต้องรอสินค้า
ไม่แน่ใจ website
กลัวสินค้าสูญหาย
อื่นๆ
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สานักงานสถิติแห่งชาติ
27
0
20
40
60
80
100
77.2
89.2
81.7
74.4 70.7 73.2
2. จานวนผู้มีโทรศัพท์มือถือ
จากการสารวจประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปทั้งสิ้นจานวน 62.3 ล้านคน
พบว่า มีโทรศัพท์มือถือจานวน 48.1 ล้านคน (ร้อยละ 77.2) โดยในเขตเทศบาล
ผู้มีโทรศัพท์มือถือจานวน 23.3 ล้านคน (ร้อยละ 83.9) มีสัดส่วนสูงกว่าผู้ที่อยู่นอก
เขตเทศบาล ซึ่งมีจานวน 24.8 ล้านคน (ร้อยละ 71.8)
เมื่อพิจารณารายภาค พบว่า กรุงเทพมหานคร มีสัดส่วนผู้มีโทรศัพท์มือถือ
มากที่สุดคือ 7.1 ล้านคน (ร้อยละ 89.2) รองลงมาภาคกลาง 14.5 ล้านคน
(ร้อยละ 81.7) ภาคเหนือ 8.0 ล้านคน (ร้อยละ 74.4) ภาคใต้ 6.1 ล้านคน
(ร้อยละ 73.2) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 12.3 ล้านคน (ร้อยละ 70.7)
(แผนภูมิ 10)
ร้อยละ
แผนภูมิ 10 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่มีโทรศัพท์มือถือ
จาแนกตามภาค
ภาคทั่วประเทศ กทม. กลาง เหนือ ตะวันออก
เฉียงเหนือ
ใต้
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สานักงานสถิติแห่งชาติ
28
กิจกรรมของผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ
กิจกรรมในการใช้โทรศัพท์มือถืออื่น ๆ นอกเหนือจากการใช้โทรออก
และรับสายเข้าเป็นหลักแล้ว ส่วนใหญ่ใช้บริการ SMS ร้อยละ 63.9 รองลงมาใช้
ฟังก์ชั่นบนโทรศัพท์มือถือ ร้อยละ 56.2 ใช้บริการ data (Internet เช่น MMS,
e-mail, Social media เป็นต้น) ร้อยละ 22.6 และใช้บริการ Mobile Banking
ร้อยละ 2.5 (แผนภูมิ 11)
0 20 40 60 80
2.5
22.6
56.2
63.9
แผนภูมิ 11 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้โทรศัพท์มือถือ
จาแนกตามกิจกรรมที่ใช้
ร้อยละ
กิจกรรมที่ใช้ฯ
Data (Internet เช่น MMS,
e-mail, Social media เป็นต้น)
SMS
การใช้ฟังก์ชั่นบนโทรศัพท์มือถือ
Mobile Banking
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สานักงานสถิติแห่งชาติ
29
3. การมีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน
1) ครัวเรือนที่มีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เมื่อสอบถามเกี่ยวกับอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มี
ในครัวเรือน ได้แก่ เครื่องโทรศัพท์พื้นฐาน และเครื่องโทรสาร พบว่า จานวน
ครัวเรือนทั้งสิ้น 20.6 ล้านครัวเรือน มีครัวเรือนที่มีเครื่องโทรศัพท์พื้นฐาน 3.0
ล้านครัวเรือน (ร้อยละ 14.4) มีเครื่องโทรสาร 0.4 ล้านครัวเรือน (ร้อยละ 2.2)
เมื่อพิจารณาเป็นรายภาค กรุงเทพมหานครมีครัวเรือนที่มีเครื่องโทรศัพท์พื้นฐาน
สูงที่สุดถึง ร้อยละ 40.1 และเครื่องโทรสาร ร้อยละ 5.9 ส่วนภาคอื่นๆ ก็มี
อุปกรณ์ดังกล่าวไม่มากนัก (แผนภูมิ 12)
0
10
20
30
40
50
14.4
40.1
16.5
9.7
5.3
10.4
2.2
5.9
2.6 1.1 0.9 1.7
ร้อยละ
แผนภูมิ 12 ร้อยละของครัวเรือนที่มีเครื่องโทรศัพท์พื้นฐาน/เครื่องโทรสาร
จาแนกตามภาค
ภาคทั่วประเทศ กทม. กลาง เหนือ ตะวันออก
เฉียงเหนือ
ใต้
โทรศัพท์พื้นฐาน
โทรสาร
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สานักงานสถิติแห่งชาติ
30
สาหรับครัวเรือนที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์และการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
พบว่า สัดส่วนครัวเรือนที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ ร้อยละ 33.9 และมีการเชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 34.7 เมื่อพิจารณาตามภาคกรุงเทพมหานครมีครัวเรือนที่มี
เครื่องคอมพิวเตอร์มากที่สุดคือ ร้อยละ 57.2 และมีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
ร้อยละ 59.4 รองลงมาคือ ภาคกลาง มีเครื่องคอมพิวเตอร์ ร้อยละ 34.2 และมี
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ร้อยละ 40.2 ในขณะที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมี
สัดส่วนน้อยที่สุด คือมีเครื่องคอมพิวเตอร์ ร้อยละ 25.9 และมีการเชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 22.9 (แผนภูมิ 13)
0
10
20
30
40
50
60
70
33.9
57.2
34.2
31.2
25.9
31.6
34.7
59.4
40.2
28.2
22.9
31.7
ร้อยละ
แผนภูมิ 13 ร้อยละของครัวเรือนที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์และครัวเรือนที่มีการเชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ต จาแนกตามภาค
ภาคทั่วประเทศ กทม. กลาง เหนือ ตะวันออก
เฉียงเหนือ
ใต้
เครื่องคอมพิวเตอร์
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สานักงานสถิติแห่งชาติ
31
2) จานวนอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน
สาหรับจานวนอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มี
ในครัวเรือน พบว่า ทั่วประเทศมีจานวนเครื่องโทรศัพท์พื้นฐาน 3.2 ล้านเครื่อง
(15.4 เครื่องต่อ 100 ครัวเรือน) จานวนเครื่องโทรสาร 0.5 ล้านเครื่อง (2.3
เครื่องต่อ 100 ครัวเรือน) และจานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ 12.0 ล้านเครื่อง
(58.4 เครื่องต่อ 100 ครัวเรือน) (ตาราง 2)
ตาราง 2 จานวนของอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารต่อ 100 ครัวเรือน
จาแนกตามภาค
หมายเหตุ : 1/
รวมคอมพิวเตอร์ (PC) Notebook, PDA และ Tablet
ภาค
จานวน
ครัวเรือน
(พันครัวเรือน)
จานวนอุปกรณ์เทคโนโลยีฯ
(พันเครื่อง)
จานวนอุปกรณ์เทคโนโลยีฯ
ต่อ 100 ครัวเรือน
โทร
ศัพท์
โทร
สาร
คอม
พิวเตอร์ 1/
โทร
ศัพท์
โทร
สาร
คอม
พิวเตอร์ 1/
ทั่วราชอาณาจักร
+
20,564.7 3,169.2 470.7 12,004.6 15.4 2.3 58.4
กรุงเทพมหานคร 2,532.5 1,049.1 160.0 2,913.3 41.4 6.3 115.0
กลาง 6,117.1 1,083.7 171.1 3,580.5 17.7 2.8 58.5
เหนือ 3,774.6 407.8 40.4 1,855.1 10.8 1.1 49.2
ตะวันออกเฉียงเหนือ 5,463.1 309.3 48.2 2,270.9 5.7 0.9 41.6
ใต้ 2,677.5 319.3 51.0 1,384.7 11.9 1.9 51.7
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สานักงานสถิติแห่งชาติ
32
3) ประเภทของอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในครัวเรือน
ครัวเรือนที่มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตใช้ประเภท Fixed broadband
มากที่สุด ร้อยละ 45.0 รองลงมาแบบไร้สายเคลื่อนที่โทรศัพท์มือถือ 3G ขึ้นไป
(เช่น WCDMA,.EV-DO) ร้อยละ 40.3 ประเภท Narrowband แบบไร้สาย
เคลื่อนที่ โทรศัพท์มือถือ (2G, 2.5G เช่น GSM, CDMA, GPRS) ร้อยละ 8.9
และแบบ Analogue modem, ISDN มีเพียง ร้อยละ 3.4 (ตาราง 3)
ตาราง3ร้อยละของครัวเรือนที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตจาแนกตามประเภทของอินเทอร์เน็ตและภาค
หมายเหตุ : 1/
Fixed broadband ได้แก่ DSL (SDSL, ADSL, VDSL), Cable modem, Leased line, ดาวเทียม, เคเบิลใยแก้วนาแสง,
Fixed wireless, WiMAX.
ภาค
จานวน
ครัวเรือนที่
เชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ต
(พันครัวเรือน)
ประเภทของอินเทอร์เน็ต
Narrowband Broadband
ไม่แน่ใจ
Analogue
modem,
ISDN
แบบไร้สาย
เคลื่อนที่
(โทรศัพท์
มือถือ 2G, 2.5G
เช่น GSM,
CDMA, GPRS)
Fixed
broadband 1/
แบบไร้สาย
เคลื่อนที่
(โทรศัพท์
มือถือ 3G ขึ้นไป
เช่น WCDMA,
EV-DO)
ทั่วราชอาณาจักร 7,126.4 3.4 8.9 45.0 40.3 2.4
กรุงเทพมหานคร 1,502.9 3.0 3.4 56.0 35.6 2.0
กลาง 2,458.2 3.4 8.5 42.7 42.7 2.7
เหนือ 1,064.8 2.6 9.3 49.4 37.9 0.8
ตะวันออกเฉียงเหนือ 1,253.1 4.1 13.0 37.0 43.4 2.6
ใต้ 847.5 3.6 13.4 38.8 40.1 4.1
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สานักงานสถิติแห่งชาติ
33
1.6
11.6
29.0
21.4
25.8
10.6
0 10 20 30 40
4) ค่าใช้จ่ายในการใช้อินเทอร์เน็ตของครัวเรือน
สาหรับค่าใช้จ่ายในการใช้อินเทอร์เน็ตของครัวเรือน (ไม่รวมค่าโทรศัพท์)
เฉลี่ยต่อเดือน พบว่า ครัวเรือนที่เสียค่าใช้จ่ายในการใช้อินเทอร์เน็ตจานวน
600-799 บาท สูงที่สุดคือ ร้อยละ 29.0 รองลงมาเสียค่าใช้จ่าย 200-399 บาท
ร้อยละ 25.8 เสียค่าใช้จ่าย 400-599 บาท ร้อยละ 21.4 เสียค่าใช้จ่ายมากกว่า
800 บาทขึ้นไป ร้อยละ 11.6 เสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่า 200 บาท ร้อยละ 10.6
และไม่เสียค่าใช้จ่ายเลย ร้อยละ 1.6 (แผนภูมิ 14)
ค่าใช้จ่ายการใช้อินเทอร์เน็ต
แผนภูมิ 14 ร้อยละของครัวเรือนที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต จาแนกตามค่าใช้จ่ายใน
การใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยต่อเดือน
ร้อยละ
น้อยกว่า 200 บาท
200 - 399 บาท
400 - 599 บาท
600 - 799 บาท
800 บาทขึ้นไป
ไม่เสียค่าใช้จ่าย
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
สานักงานสถิติแห่งชาติ
34
4.1
7.6
10.3
10.4
12.6
17.2
21.6
29.4
55.2
0 10 20 30 40 50 60
ร้อยละ
เรื่องที่ต้องการให้ควบคุม
4. ข้อคิดเห็นต่อการควบคุมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สาหรับข้อคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการให้ภาครัฐเข้ามาควบคุมด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พบว่า มีครัวเรือนต้องการให้ควบคุมเว็บไซต์
ที่ลามกอนาจาร ร้อยละ 55.2 ควบคุมผู้ให้บริการร้านอินเทอร์เน็ต/เกมออนไลน์
ร้อยละ 29.4 ควบคุมการเผยแพร่ข้อความ เสียง ภาพ ตัดต่อ ดัดแปลงภาพที่ทา
ให้ผู้อื่นเสียชื่อเสียงร้อยละ 21.6 มีมาตรการป้องกันการเจาะระบบข้อมูลคอมพิวเตอร์
ร้อยละ 17.2 ควบคุมการจดทะเบียนโทรศัพท์มือถือ ร้อยละ 12.6 และ
การเผยแพร่ spam mail หรือไวรัส ร้อยละ 10.4 (แผนภูมิ 15)
หมายเหตุ: ตอบได้ไม่เกิน 2 คาตอบ
แผนภูมิ 15 ร้อยละของครัวเรือน จาแนกตามเรื่องที่ต้องการให้ภาครัฐเข้ามาควบคุม
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เว็บไซด์ลามกอนาจาร
ร้านอินเทอร์เน็ต
ตัดต่อ/ดัดแปลงเสียงหรือภาพให้ผู้อื่นเสียหาย
การเจาะระบบข้อมูล
การจดทะเบียนโทรศัพท์มือถือ
การเผยแพร่ spam mail หรือไวรัส
มีหน่วยงานควบคุมผู้ให้บริการ
มีศูนย์รับเรื่องร้องเรียนผู้ให้บริการ
ความปลอดภัยในการใช้ e-commerce
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
49
สานักงานสถิติแห่งชาติ
เปรียบเทียบจานวนผู้ใช้และจานวนอุปกรณ์เทคโนโลยี
สารสนเทศในครัวเรือน พ.ศ. 2553-2557
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
43
สานักงานสถิติแห่งชาติ
จานวนและร้อยละของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และโทรศัพท์มือถือ พ.ศ. 2553-2557
จาแนกตามภาค
ภาค
ประชากร
อายุ 6 ปี
ขึ้นไป
จานวนของผู้ใช้
ร้อยละของผู้ใช้ต่อประชากร
อายุ 6 ปีขึ้นไป
คอม
พิวเตอร์
อิน
เทอร์เน็ต
โทรศัพท์
มือถือ
คอม
พิวเตอร์
อิน
เทอร์เน็ต
โทรศัพท์
มือถือ
พ.ศ. 2553
ทั่วราช-
อาณาจักร
61,896,854 19,138,809 13,844,121 38,243,149 30.9 22.4 61.8
กรุงเทพฯ 6,343,626 3,003,977 2,514,782 4,904,536 47.4 39.6 77.3
กลาง 14,751,255 4,682,038 3,285,096 9,873,020 31.7 22.3 66.9
เหนือ 11,355,670 3,276,993 2,406,755 6,874,601 28.9 21.2 60.5
ตะวันออก-
เฉียงเหนือ
21,000,602 5,704,488 3,961,485 11,623,460 27.2 18.9 55.4
ใต้ 8,445,701 2,471,313 1,676,003 4,967,533 29.3 19.9 58.8
พ.ศ. 2554
ทั่วราช-
อาณาจักร
62,414,235 19,941,150 14,773,403 41,432,901 32.0 23.7 66.4
กรุงเทพฯ 6,387,317 3,076,340 2,594,413 5,083,557 48.2 40.6 79.6
กลาง 14,906,776 4,800,305 3,448,181 10,557,967 32.2 23.1 70.8
เหนือ 11,408,389 3,492,063 2,636,240 7,534,611 30.6 23.1 66.1
ตะวันออก-
เฉียงเหนือ
21,140,586 5,999,405 4,297,349 12,888,098 28.4 20.3 61.0
ใต้ 8,571,167 2,573,036 1,797,221 5,368,667 30.0 21.0 62.6
พ.ศ. 2555
ทั่วราช-
อาณาจักร
62,859,329 21,167,848 16,632,908 44,095,238 33.7 26.5 70.2
กรุงเทพฯ 6,416,044 3,302,566 2,848,286 5,386,679 51.5 44.4 84.0
กลาง 15,043,334 5,294,779 4,131,640 11,290,875 35.2 27.5 75.1
เหนือ 11,451,056 3,614,931 2,867,098 7,891,380 31.6 25.0 68.9
ตะวันออก-
เฉียงเหนือ
21,260,858 6,176,991 4,568,734 13,632,332 29.1 21.5 64.1
ใต้ 8,688,037 2,778,582 2,217,150 5,893,971 32.0 25.5 67.8
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
44
สานักงานสถิติแห่งชาติ
จานวนและร้อยละของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และโทรศัพท์มือถือ พ.ศ. 2553-2557
จาแนกตามภาค
ภาค
ประชากร
อายุ 6 ปี
ขึ้นไป
จานวนของผู้ใช้
ร้อยละของผู้ใช้ต่อประชากร
อายุ 6 ปีขึ้นไป
คอม
พิวเตอร์
อิน
เทอร์เน็ต
โทรศัพท์
มือถือ
คอม
พิวเตอร์
อิน
เทอร์เน็ต
โทรศัพท์
มือถือ
พ.ศ. 2556
ทั่วราช-
อาณาจักร
63,283,119 22,166,875 18,312,405 46,401,040 35.0 28.9 73.3
กรุงเทพฯ 6,435,907 3,431,742 3,137,998 5,470,054 53.3 48.8 85.0
กลาง 15,174,749 5,526,180 4,526,918 11,738,051 36.4 29.8 77.4
เหนือ 11,495,571 3,674,095 3,122,811 8,333,380 32.0 27.2 72.5
ตะวันออก-
เฉียงเหนือ
21,373,487 6,467,602 4,963,738 14,655,023 30.3 23.2 68.6
ใต้ 8,803,405 3,067,256 2,560,940 6,204,531 34.8 29.1 70.5
พ.ศ. 2557
ทั่วราช-
อาณาจักร
62,286,730 23,771,341 21,729,382 48,065,641 38.2 34.9 77.2
กรุงเทพฯ 8,002,125 4,368,728 4,358,846 7,134,265 54.6 54.5 89.2
กลาง 17,756,740 6,954,898 6,666,595 14,505,457 39.2 37.5 81.7
เหนือ 10,812,745 3,690,400 3,309,518 8,039,389 34.1 30.6 74.4
ตะวันออก-
เฉียงเหนือ
17,411,231 5,661,101 4,675,963 12,311,755 32.5 26.9 70.7
ใต้ 8,303,889 3,096,214 2,718,461 6,074,775 37.3 32.7 73.2
หมายเหตุ :ปี 2557มีการเปลี่ยนแปลงค่าคาดประมาณประชากร
สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557
45
สานักงานสถิติแห่งชาติ
จานวนอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศต่อ100ครัวเรือนพ.ศ.2553-2557จาแนกตามภาค
ภาค ครัวเรือนทั้งสิ้น
จานวนอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ต่อ 100 ครัวเรือน
โทรศัพท์พื้นฐาน โทรสาร คอมพิวเตอร์
พ.ศ. 2553
ทั่วราชอาณาจักร 19,664,929 21.6 1.8 29.5
กรุงเทพฯ 2,020,409 54.8 7.5 69.4
กลาง 4,758,831 26.5 1.9 32.5
เหนือ 3,871,991 20.0 0.9 26.4
ตะวันออกเฉียงเหนือ 6,376,255 10.1 0.5 19.9
ใต้ 2,617,443 17.6 1.4 21.6
พ.ศ. 2554
ทั่วราชอาณาจักร 19,786,346 18.6 1.6 24.7
กรุงเทพฯ 2,019,064 48.3 5.6 46.3
กลาง 4,799,179 21.7 1.8 27.1
เหนือ 3,896,108 17.8 1.1 25.5
ตะวันออกเฉียงเหนือ 6,418,616 9.3 0.8 18.1
ใต้ 2,653,379 17.1 1.2 19.8
พ.ศ. 2555
ทั่วราชอาณาจักร 20,025,412 16.0 1.9 39.8
กรุงเทพฯ 1,962,673 49.4 7.9 93.1
กลาง 4,926,992 19.9 2.3 43.7
เหนือ 3,937,092 12.9 0.8 35.6
ตะวันออกเฉียงเหนือ 6,488,429 5.8 0.5 26.5
ใต้ 2,710,226 13.7 1.5 31.8
พ.ศ. 2556
ทั่วราชอาณาจักร 20,121,364 14.2 1.7 45.5
กรุงเทพฯ 1,959,171 48.8 6.4 107.5
กลาง 4,959,984 16.7 1.9 48.1
เหนือ 3,948,017 10.6 0.9 39.4
ตะวันออกเฉียงเหนือ 6,513,638 4.9 0.7 30.0
ใต้ 2,740,554 12.5 1.9 41.9
พ.ศ. 2557
ทั่วราชอาณาจักร 20,564,691 15.4 2.3 58.4
กรุงเทพฯ 2,532,459 41.4 6.3 115.0
กลาง 6,117,117 17.7 2.8 58.5
เหนือ 3,774,593 10.8 1.1 49.2
ตะวันออกเฉียงเหนือ 5,463,062 5.7 0.9 41.6
ใต้ 2,677,460 11.9 1.9 51.7
หมายเหตุ : พ.ศ. 2553 คอมพิวเตอร์ในที่นี้รวมเครื่องคอมพิวเตอร์ PC, และ Notebook
พ.ศ. 2554 คอมพิวเตอร์ในที่นี้รวมเครื่องคอมพิวเตอร์ PC , Notebook , PDA และ Smart phone
พ.ศ. 2555 - พ.ศ. 2557 คอมพิวเตอร์ในที่นี้รวมเครื่องคอมพิวเตอร์ PC , Notebook ,PDA และ Tablet
ตารางสถิติที่สาคัญ
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557

Más contenido relacionado

Destacado

Metadata for Visual Resources
Metadata for Visual ResourcesMetadata for Visual Resources
Metadata for Visual ResourcesJenn Riley
 
Open Educational Resources for Author
Open Educational Resources for AuthorOpen Educational Resources for Author
Open Educational Resources for AuthorBoonlert Aroonpiboon
 
Library Web Design for Digital Era
Library Web Design for Digital EraLibrary Web Design for Digital Era
Library Web Design for Digital EraBoonlert Aroonpiboon
 
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...Boonlert Aroonpiboon
 
Open Educational Resources for User
Open Educational Resources for UserOpen Educational Resources for User
Open Educational Resources for UserBoonlert Aroonpiboon
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยBoonlert Aroonpiboon
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศBoonlert Aroonpiboon
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์Boonlert Aroonpiboon
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์Boonlert Aroonpiboon
 

Destacado (20)

Metadata for Visual Resources
Metadata for Visual ResourcesMetadata for Visual Resources
Metadata for Visual Resources
 
ICT MOE Master Plan 2554 – 2556
ICT MOE Master Plan 2554 – 2556ICT MOE Master Plan 2554 – 2556
ICT MOE Master Plan 2554 – 2556
 
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
 
Open Educational Resources for Author
Open Educational Resources for AuthorOpen Educational Resources for Author
Open Educational Resources for Author
 
Copyright in Education
Copyright in EducationCopyright in Education
Copyright in Education
 
Copyright Act Law : 2558 # 2
Copyright Act Law : 2558 # 2Copyright Act Law : 2558 # 2
Copyright Act Law : 2558 # 2
 
Joomla3 : XAMPP Portable
Joomla3 : XAMPP PortableJoomla3 : XAMPP Portable
Joomla3 : XAMPP Portable
 
Library Web Design for Digital Era
Library Web Design for Digital EraLibrary Web Design for Digital Era
Library Web Design for Digital Era
 
NSTDA KM
NSTDA KMNSTDA KM
NSTDA KM
 
Saravit eMagazine 13/2557
Saravit eMagazine 13/2557Saravit eMagazine 13/2557
Saravit eMagazine 13/2557
 
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
 
Open Educational Resources for User
Open Educational Resources for UserOpen Educational Resources for User
Open Educational Resources for User
 
Word to Image, How to
Word to Image, How toWord to Image, How to
Word to Image, How to
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
 
Digital Archives Management
Digital Archives ManagementDigital Archives Management
Digital Archives Management
 
Digital Collection ... Guideline
Digital Collection ... GuidelineDigital Collection ... Guideline
Digital Collection ... Guideline
 
Greenstone
GreenstoneGreenstone
Greenstone
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
 

Similar a ICT Usage Survey, Thailand 2557

สำนักปลัดIct
สำนักปลัดIctสำนักปลัดIct
สำนักปลัดIctkaran boobpahom
 
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011Boonlert Aroonpiboon
 
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562ETDAofficialRegist
 
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆพจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆBe SK
 
30.03.2020 เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
 30.03.2020  เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ... 30.03.2020  เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
30.03.2020 เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...ETDAofficialRegist
 
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศnattayos paluang
 
2562 final-project 605-44
2562 final-project 605-44 2562 final-project 605-44
2562 final-project 605-44 ssuser0c005f
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010ICT2020
 
Thailand internet user profile 2015
Thailand internet user profile 2015 Thailand internet user profile 2015
Thailand internet user profile 2015 Mayuree Srikulwong
 
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1Prachyanun Nilsook
 
Thailand Internet User Behavior 2020 Presentation
Thailand Internet User Behavior 2020 PresentationThailand Internet User Behavior 2020 Presentation
Thailand Internet User Behavior 2020 PresentationWiseKnow Thailand
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้TDew Ko
 

Similar a ICT Usage Survey, Thailand 2557 (20)

สำนักปลัดIct
สำนักปลัดIctสำนักปลัดIct
สำนักปลัดIct
 
Planict2552 2556
Planict2552 2556Planict2552 2556
Planict2552 2556
 
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
 
Ict h sum54
Ict h sum54Ict h sum54
Ict h sum54
 
Thailand E Commerce Info 2008
Thailand E Commerce Info 2008Thailand E Commerce Info 2008
Thailand E Commerce Info 2008
 
Thailand E Commerce Info 2008
Thailand E Commerce Info 2008Thailand E Commerce Info 2008
Thailand E Commerce Info 2008
 
Email system
Email systemEmail system
Email system
 
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
 
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆพจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
 
30.03.2020 เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
 30.03.2020  เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ... 30.03.2020  เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
30.03.2020 เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
 
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
2562 final-project 605-44
2562 final-project 605-44 2562 final-project 605-44
2562 final-project 605-44
 
กรอบนโยบายเทคโนโลยสารสนเทศและการสอสาร ระยะ พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๖๓ ของประเทศไทย
กรอบนโยบายเทคโนโลยสารสนเทศและการสอสาร ระยะ พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๖๓ ของประเทศไทยกรอบนโยบายเทคโนโลยสารสนเทศและการสอสาร ระยะ พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๖๓ ของประเทศไทย
กรอบนโยบายเทคโนโลยสารสนเทศและการสอสาร ระยะ พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๖๓ ของประเทศไทย
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
 
Thailand internet user profile 2015
Thailand internet user profile 2015 Thailand internet user profile 2015
Thailand internet user profile 2015
 
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1
 
Thailand Internet User Behavior 2020 Presentation
Thailand Internet User Behavior 2020 PresentationThailand Internet User Behavior 2020 Presentation
Thailand Internet User Behavior 2020 Presentation
 
ICT 2020
ICT 2020ICT 2020
ICT 2020
 
NECTEC Annual Report 2014
NECTEC Annual Report 2014NECTEC Annual Report 2014
NECTEC Annual Report 2014
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 

Más de Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

ICT Usage Survey, Thailand 2557

  • 2. หน่วยงานเจ้าของเรื่อง สานักสถิติเศรษฐกิจและสังคม สานักงานสถิติแห่งชาติ โทรศัพท์ 0 2142 1251 โทรสาร 0 2143 8135 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ : ictsurvey@nso.go.th หน่วยงานที่เผยแพร่ สานักสถิติพยากรณ์ สานักงานสถิติแห่งชาติ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 2 ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กทม. 10210 โทรศัพท์ 0 2141 7498 โทรสาร 0 2143 8132 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ : services@nso.go.th ปีที่จัดพิมพ์ 2557 จัดพิมพ์โดย
  • 3. สรุปผลทีสําคัญ สํารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สํานักงานสถิติแห่งชาติ คํานํา ในภาวะสังคมปัจจุบันประเทศไทยได้ก้าวสู่ยุคสารสนเทศอย่างรวดเร็วและ ต่อเนื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้เข้ามามีบทบาทต่อประชาชน ในการใช้เป็นเครื่องมือในการเข้าถึงข้อมูล ติดต่อสื่อสารได้อย่างทั่วถึง สะดวก รวดเร็ว และหลายช่องทาง เพื่อให้การใช้เทคโนโลยีของคนไทยทัดเทียมกับประเทศที่พัฒนาแล้ว จําเป็นต้องพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางด้านเทคโนโลยี และส่งเสริมประชาชนให้มี ความรู้และทักษะการใช้เทคโนโลยี ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมของประเทศให้ก้าวไปข้างหน้าอย่างรวดเร็วในสังคมโลกาภิวัฒน์ สํานักงานสถิติแห่งชาติ ได้ให้ความสําคัญกับการจัดทําข้อมูลสถิติจาก การสํารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทั้งในครัวเรือนและ สถานประกอบการมาอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยการสํารวจข้อมูลจากครัวเรือนทําให้ ทราบสถานภาพการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประชาชน การมี อุปกรณ์เทคโนโลยีและการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตในครัวเรือน เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐและ เอกชนที่เกี่ยวข้องมีข้อมูลสําหรับนําไปกําหนดนโยบาย และการวางแผน ส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ให้มากขึ้นและทั่วถึง การสํารวจครั้งนี้ สํานักงานสถิติแห่งชาติได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี จากผู้ให้ข้อมูลและผู้ใช้ข้อมูลทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในการร่วมกําหนด ความต้องการและให้ข้อคิดเห็นการจัดทําโครงการเพื่อให้ได้ประโยชน์ร่วมกันทุกฝ่าย อย่างแท้จริง จึงหวังว่าข้อมูลสถิติที่ได้จากการสํารวจนี้จะเป็นประโยชน์ในการติดตาม ประเมินผล และปรับปรุงแผนการพัฒนาด้านต่างๆ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของ ประชาชนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ต่อไป
  • 4. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สำนักงำนสถิติแห่งชำติ 1 บทสรุปสาหรับผู้บริหาร การสารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน ได้ จัดทาเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 และตั้งแต่ พ.ศ. 2546 เป็นต้นมา สานักงานสถิติ แห่งชาติ ได้ทาการสารวจต่อเนื่องเป็นประจาทุกปี เพื่อให้ทราบจานวนประชากรที่ใช้ คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์มือถือ ลักษณะและพฤติกรรมในการใช้อุปกรณ์ เทคโนโลยีต่างๆ รวมทั้งทราบจานวนครัวเรือนที่มีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารเช่น โทรศัพท์พื้นฐานเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องโทรสาร และการเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ตในครัวเรือน เป็นต้น การสารวจใช้วิธีสัมภาษณ์หัวหน้าครัวเรือน และสมาชิกในครัวเรือนที่มีอายุ 6 ปี ขึ้นไป จากครัวเรือนตัวอย่างทั้งสิ้น 83,880 ครัวเรือน ผลการสารวจสรุปได้ดังนี้ การใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ตและโทรศัพท์มือถือ ในจานวนประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปประมาณ 62.3 ล้านคน ผลการสารวจ พบว่า มีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 23.8 ล้านคน (ร้อยละ 38.2) ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 21.7 ล้านคน (ร้อยละ 34.9) และผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ 48.1 ล้านคน (ร้อยละ 77.2) เมื่อเปรียบเทียบระหว่างเขตการปกครองพบว่า ในเขตเทศบาลมีสัดส่วนผู้ใช้ คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 47.8 ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 44.9 และผู้ใช้ โทรศัพท์มือถือ ร้อยละ 83.9 ในขณะที่นอกเขตเทศบาลมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 30.4 ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 26.9 และผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ ร้อยละ 71.8
  • 5. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สำนักงำนสถิติแห่งชำติ 2 เมื่อพิจารณาแนวโน้มการใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และโทรศัพท์มือถือ ของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปในช่วงระยะเวลา 5 ปี ระหว่างปี 2553-2557 พบว่า ผู้ใช้คอมพิวเตอร์มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 30.9 (จานวน 19.1 ล้านคน) เป็นร้อยละ 38.2 (จานวน 23.8 ล้านคน) ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 22.4 (จานวน 13.8 ล้านคน) เป็นร้อยละ 34.9 (จานวน 21.7 ล้านคน) ผู้ใช้ โทรศัพท์มือถือเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 61.8 (จานวน 38.2 ล้านคน) เป็นร้อยละ 77.2 (จานวน 48.1 ล้านคน) (แผนภูมิ 1) 22.4 23.7 26.5 28.9 34.930.9 32.0 33.7 35.0 38.2 61.8 66.4 70.2 73.3 77.2 0 10 20 30 40 50 60 70 80 2553 2554 2555 2556 2557 อินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ ร้อยละ ปี แผนภูมิ 1 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และโทรศัพท์มือถือ พ.ศ. 2553-2557
  • 6. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สำนักงำนสถิติแห่งชำติ 3 แม้ว่าการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประชากร มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่ยังมีช่องว่างในการใช้อุปกรณ์ต่างๆ ของผู้ที่อยู่ ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล ในระหว่าง ปี 2553-2557 ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ที่อยู่ในเขตเทศบาลมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 43.4 เป็นร้อยละ 47.8 ส่วนผู้ใช้ที่อยู่นอกเขตเทศบาล เพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 25.2 เป็นร้อยละ 30.4 ในขณะที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่อยู่ในเขตเทศบาลมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 35.1 เป็นร้อยละ 44.9 ส่วนผู้ใช้ที่อยู่นอกเขตเทศบาลเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 16.5 เป็นร้อยละ 26.9 สาหรับผู้ใช้โทรศัพท์มือถือที่อยู่ในเขตเทศบาลมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 72.2 เป็นร้อยละ 83.9 ในขณะที่ผู้ใช้ที่อยู่นอกเขตเทศบาลเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 57.0 เป็น ร้อยละ 71.8 (ตาราง 1) ตาราง 1 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ตและ โทรศัพท์มือถือ จาแนกตามเขตการปกครอง พ.ศ. 2553-2557 ปี คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต โทรศัพท์มือถือ ในเขต เทศบาล นอกเขต เทศบาล ในเขต เทศบาล นอกเขต เทศบาล ในเขต เทศบาล นอกเขต เทศบาล 2553 43.4 25.2 35.1 16.5 72.2 57.0 2554 44.3 25.5 36.0 17.2 74.8 62.0 2555 45.4 27.5 37.7 20.5 77.7 66.2 2556 46.3 29.1 39.9 23.2 80.0 69.8 2557 47.8 30.4 44.9 26.9 83.9 71.8
  • 7. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สำนักงำนสถิติแห่งชำติ 4 38.2 54.6 39.2 34.1 32.5 37.334.9 54.5 37.5 30.6 26.9 32.7 77.2 89.2 81.7 74.4 70.7 73.2 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 เมื่อพิจารณาสัดส่วนของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และ โทรศัพท์มือถือเป็นรายภาค พบว่า กรุงเทพมหานครมีสัดส่วนผู้ใช้คอมพิวเตอร์ มากที่สุดคือ ร้อยละ 54.6 รองลงมาภาคกลาง ร้อยละ 39.2 ภาคใต้ ร้อยละ 37.3 ภาคเหนือ ร้อยละ 34.1 และน้อยที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 32.5 สาหรับสัดส่วนการใช้อินเทอร์เน็ตเช่นเดียวกันคือ กรุงเทพมหานครมี ผู้ใช้มากที่สุดร้อยละ 54.5 รองลงมาคือภาคกลาง ร้อยละ 37.5 ภาคใต้ ร้อยละ 32.7 ภาคเหนือ ร้อยละ 30.6 และน้อยที่สุดคือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 26.9 ในขณะที่การใช้โทรศัพท์มือถือ กรุงเทพมหานครยังมีสัดส่วนของผู้ใช้ มากที่สุดเช่นเดียวกันคือ ร้อยละ 89.2 รองลงมาคือ ภาคกลาง ร้อยละ 81.7 ภาคเหนือ ร้อยละ 74.4 ภาคใต้ ร้อยละ 73.2 และน้อยที่สุดคือภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 70.7 (แผนภูมิ 2) ร้อยละ แผนภูมิ 2 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และโทรศัพท์มือถือ จาแนกตามภาค คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์มือถือ ภาคทั่วประเทศ กทม. กลาง เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต้
  • 8. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สำนักงำนสถิติแห่งชำติ 5 0 5 10 15 20 25 30 35 40 2553 2554 2555 2556 2557 21.9 23.5 26.3 28.8 34.9 22.8 23.9 26.6 29.1 34.9 ชาย ห ิง ลักษณะและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต เมื่อเปรียบเทียบการใช้อินเทอร์เน็ตระหว่างเพศชายและเพศหญิง พบว่า สัดส่วนการใช้อินเทอร์เน็ตของเพศชายและเพศหญิงไม่แตกต่างกันมากนัก โดย ระหว่างปี 2553-2557 สัดส่วนการใช้อินเทอร์เน็ตของเพศชายเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 21.9 เป็นร้อยละ 34.9 ส่วนเพศหญิงเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 22.8 เป็นร้อยละ 34.9 (แผนภูมิ 3) เมื่อพิจารณาการใช้อินเทอร์เน็ตตามกลุ่มอายุต่าง ๆ พบว่า กลุ่มอายุ 15-24 ปี มีสัดส่วนการใช้อินเทอร์เน็ตสูงที่สุด ร้อยละ 69.7 รองลงมาคือ กลุ่ม อายุ 6-14 ปี ร้อยละ 58.2 กลุ่มอายุ 25-34 ปี ร้อยละ 48.5 กลุ่มอายุ 35-49 ปี ร้อยละ 25.9 และในกลุ่มอายุ 50 ปีขึ้นไปมีเพียง ร้อยละ 8.4 (ตาราง 2) แผนภูมิ 3 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้อินเทอร์เน็ต จาแนกตามเพศ พ.ศ. 2553 - 2557 ร้อยละ ปี
  • 9. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สำนักงำนสถิติแห่งชำติ 6 ตาราง 2 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้อินเทอร์เน็ต จาแนกตามกลุ่มอายุ พ.ศ. 2553-2557 ปี กลุ่มอายุ (ปี) 6-14 15-24 25-34 35-49 50ปีขึ้นไป 2553 35.9 50.0 24.6 13.6 4.2 2554 38.3 51.9 26.6 14.3 5.5 2555 46.5 54.8 29.7 17.1 6.2 2556 54.1 58.4 33.5 18.7 6.6 2557 58.2 69.7 48.5 25.9 8.4 สาหรับสถานที่ใช้อินเทอร์เน็ต พบว่า ส่วนใหญ่ใช้ที่บ้าน/ที่พักอาศัย ร้อยละ 63.9 รองลงมาคือ ใช้ตามสถานที่ต่างๆ ผ่านโทรศัพท์มือถือ ร้อยละ 53.4 ใช้ในสถานศึกษา ร้อยละ 39.6 และใช้ที่ทางาน ร้อยละ 32.3 ส่วนกิจกรรมที่ใช้ส่วนใหญ่ใช้ในการดาวน์โหลด ดูหนัง ฟังเพลง ฟังวิทยุ ร้อยละ 79.1 รองลงมาคือ เล่นเกม/ดาวน์โหลดเกม ร้อยละ 75.0 ใช้ Social Network (Facebook, Twitter, GooglePlus, Line, Instagram) ร้อยละ 73.9 และติดตามข่าวสาร/อ่านหรือดาวน์โหลด นสพ. นิตยสาร (e-book) ร้อยละ 51.1 ในขณะที่ความถี่ในการใช้อินเทอร์เน็ตพบว่า ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเป็นประจา (5-7 วันใน 1 สัปดาห์) ร้อยละ 59.6 รองลงมาใช้ค่อนข้างบ่อย (1-4 วันใน 1 สัปดาห์) ร้อยละ 37.4
  • 10. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สำนักงำนสถิติแห่งชำติ 7 การมีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน เมื่อพิจารณาสัดส่วนการมีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในครัวเรือนในระหว่างปี 2553-2557 พบว่าครัวเรือนที่มีโทรศัพท์พื้นฐานมี แนวโน้มลดลงจากร้อยละ 20.9 เป็นร้อยละ 14.4 ครัวเรือนที่มีเครื่องโทรสาร เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากร้อยละ 1.7 เป็นร้อยละ 2.2 ครัวเรือนที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 22.8 เป็นร้อยละ 33.9 สาหรับครัวเรือนที่มีการเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ตมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 11.4 เป็นร้อยละ 34.7 (ตาราง 3) ตาราง 3 ร้อยละครัวเรือนที่มีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พ.ศ.2553-2557 ปี จานวน ครัวเรือน ทั้งสิ้น (พันครัวเรือน) ร้อยละของครัวเรือน ที่มีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โทรศัพท์ พื้นฐาน โทรสาร คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต 2553 19,644.9 20.9 1.7 22.8 11.4 2554 19,786.4 18.6 1.6 24.7 13.4 2555 20,025.4 15.6 1.7 26.9 18.4 2556 20,121.4 14.0 1.7 28.7 23.5 2557 20,564.7 14.4 2.2 33.9 34.7
  • 11. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สำนักงำนสถิติแห่งชำติ 8 สาหรับครัวเรือนที่มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต พบว่า มีการเชื่อม ต่ออินเทอร์เน็ตด้วยประเภท Fixed broadband มากที่สุด ร้อยละ 45.0 รองลงมาแบบไร้สายเคลื่อนที่โทรศัพท์มือถือ 3G ขึ้นไป (เช่น WCDMA, EV-DO) มีร้อยละ 40.3 Narrowband แบบไร้สายเคลื่อนที่โทรศัพท์มือถือ (2G, 2.5G เช่น GSM, CDMA, GPRS) ร้อยละ 8.9 และแบบ Analogue modem, ISDN มีเพียง ร้อยละ 3.4 (ตาราง 4) ตาราง 4 ร้อยละของครัวเรือนที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต จาแนกตามประเภทของ อินเทอร์เน็ต และภาค ภาค จานวน ครัวเรือนที่ เชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ต (พันครัวเรือน) ประเภทของอินเทอร์เน็ต Narrowband Broadband ไม่แน่ใจ Analogue modem, ISDN แบบไร้สายเคลื่อนที่ โทรศัพท์มือถือ 2G, 2.5G (เช่น GSM, CDMA, GPRS) Fixed broadband1/ แบบไร้สาย เคลื่อนที่ โทรศัพท์มือถือ 3G (เช่นWCDMA, EV-DO) ทั่วราชอาณาจักร 7,126.4 3.4 8.9 45.0 40.3 2.4 กรุงเทพมหานคร 1,502.9 3.0 3.4 56.0 35.6 2.0 กลาง 2,458.2 3.4 8.5 42.7 42.7 2.7 เหนือ 1,064.8 2.6 9.3 49.4 37.9 0.8 ตะวันออกเฉียงเหนือ 1,253.1 4.1 13.0 37.0 43.4 2.6 ใต้ 847.5 3.6 13.4 38.8 40.1 4.1 หมายเหตุ : 1/ Fixed broadband ได้แก่ DSL (SDSL, ADSL, VDSL), Cable modem, Leased line, ดาวเทียม, เคเบิล ใยแก้วนาแสง, Fixed wireless, WiMAX.)
  • 12. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สานักงานสถิติแห่งชาติ9 ตัวชี้วัดที่สาคัญ รายการ ปี ภาค ทั่วราช - อาณาจักร กรุงเทพ มหานคร กลาง เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต้ 1. ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป ที่ใช้คอมพิวเตอร์ 2556 2557 35.0 38.2 53.3 54.6 36.4 39.2 32.0 34.1 30.3 32.5 34.8 37.3 2. ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป ที่ใช้อินเทอร์เน็ต 2556 2557 28.9 34.9 48.8 54.5 29.8 37.5 27.2 30.6 23.2 26.9 29.1 32.7 3. ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป ที่ใช้โทรศัพท์มือถือ 2556 2557 73.3 77.2 85.0 89.2 77.4 81.7 72.5 74.4 68.6 70.7 70.5 73.2 4. จานวนเครื่องโทรศัพท์ พื้นฐาน ต่อ 100 ครัวเรือน 2556 2557 14.2 15.4 48.8 41.4 16.7 17.7 10.6 10.8 4.9 5.7 12.5 11.9 5. จานวนเครื่องโทรสารต่อ 100 ครัวเรือน 2556 2557 1.7 2.3 6.4 6.3 1.9 2.8 0.9 1.1 0.7 0.9 1.9 1.9 6. จานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อ 100 ครัวเรือน 2556 2557 45.5 58.4 107.5 115.0 48.1 58.5 39.4 49.2 30.0 41.6 41.9 51.7 7. ร้อยละของครัวเรือนที่มี เครื่องคอมพิวเตอร์ 2556 2557 28.7 33.9 55.9 57.2 30.4 34.2 27.3 31.2 20.1 25.9 28.5 31.6 8. ร้อยละของครัวเรือนที่ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต 2556 2557 23.5 34.7 53.7 59.4 27.9 40.2 19.8 28.2 13.4 22.9 23.4 31.7
  • 13. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สานักงานสถิติแห่งชาติ10 สรุปประเด็นเด่น 1. ประชากรในกรุงเทพมหานครใช้คอมพิวเตอร์ (ร้อยละ 54.6) ใช้อินเทอร์เน็ต (ร้อยละ 54.5) และใช้โทรศัพท์มือถือ (ร้อยละ 89.2) ซึ่งสูงกว่าภาคอื่น 2. ประชากรกลุ่มอายุ 11-14 ปี (ร้อยละ 95.8) ใช้คอมพิวเตอร์มากที่สุด 3. ประชากรกลุ่มอายุ 11-14 ปี (ร้อยละ 82.1) ใช้อินเทอร์เน็ตมากที่สุด 4. ประชากรส่วนใหญ่ใช้อินเทอร์เน็ตที่บ้าน (ร้อยละ 63.9) สถานที่ต่างๆ ผ่าน โทรศัพท์มือถือ (ร้อยละ 53.4) และสถานศึกษา (ร้อยละ 39.6) 5. ประชากรส่วนใหญ่ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อกิจกรรมในการ ดาวน์โหลด ดูหนัง ฟังเพลง ฟังวิทยุ (ร้อยละ 79.1) เล่นเกม/ดาวน์โหลดเกม (ร้อยละ 75.0) และใช้ Social Network (Facebook, Twitter, Hi5,GooglePlus,Line,Instagram)(ร้อยละ73.9) 6. ประชากรส่วนใหญ่ใช้โทรศัพท์มือถือในบริการ SMS (ร้อยละ 63.9) ใช้ฟังก์ชันบน โทรศัพท์มือถือ (ร้อยละ 56.2) และ ใช้บริการ data (Internet เช่น mms, e-mail, social media เป็นต้น) (ร้อยละ 22.6) 7. ประชากรส่วนใหญ่ไม่เคยจองหรือซื้อสินค้าและบริการทางอินเทอร์เน็ต (ร้อยละ 93.6) เหตุผลคือกลัวถูกหลอกลวง (ร้อยละ 36.7) ไม่เห็นสินค้าจริง (ร้อยละ 36.2) และขั้นตอนการสั่งซื้อยุ่งยาก (ร้อยละ 15.1) 8. ประชากรที่เคยจองสินค้าและบริการทางอินเทอร์เน็ต ซึ่งมีเพียง (ร้อยละ 6.4) ในจานวนนี้ส่วนใหญ่ซื้อเครื่องแต่งกายและเครื่องประดับ (ร้อยละ 52.2) ใช้บริการ e-Ticket (ร้อยละ 16.6) และซื้ออาหาร เครื่องดื่ม สินค้าด้าน สุขภาพ (ร้อยละ 16.1) 9. ครัวเรือนที่มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตส่วนใหญ่ใช้อินเทอร์เน็ต ประเภท Fixed broadband (ร้อยละ 45.0) และแบบไร้สายเคลื่อนที่ (เทคโนโลยี 3G ขึ้นไป WCDMA, EV-DO) (ร้อยละ 40.3)
  • 14. สรุปผลทีสําคัญ สํารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สํานักงานสถิติแห่งชาติ11 สารบัญ หน้า คํานํา บทสรุปสําหรับผู้บริหาร 1 ตัวชี้วัดที่สําคัญ 9 สรุปประเด็นเด่น 10 สารบัญแผนภูมิ 12 สารบัญตาราง 13 บทนํา 15 สรุปผลการสํารวจ 17 1. การใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต 17 1) จํานวนผู้ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต 17 2) เพศและอายุของผู้ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต 19 3) ระดับการศึกษาของผู้ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต 20 4) อาชีพของผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต 21 5) สถานที่ กิจกรรมและความถี่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต 22 6) ลักษณะและพฤติกรรมของผู้ที่เคยจองหรือซื้อสินค้าและบริการทางอินเทอร์เน็ต 23 2. จํานวนผู้มีโทรศัพท์มือถือ 27 3. การมีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน 29 1) ครัวเรือนที่มีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 29 2) จํานวนอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน 31 3) ประเภทของอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในครัวเรือน 32 4) ค่าใช้จ่ายในการใช้อินเทอร์เน็ตของครัวเรือน 33 4. ข้อคิดเห็นต่อการควบคุมดูแลเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 34 ภาคผนวก 35 คํานิยามที่สําคัญ 37 เปรียบเทียบจํานวนผู้ใช้และจํานวนอุปกรณ์เทคโนโลยีฯ พ.ศ. 2553-2557 41 ตารางสถิติที่สําคัญ 47
  • 15. สรุปผลทีสําคัญ สํารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สํานักงานสถิติแห่งชาติ12 สารบัญแผนภูมิ หน้า แผนภูมิ 1 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปี ขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต จําแนกตามเขตการปกครอง 17 แผนภูมิ 2 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต จําแนกตามภาค 18 แผนภูมิ 3 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต จําแนกตามกลุ่มอายุ 19 แผนภูมิ 4 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต จําแนกตามระดับการศึกษา 20 แผนภูมิ 5 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้อินเทอร์เน็ต จําแนกตาม สถานที่ใช้ 22 แผนภูมิ 6 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่เคยจองหรือซื้อสินค้าและ บริการทางอินเทอร์เน็ต จําแนกตามกลุ่มอายุ 23 แผนภูมิ 7 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป ที่เคยจองหรือซื้อสินค้าและ บริการทางอินเทอร์เน็ต จําแนกตามประเภทสินค้าและบริการ 24 แผนภูมิ 8 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป ที่เคยจองหรือซื้อสินค้าและ บริการทางอินเทอร์เน็ต จําแนกตามค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ 25 แผนภูมิ 9 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป ที่ไม่เคยจองหรือซื้อสินค้าและ บริการทางอินเทอร์เน็ต จําแนกตามเหตุผล 26 แผนภูมิ 10 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่มีโทรศัพท์มือถือ จําแนกตามภาค 27 แผนภูมิ 11 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป ที่ใช้โทรศัพท์มือถือ จําแนกตามกิจกรรมที่ใช้ 28 แผนภูมิ 12 ร้อยละของครัวเรือนที่มีเครื่องโทรศัพท์พื้นฐาน/เครื่องโทรสาร จําแนกตามภาค 29 แผนภูมิ 13 ร้อยละของครัวเรือนที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์และครัวเรือนที่มีการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต จําแนกตามภาค 30 แผนภูมิ 14 ร้อยละของครัวเรือนที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต จําแนกตามค่าใช้จ่าย ในการใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยต่อเดือน 33
  • 16. สรุปผลทีสําคัญ สํารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สํานักงานสถิติแห่งชาติ13 แผนภูมิ 15 ร้อยละของครัวเรือน จําแนกตามเรื่องที่ต้องการให้ภาครัฐเข้ามาควบคุม ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 34 สารบัญตาราง หน้า ตาราง 1 จํานวนและร้อยละของผู้มีงานทําอายุ 15 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์/ อินเทอร์เน็ต จําแนกตามอาชีพ 21 ตาราง 2 จํานวนของอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ต่อ100ครัวเรือน จําแนกตามภาค 31 ตาราง 3 ร้อยละของครัวเรือนที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต จําแนกตามประเภท ของอินเทอร์เน็ต และภาค 32
  • 17. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สานักงานสถิติแห่งชาติ 15 บทนา 1. ความเป็นมา สานักงานสถิติแห่งชาติ ได้ดาเนินการสารวจการมีการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือนครั้งแรก พ.ศ. 2544 และตั้งแต่ พ.ศ. 2546 เป็นต้นมา ได้ทาการสารวจต่อเนื่องเป็นประจาทุกปี โดยผนวกแบบสอบถามกับ โครงการสารวจภาวะการทางานของประชากร แต่เนื่องจากมีความต้องการใช้ ข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมากขึ้น จึงได้เพิ่มรายละเอียดของ ข้อถามตามความต้องการของผู้ใช้และได้แยกแบบสอบถามออกจากการสารวจ ภาวะการทางานของประชากร ตั้งแต่ปี 2548 เป็นต้นมา สาหรับการสารวจครั้งนี้ ได้ดาเนินการสารวจในไตรมาส 1 (มกราคม - มีนาคม) พ.ศ. 2557 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อทราบจานวนประชากรที่ใช้คอมพิวเตอร์ ใช้อินเทอร์เน็ต และใช้ โทรศัพท์มือถือ 2.2 เพื่อทราบจานวนครัวเรือนที่มีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารในประเภทต่างๆ คือ เครื่องโทรศัพท์พื้นฐาน เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องโทรสาร และการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตในครัวเรือน 2.3 เพื่อทราบรายละเอียดของการใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และ โทรศัพท์มือถือของประชากร เช่น สถานที่ใช้ กิจกรรมในการใช้ ความถี่ในการใช้ งบประมาณที่ต้องการซื้อ เป็นต้น
  • 18. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สานักงานสถิติแห่งชาติ 16 3. ประโยชน์ที่ได้รับจากการสารวจ 3.1 ทาให้ทราบถึงความก้าวหน้าในการใช้เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และโทรศัพท์มือถือของประชากร 3.2 สามารถนาไปเป็นดัชนีชี้วัดถึงความก้าวหน้า ทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารของประเทศ 3.3 ข้อมูลที่ได้สามารถนาไปใช้ในการกาหนดนโยบาย วางแผนพัฒนา ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทั้งในส่วนของการพัฒนาบุคลากร ตลอดจนสามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการกระจายความรู้ ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้กับประชาชนอย่างทั่วถึง 4. ขอบข่ายและคุ้มรวม คุ้มรวมของการสารวจ คือ ครัวเรือนส่วนบุคคลและครัวเรือนกลุ่มบุคคล ที่ตกเป็นตัวอย่างทั้งสิ้น 83,880 ครัวเรือน สาหรับวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้การสัมภาษณ์หัวหน้าครัวเรือนและสมาชิกในครัวเรือนที่มีอายุ 6 ปีขึ้นไป โดยเจ้าหน้าที่ของสานักงานสถิติแห่งชาติ
  • 19. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สานักงานสถิติแห่งชาติ 17 0 10 20 30 40 50 60 38.2 47.8 30.4 34.9 44.9 26.9 สรุปผลการสารวจ 1. การใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต 1) จานวนผู้ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต ผลการสารวจในปี 2557 มีจานวนประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป ทั้งสิ้น ประมาณ 62.3 ล้านคน ในจานวนนี้มีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 23.8 ล้านคน (ร้อยละ 38.2) และมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 21.7 ล้านคน (ร้อยละ 34.9) โดยในเขตเทศบาลมีผู้ใช้ คอมพิวเตอร์ 13.3 ล้านคน (ร้อยละ 47.8) และมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 12.5 ล้านคน (ร้อยละ 44.9) ในขณะที่นอกเขตเทศบาลมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 10.5 ล้านคน (ร้อยละ 30.4) และผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 9.3 ล้านคน (ร้อยละ 26.9) (แผนภูมิ 1) ร้อยละ แผนภูมิ 1 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต จาแนกตามเขตการปกครอง เขตการปกครองทั่วประเทศ ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต
  • 20. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สานักงานสถิติแห่งชาติ 18 0 10 20 30 40 50 60 38.2 54.6 39.2 34.1 32.5 37.3 34.9 54.5 37.5 30.6 26.9 32.7 เมื่อพิจารณาเป็นรายภาคกรุงเทพมหานครมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 4.4 ล้านคน (ร้อยละ 54.6) และใช้อินเทอร์เน็ต 4.4 ล้านคน (ร้อยละ 54.5) ภาคกลางมีผู้ใช้ คอมพิวเตอร์ 7.0ล้านคน (ร้อยละ39.2)และใช้อินเทอร์เน็ต6.7ล้านคน(ร้อยละ 37.5) ภาคใต้มีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 3.1 ล้านคน (ร้อยละ37.3)และใช้อินเทอร์เน็ต 2.7ล้านคน (ร้อยละ 32.7) ภาคเหนือมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 3.7 ล้านคน (ร้อยละ 34.1) และใช้ อินเทอร์เน็ต 3.3 ล้านคน (ร้อยละ 30.6) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 5.7 ล้านคน (ร้อยละ 32.5) และใช้อินเทอร์เน็ต 4.7 ล้านคน (ร้อยละ 26.9) (แผนภูมิ 2) ร้อยละ แผนภูมิ 2 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต จาแนกตามภาค ภาคทั่วประเทศ กทม. กลาง เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต้ คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต
  • 21. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สานักงานสถิติแห่งชาติ 19 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 84.9 67.1 46.4 27.4 9.6 58.2 69.7 48.5 25.9 8.4 2) เพศและอายุของผู้ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต การใช้คอมพิวเตอร์หรืออินเทอร์เน็ตของเพศชายมีสัดส่วนใกล้เคียงกับ เพศหญิง คือ เพศชายใช้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 49.0 และใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 48.7 ส่วนเพศหญิงใช้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 51.0 และใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 51.3 ประชากรกลุ่มอายุ 6-14 ปี มีสัดส่วนการใช้คอมพิวเตอร์สูงที่สุดคือ ร้อยละ 84.9 รองลงมาคือ ประชากรกลุ่มอายุ 15-24 ปี ร้อยละ 67.1 และกลุ่ม อายุ 25-34 ปีร้อยละ 46.4 ส่วนการใช้อินเทอร์เน็ตมีการใช้สูงที่สุดในกลุ่มอายุ 15-24 ปี ร้อยละ 69.7 รองลงมาคือกลุ่มอายุ 6-14 ปี ร้อยละ 58.2 และกลุ่มอายุ 25-34 ปี ร้อยละ 48.5 (แผนภูมิ 3) ร้อยละ แผนภูมิ 3 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต จาแนกตามกลุ่มอายุ คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต กลุ่มอายุ (ปี)50+6-14 25-34 35-4915-24
  • 22. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สานักงานสถิติแห่งชาติ 20 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 23.8 41.7 49.9 63.8 86.8 21.117.2 42.7 51.6 64.8 86.9 23.2 3) ระดับการศึกษาของผู้ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต ผู้มีการศึกษาในระดับอุดมศึกษามีสัดส่วนการใช้คอมพิวเตอร์สูงที่สุด คือร้อยละ 86.8 และใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 86.9 รองลงมาคือ ระดับ อาชีวศึกษา/อนุปริญญาใช้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 63.8 และใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 64.8 ส่วนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายใช้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 49.9 และใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 51.6 (แผนภูมิ 4) ร้อยละ แผนภูมิ 4 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต จาแนกตามระดับการศึกษา คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต ระดับ การศึกษา ตั้งแต่ประถม ศึกษาลงมา มัธยมศึกษา ตอนต้น อุดมศึกษาอาชีวศึกษา อนุปริญญา มัธยมศึกษา ตอนปลาย อื่นๆ
  • 23. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สานักงานสถิติแห่งชาติ 21 4) อาชีพของผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต เมื่อสอบถามผู้มีงานทาอายุ 15 ปีขึ้น ในแต่ละอาชีพถึงการใช้ คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ตในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา พบว่า ผู้ทางานด้านประกอบ วิชาชีพด้านต่าง ๆ มีสัดส่วนการใช้คอมพิวเตอร์สูงที่สุดคือ ร้อยละ 94.7 และใช้ อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 93.0 รองลงมาคืออาชีพเสมียนใช้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 84.7 และใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 83.2 งานด้านวิชาชีพช่างเทคนิคสาขาต่างๆ และอาชีพ ที่เกี่ยวข้องใช้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 82.9 และใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 82.5 (ตาราง 1) ตาราง 1 จานวนและร้อยละของผู้มีงานทาอายุ 15 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์/ อินเทอร์เน็ต จาแนกตามอาชีพ อาชีพ จานวนผู้มีงานทา (พันคน) ร้อยละผู้มีงานทา ใช้คอมพิวเตอร์ ใช้อินเทอร์เน็ต รวม 39,339,705 29.0 29.1 ผู้บัญญัติกฎหมาย ข้าราชการอาวุโสและ ผู้จัดการ 1,486,893 67.6 66.0 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่างๆ 2,147,416 94.7 93.0 วิชาชีพช่างเทคนิคสาขาต่างๆ และอาชีพที่ ….เกี่ยวข้อง 1,650,331 82.9 82.5 เสมียน 1,591,827 84.7 83.2 พนักงานบริการ และพนักงานร้านค้าในตลาด 7,291,128 32.7 34.1 ผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตร และการประมง 13,059,560 7.1 6.0 ผู้ปฏิบัติด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจ ….การค้าที่เกี่ยวข้อง 4,247,522 23.5 24.0 ผู้ปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักรและ ….ผู้ปฏิบัติงานด้านประกอบ 3,687,245 23.0 26.6 อาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการ ….ให้บริการ และอื่น ๆ 4,125,725 11.2 11.3 คนงานซึ่งไม่ได้จาแนกไว้ในหมวดอื่น 52,058 82.0 82.6
  • 24. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สานักงานสถิติแห่งชาติ 22 0 10 20 30 40 50 60 70 63.9 53.4 39.6 32.3 21.2 20.2 19.2 6.0 5.1 5) สถานที่ กิจกรรมและความถี่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต ผู้ที่ใช้อินเทอร์เน็ตส่วนใหญ่ใช้ที่บ้าน/ที่พักอาศัย ร้อยละ 63.9 รองลงมาใช้ตามสถานที่ต่างๆ ผ่านโทรศัพท์มือถือ ร้อยละ 53.4 ใช้ที่สถานศึกษา ร้อยละ 39.6 และใช้ที่ทางาน ร้อยละ 32.3 (แผนภูมิ 5) โดยกิจกรรมที่ใช้อินเทอร์เน็ตส่วนใหญ่ใช้ในการดาวน์โหลด ดูหนัง ฟังเพลง ฟังวิทยุ ร้อยละ 79.1 รองลงมาเล่นเกม/ ดาวน์โหลดเกม ร้อยละ 75.0 และใช้ Social Network (Facebook, Twitter, GooglePlus, Line, Instagram เป็นต้น) ร้อยละ 73.9 สาหรับความถี่ในการใช้อินเทอร์เน็ต พบว่า ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเป็นประจา (5-7 วันใน 1 สัปดาห์) ร้อยละ 59.6 รองลงมาใช้ค่อนข้างบ่อย (1-4 วันใน 1 สัปดาห์) ร้อยละ 37.4 สถานที่ใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ แผนภูมิ 5 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้อินเทอร์เน็ต จาแนกตาม สถานที่ใช้ สถานที่ให้บริการต่างๆ บ้าน/ที่พักอาศัย สถานที่ต่างๆผ่านโทรศัพท์มือถือ สถานศึกษา ที่ทางาน สถานที่ต่างๆผ่านคอมพิวเตอร์พกพา บ้านเพื่อน/คนรู้จัก/ญาติ ร้านอินเทอร์เน็ต ศูนย์บริการสารสนเทศเพื่อประชาชน1/ หมายเหตุ: 1/ ห้องสมุด/ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
  • 25. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สานักงานสถิติแห่งชาติ 23 0 5 10 15 20 25 30 35 40 1.6 26.5 35.1 28.4 8.4 6) ลักษณะและพฤติกรรมของผู้ที่เคยจองหรือซื้อสินค้าและบริการ ทางอินเทอร์เน็ต เพศและกลุ่มอายุ ในจานวนผู้ที่ใช้อินเทอร์เน็ต 21.7 ล้านคน พบว่า ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่ไม่เคย จองหรือซื้อสินค้าและบริการทางอินเทอร์เน็ตสูงถึง ร้อยละ 93.6 ส่วนผู้ที่เคยจอง หรือซื้อสินค้าและบริการทางอินเทอร์เน็ตมีเพียง ร้อยละ 6.4 โดยเป็นหญิง ร้อยละ 60.2 และชาย ร้อยละ 39.8 เมื่อพิจารณาตามกลุ่มอายุ พบว่า ผู้ที่เคยจองหรือซื้อสินค้าและบริการ ทางอินเทอร์เน็ต ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มอายุ 25-34 ปี ร้อยละ 35.1 รองลงมา เป็นกลุ่มอายุ 35-49 ปี ร้อยละ 28.4 และกลุ่มอายุ 15-24 ปี ร้อยละ 26.5 (แผนภูมิ 6) ร้อยละ แผนภูมิ 6 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่เคยจองหรือซื้อสินค้าและบริการ ทางอินเทอร์เน็ต จาแนกตามกลุ่มอายุ กลุ่มอายุ (ปี)50+6-14 25-34 35-4915-24
  • 26. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สานักงานสถิติแห่งชาติ 24 ประเภทสินค้าและบริการที่เคยจองหรือซื้อทางอินเทอร์เน็ต ผู้ที่เคยจองหรือซื้อสินค้าและบริการทางอินเทอร์เน็ต ระบุว่า เคยจอง หรือซื้อสินค้าและบริการประเภทเครื่องแต่งกาย/เครื่องประดับ มากที่สุด ร้อยละ 52.2 รองลงมา e -Ticket ร้อยละ 16.6 อาหารเครื่องดื่ม สินค้าสุขภาพ ร้อยละ 16.1 เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ร้อยละ 8.6 และหนังสือ นิตยสาร หนังสือพิมพ์ ร้อยละ 6.6 (แผนภูมิ 7) 0 10 20 30 40 50 60 52.2 16.6 16.1 8.6 6.6 6.3 5.4 4.0 3.7 3.3 3.1 1.3 1.3 1.0 ประเภทสินค้าและบริการ แผนภูมิ 7 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่เคยจองหรือซื้อสินค้าและ บริการทางอินเทอร์เน็ต จาแนกตามประเภทสินค้าและบริการ เครื่องเขียน เครื่องกีฬา หมายเหตุ: ตอบได้ไม่เกิน 2 คาตอบ ร้อยละ หนังสือ นิตยสาร หนังสือพิมพ์ เพลง ภาพยนตร์ สินค้าบันเทิงอื่นๆ อุปกรณ์โทรศัพท์มือถือ เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ e-Ticket อาหาร เครื่องดื่ม สินค้าสุขภาพ เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ สั่งจองบริการต่างๆ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ของเล่น ของขวัญ ของใช้ในบ้าน สานักงาน ซอฟแวร์ต่างๆ เกม
  • 27. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สานักงานสถิติแห่งชาติ 25 7.4 15.3 36.2 19.4 5.6 8.1 8.0 0 5 10 15 20 25 30 35 40 ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการทางอินเทอร์เน็ต ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการทางอินเทอร์เน็ตของผู้ที่เคยจอง หรือซื้อทางอินเทอร์เน็ตในรอบปีที่ผ่านมามีค่าใช้จ่ายไม่สูงมากนัก ส่วนใหญ่มี ค่าใช้จ่ายอยู่ระหว่าง 1,000-2,999 บาท ร้อยละ 36.2 รองลงมาค่าใช้จ่าย 3,000-5,999 บาท ร้อยละ 19.4 ค่าใช้จ่าย 500-999 บาท ร้อยละ 15.3 และ ค่าใช้จ่าย 10,000-19,999 บาทขึ้นไป ร้อยละ 8.1 (แผนภูมิ 8) ร้อยละ ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ แผนภูมิ 8 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่เคยจองหรือซื้อสินค้าและบริการ ทางอินเทอร์เน็ต จาแนกตามค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ ต่ากว่า 500 บาท 500-999 บาท 1,000-2,999 บาท 3,000-5,999 บาท 6,000-9,999 บาท 10,000-19,999 บาท 20,000 บาทขึ้นไป
  • 28. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สานักงานสถิติแห่งชาติ 26 36.7 36.2 15.1 3.7 2.6 1.6 1.0 0.5 2.6 0 5 10 15 20 25 30 35 40 เหตุผลของผู้ที่ไม่เคยจองหรือซื้อสินค้าและบริการทางอินเทอร์เน็ต สาหรับผู้ที่ไม่เคยจองหรือซื้อสินค้าและบริการทางอินเทอร์เน็ต ได้ระบุเหตุผล ดังนี้คือ กลัวถูกหลอกลวง ร้อยละ 36.7 ไม่เห็นสินค้าจริง ร้อยละ 36.2 ขั้นตอนการสั่งซื้อยุ่งยาก ร้อยละ 15.1 ความปลอดภัยของข้อมูลส่วนตัว และบัตรเครดิต ร้อยละ 3.7 ราคาแพงกว่าหน้าร้าน ร้อยละ 2.6 ต้องรอสินค้า ร้อยละ 1.6 ไม่แน่ใจเว็บไซต์จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย ร้อยละ 1.0 กลัวสินค้าสูญหายระหว่างส่ง ร้อยละ 0.5 และอื่นๆ ร้อยละ 2.6 (แผนภูมิ 9) เหตุผลที่ไม่เคยจองหรือซื้อสินค้าฯ ร้อยละ แผนภูมิ 9 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ไม่เคยจองหรือซื้อสินค้าและ บริการทางอินเทอร์เน็ต จาแนกตามเหตุผล ไม่เห็นสินค้าจริง ราคาแพงกว่าหน้าร้าน กลัวถูกหลอกลวง ความปลอดภัยของข้อมูลฯ ขั้นตอนการสั่งซื้อยุ่งยาก ต้องรอสินค้า ไม่แน่ใจ website กลัวสินค้าสูญหาย อื่นๆ
  • 29. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สานักงานสถิติแห่งชาติ 27 0 20 40 60 80 100 77.2 89.2 81.7 74.4 70.7 73.2 2. จานวนผู้มีโทรศัพท์มือถือ จากการสารวจประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปทั้งสิ้นจานวน 62.3 ล้านคน พบว่า มีโทรศัพท์มือถือจานวน 48.1 ล้านคน (ร้อยละ 77.2) โดยในเขตเทศบาล ผู้มีโทรศัพท์มือถือจานวน 23.3 ล้านคน (ร้อยละ 83.9) มีสัดส่วนสูงกว่าผู้ที่อยู่นอก เขตเทศบาล ซึ่งมีจานวน 24.8 ล้านคน (ร้อยละ 71.8) เมื่อพิจารณารายภาค พบว่า กรุงเทพมหานคร มีสัดส่วนผู้มีโทรศัพท์มือถือ มากที่สุดคือ 7.1 ล้านคน (ร้อยละ 89.2) รองลงมาภาคกลาง 14.5 ล้านคน (ร้อยละ 81.7) ภาคเหนือ 8.0 ล้านคน (ร้อยละ 74.4) ภาคใต้ 6.1 ล้านคน (ร้อยละ 73.2) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 12.3 ล้านคน (ร้อยละ 70.7) (แผนภูมิ 10) ร้อยละ แผนภูมิ 10 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่มีโทรศัพท์มือถือ จาแนกตามภาค ภาคทั่วประเทศ กทม. กลาง เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต้
  • 30. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สานักงานสถิติแห่งชาติ 28 กิจกรรมของผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ กิจกรรมในการใช้โทรศัพท์มือถืออื่น ๆ นอกเหนือจากการใช้โทรออก และรับสายเข้าเป็นหลักแล้ว ส่วนใหญ่ใช้บริการ SMS ร้อยละ 63.9 รองลงมาใช้ ฟังก์ชั่นบนโทรศัพท์มือถือ ร้อยละ 56.2 ใช้บริการ data (Internet เช่น MMS, e-mail, Social media เป็นต้น) ร้อยละ 22.6 และใช้บริการ Mobile Banking ร้อยละ 2.5 (แผนภูมิ 11) 0 20 40 60 80 2.5 22.6 56.2 63.9 แผนภูมิ 11 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้โทรศัพท์มือถือ จาแนกตามกิจกรรมที่ใช้ ร้อยละ กิจกรรมที่ใช้ฯ Data (Internet เช่น MMS, e-mail, Social media เป็นต้น) SMS การใช้ฟังก์ชั่นบนโทรศัพท์มือถือ Mobile Banking
  • 31. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สานักงานสถิติแห่งชาติ 29 3. การมีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน 1) ครัวเรือนที่มีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เมื่อสอบถามเกี่ยวกับอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มี ในครัวเรือน ได้แก่ เครื่องโทรศัพท์พื้นฐาน และเครื่องโทรสาร พบว่า จานวน ครัวเรือนทั้งสิ้น 20.6 ล้านครัวเรือน มีครัวเรือนที่มีเครื่องโทรศัพท์พื้นฐาน 3.0 ล้านครัวเรือน (ร้อยละ 14.4) มีเครื่องโทรสาร 0.4 ล้านครัวเรือน (ร้อยละ 2.2) เมื่อพิจารณาเป็นรายภาค กรุงเทพมหานครมีครัวเรือนที่มีเครื่องโทรศัพท์พื้นฐาน สูงที่สุดถึง ร้อยละ 40.1 และเครื่องโทรสาร ร้อยละ 5.9 ส่วนภาคอื่นๆ ก็มี อุปกรณ์ดังกล่าวไม่มากนัก (แผนภูมิ 12) 0 10 20 30 40 50 14.4 40.1 16.5 9.7 5.3 10.4 2.2 5.9 2.6 1.1 0.9 1.7 ร้อยละ แผนภูมิ 12 ร้อยละของครัวเรือนที่มีเครื่องโทรศัพท์พื้นฐาน/เครื่องโทรสาร จาแนกตามภาค ภาคทั่วประเทศ กทม. กลาง เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต้ โทรศัพท์พื้นฐาน โทรสาร
  • 32. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สานักงานสถิติแห่งชาติ 30 สาหรับครัวเรือนที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์และการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต พบว่า สัดส่วนครัวเรือนที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ ร้อยละ 33.9 และมีการเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 34.7 เมื่อพิจารณาตามภาคกรุงเทพมหานครมีครัวเรือนที่มี เครื่องคอมพิวเตอร์มากที่สุดคือ ร้อยละ 57.2 และมีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ร้อยละ 59.4 รองลงมาคือ ภาคกลาง มีเครื่องคอมพิวเตอร์ ร้อยละ 34.2 และมี การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ร้อยละ 40.2 ในขณะที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมี สัดส่วนน้อยที่สุด คือมีเครื่องคอมพิวเตอร์ ร้อยละ 25.9 และมีการเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 22.9 (แผนภูมิ 13) 0 10 20 30 40 50 60 70 33.9 57.2 34.2 31.2 25.9 31.6 34.7 59.4 40.2 28.2 22.9 31.7 ร้อยละ แผนภูมิ 13 ร้อยละของครัวเรือนที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์และครัวเรือนที่มีการเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ต จาแนกตามภาค ภาคทั่วประเทศ กทม. กลาง เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต้ เครื่องคอมพิวเตอร์ การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
  • 33. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สานักงานสถิติแห่งชาติ 31 2) จานวนอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน สาหรับจานวนอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มี ในครัวเรือน พบว่า ทั่วประเทศมีจานวนเครื่องโทรศัพท์พื้นฐาน 3.2 ล้านเครื่อง (15.4 เครื่องต่อ 100 ครัวเรือน) จานวนเครื่องโทรสาร 0.5 ล้านเครื่อง (2.3 เครื่องต่อ 100 ครัวเรือน) และจานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ 12.0 ล้านเครื่อง (58.4 เครื่องต่อ 100 ครัวเรือน) (ตาราง 2) ตาราง 2 จานวนของอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารต่อ 100 ครัวเรือน จาแนกตามภาค หมายเหตุ : 1/ รวมคอมพิวเตอร์ (PC) Notebook, PDA และ Tablet ภาค จานวน ครัวเรือน (พันครัวเรือน) จานวนอุปกรณ์เทคโนโลยีฯ (พันเครื่อง) จานวนอุปกรณ์เทคโนโลยีฯ ต่อ 100 ครัวเรือน โทร ศัพท์ โทร สาร คอม พิวเตอร์ 1/ โทร ศัพท์ โทร สาร คอม พิวเตอร์ 1/ ทั่วราชอาณาจักร + 20,564.7 3,169.2 470.7 12,004.6 15.4 2.3 58.4 กรุงเทพมหานคร 2,532.5 1,049.1 160.0 2,913.3 41.4 6.3 115.0 กลาง 6,117.1 1,083.7 171.1 3,580.5 17.7 2.8 58.5 เหนือ 3,774.6 407.8 40.4 1,855.1 10.8 1.1 49.2 ตะวันออกเฉียงเหนือ 5,463.1 309.3 48.2 2,270.9 5.7 0.9 41.6 ใต้ 2,677.5 319.3 51.0 1,384.7 11.9 1.9 51.7
  • 34. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สานักงานสถิติแห่งชาติ 32 3) ประเภทของอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในครัวเรือน ครัวเรือนที่มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตใช้ประเภท Fixed broadband มากที่สุด ร้อยละ 45.0 รองลงมาแบบไร้สายเคลื่อนที่โทรศัพท์มือถือ 3G ขึ้นไป (เช่น WCDMA,.EV-DO) ร้อยละ 40.3 ประเภท Narrowband แบบไร้สาย เคลื่อนที่ โทรศัพท์มือถือ (2G, 2.5G เช่น GSM, CDMA, GPRS) ร้อยละ 8.9 และแบบ Analogue modem, ISDN มีเพียง ร้อยละ 3.4 (ตาราง 3) ตาราง3ร้อยละของครัวเรือนที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตจาแนกตามประเภทของอินเทอร์เน็ตและภาค หมายเหตุ : 1/ Fixed broadband ได้แก่ DSL (SDSL, ADSL, VDSL), Cable modem, Leased line, ดาวเทียม, เคเบิลใยแก้วนาแสง, Fixed wireless, WiMAX. ภาค จานวน ครัวเรือนที่ เชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ต (พันครัวเรือน) ประเภทของอินเทอร์เน็ต Narrowband Broadband ไม่แน่ใจ Analogue modem, ISDN แบบไร้สาย เคลื่อนที่ (โทรศัพท์ มือถือ 2G, 2.5G เช่น GSM, CDMA, GPRS) Fixed broadband 1/ แบบไร้สาย เคลื่อนที่ (โทรศัพท์ มือถือ 3G ขึ้นไป เช่น WCDMA, EV-DO) ทั่วราชอาณาจักร 7,126.4 3.4 8.9 45.0 40.3 2.4 กรุงเทพมหานคร 1,502.9 3.0 3.4 56.0 35.6 2.0 กลาง 2,458.2 3.4 8.5 42.7 42.7 2.7 เหนือ 1,064.8 2.6 9.3 49.4 37.9 0.8 ตะวันออกเฉียงเหนือ 1,253.1 4.1 13.0 37.0 43.4 2.6 ใต้ 847.5 3.6 13.4 38.8 40.1 4.1
  • 35. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สานักงานสถิติแห่งชาติ 33 1.6 11.6 29.0 21.4 25.8 10.6 0 10 20 30 40 4) ค่าใช้จ่ายในการใช้อินเทอร์เน็ตของครัวเรือน สาหรับค่าใช้จ่ายในการใช้อินเทอร์เน็ตของครัวเรือน (ไม่รวมค่าโทรศัพท์) เฉลี่ยต่อเดือน พบว่า ครัวเรือนที่เสียค่าใช้จ่ายในการใช้อินเทอร์เน็ตจานวน 600-799 บาท สูงที่สุดคือ ร้อยละ 29.0 รองลงมาเสียค่าใช้จ่าย 200-399 บาท ร้อยละ 25.8 เสียค่าใช้จ่าย 400-599 บาท ร้อยละ 21.4 เสียค่าใช้จ่ายมากกว่า 800 บาทขึ้นไป ร้อยละ 11.6 เสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่า 200 บาท ร้อยละ 10.6 และไม่เสียค่าใช้จ่ายเลย ร้อยละ 1.6 (แผนภูมิ 14) ค่าใช้จ่ายการใช้อินเทอร์เน็ต แผนภูมิ 14 ร้อยละของครัวเรือนที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต จาแนกตามค่าใช้จ่ายใน การใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยต่อเดือน ร้อยละ น้อยกว่า 200 บาท 200 - 399 บาท 400 - 599 บาท 600 - 799 บาท 800 บาทขึ้นไป ไม่เสียค่าใช้จ่าย
  • 36. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 สานักงานสถิติแห่งชาติ 34 4.1 7.6 10.3 10.4 12.6 17.2 21.6 29.4 55.2 0 10 20 30 40 50 60 ร้อยละ เรื่องที่ต้องการให้ควบคุม 4. ข้อคิดเห็นต่อการควบคุมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาหรับข้อคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการให้ภาครัฐเข้ามาควบคุมด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พบว่า มีครัวเรือนต้องการให้ควบคุมเว็บไซต์ ที่ลามกอนาจาร ร้อยละ 55.2 ควบคุมผู้ให้บริการร้านอินเทอร์เน็ต/เกมออนไลน์ ร้อยละ 29.4 ควบคุมการเผยแพร่ข้อความ เสียง ภาพ ตัดต่อ ดัดแปลงภาพที่ทา ให้ผู้อื่นเสียชื่อเสียงร้อยละ 21.6 มีมาตรการป้องกันการเจาะระบบข้อมูลคอมพิวเตอร์ ร้อยละ 17.2 ควบคุมการจดทะเบียนโทรศัพท์มือถือ ร้อยละ 12.6 และ การเผยแพร่ spam mail หรือไวรัส ร้อยละ 10.4 (แผนภูมิ 15) หมายเหตุ: ตอบได้ไม่เกิน 2 คาตอบ แผนภูมิ 15 ร้อยละของครัวเรือน จาแนกตามเรื่องที่ต้องการให้ภาครัฐเข้ามาควบคุม ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เว็บไซด์ลามกอนาจาร ร้านอินเทอร์เน็ต ตัดต่อ/ดัดแปลงเสียงหรือภาพให้ผู้อื่นเสียหาย การเจาะระบบข้อมูล การจดทะเบียนโทรศัพท์มือถือ การเผยแพร่ spam mail หรือไวรัส มีหน่วยงานควบคุมผู้ให้บริการ มีศูนย์รับเรื่องร้องเรียนผู้ให้บริการ ความปลอดภัยในการใช้ e-commerce
  • 37. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 49 สานักงานสถิติแห่งชาติ เปรียบเทียบจานวนผู้ใช้และจานวนอุปกรณ์เทคโนโลยี สารสนเทศในครัวเรือน พ.ศ. 2553-2557
  • 38. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 43 สานักงานสถิติแห่งชาติ จานวนและร้อยละของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และโทรศัพท์มือถือ พ.ศ. 2553-2557 จาแนกตามภาค ภาค ประชากร อายุ 6 ปี ขึ้นไป จานวนของผู้ใช้ ร้อยละของผู้ใช้ต่อประชากร อายุ 6 ปีขึ้นไป คอม พิวเตอร์ อิน เทอร์เน็ต โทรศัพท์ มือถือ คอม พิวเตอร์ อิน เทอร์เน็ต โทรศัพท์ มือถือ พ.ศ. 2553 ทั่วราช- อาณาจักร 61,896,854 19,138,809 13,844,121 38,243,149 30.9 22.4 61.8 กรุงเทพฯ 6,343,626 3,003,977 2,514,782 4,904,536 47.4 39.6 77.3 กลาง 14,751,255 4,682,038 3,285,096 9,873,020 31.7 22.3 66.9 เหนือ 11,355,670 3,276,993 2,406,755 6,874,601 28.9 21.2 60.5 ตะวันออก- เฉียงเหนือ 21,000,602 5,704,488 3,961,485 11,623,460 27.2 18.9 55.4 ใต้ 8,445,701 2,471,313 1,676,003 4,967,533 29.3 19.9 58.8 พ.ศ. 2554 ทั่วราช- อาณาจักร 62,414,235 19,941,150 14,773,403 41,432,901 32.0 23.7 66.4 กรุงเทพฯ 6,387,317 3,076,340 2,594,413 5,083,557 48.2 40.6 79.6 กลาง 14,906,776 4,800,305 3,448,181 10,557,967 32.2 23.1 70.8 เหนือ 11,408,389 3,492,063 2,636,240 7,534,611 30.6 23.1 66.1 ตะวันออก- เฉียงเหนือ 21,140,586 5,999,405 4,297,349 12,888,098 28.4 20.3 61.0 ใต้ 8,571,167 2,573,036 1,797,221 5,368,667 30.0 21.0 62.6 พ.ศ. 2555 ทั่วราช- อาณาจักร 62,859,329 21,167,848 16,632,908 44,095,238 33.7 26.5 70.2 กรุงเทพฯ 6,416,044 3,302,566 2,848,286 5,386,679 51.5 44.4 84.0 กลาง 15,043,334 5,294,779 4,131,640 11,290,875 35.2 27.5 75.1 เหนือ 11,451,056 3,614,931 2,867,098 7,891,380 31.6 25.0 68.9 ตะวันออก- เฉียงเหนือ 21,260,858 6,176,991 4,568,734 13,632,332 29.1 21.5 64.1 ใต้ 8,688,037 2,778,582 2,217,150 5,893,971 32.0 25.5 67.8
  • 39. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 44 สานักงานสถิติแห่งชาติ จานวนและร้อยละของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และโทรศัพท์มือถือ พ.ศ. 2553-2557 จาแนกตามภาค ภาค ประชากร อายุ 6 ปี ขึ้นไป จานวนของผู้ใช้ ร้อยละของผู้ใช้ต่อประชากร อายุ 6 ปีขึ้นไป คอม พิวเตอร์ อิน เทอร์เน็ต โทรศัพท์ มือถือ คอม พิวเตอร์ อิน เทอร์เน็ต โทรศัพท์ มือถือ พ.ศ. 2556 ทั่วราช- อาณาจักร 63,283,119 22,166,875 18,312,405 46,401,040 35.0 28.9 73.3 กรุงเทพฯ 6,435,907 3,431,742 3,137,998 5,470,054 53.3 48.8 85.0 กลาง 15,174,749 5,526,180 4,526,918 11,738,051 36.4 29.8 77.4 เหนือ 11,495,571 3,674,095 3,122,811 8,333,380 32.0 27.2 72.5 ตะวันออก- เฉียงเหนือ 21,373,487 6,467,602 4,963,738 14,655,023 30.3 23.2 68.6 ใต้ 8,803,405 3,067,256 2,560,940 6,204,531 34.8 29.1 70.5 พ.ศ. 2557 ทั่วราช- อาณาจักร 62,286,730 23,771,341 21,729,382 48,065,641 38.2 34.9 77.2 กรุงเทพฯ 8,002,125 4,368,728 4,358,846 7,134,265 54.6 54.5 89.2 กลาง 17,756,740 6,954,898 6,666,595 14,505,457 39.2 37.5 81.7 เหนือ 10,812,745 3,690,400 3,309,518 8,039,389 34.1 30.6 74.4 ตะวันออก- เฉียงเหนือ 17,411,231 5,661,101 4,675,963 12,311,755 32.5 26.9 70.7 ใต้ 8,303,889 3,096,214 2,718,461 6,074,775 37.3 32.7 73.2 หมายเหตุ :ปี 2557มีการเปลี่ยนแปลงค่าคาดประมาณประชากร
  • 40. สรุปผลที่สาคัญ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 45 สานักงานสถิติแห่งชาติ จานวนอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศต่อ100ครัวเรือนพ.ศ.2553-2557จาแนกตามภาค ภาค ครัวเรือนทั้งสิ้น จานวนอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ต่อ 100 ครัวเรือน โทรศัพท์พื้นฐาน โทรสาร คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2553 ทั่วราชอาณาจักร 19,664,929 21.6 1.8 29.5 กรุงเทพฯ 2,020,409 54.8 7.5 69.4 กลาง 4,758,831 26.5 1.9 32.5 เหนือ 3,871,991 20.0 0.9 26.4 ตะวันออกเฉียงเหนือ 6,376,255 10.1 0.5 19.9 ใต้ 2,617,443 17.6 1.4 21.6 พ.ศ. 2554 ทั่วราชอาณาจักร 19,786,346 18.6 1.6 24.7 กรุงเทพฯ 2,019,064 48.3 5.6 46.3 กลาง 4,799,179 21.7 1.8 27.1 เหนือ 3,896,108 17.8 1.1 25.5 ตะวันออกเฉียงเหนือ 6,418,616 9.3 0.8 18.1 ใต้ 2,653,379 17.1 1.2 19.8 พ.ศ. 2555 ทั่วราชอาณาจักร 20,025,412 16.0 1.9 39.8 กรุงเทพฯ 1,962,673 49.4 7.9 93.1 กลาง 4,926,992 19.9 2.3 43.7 เหนือ 3,937,092 12.9 0.8 35.6 ตะวันออกเฉียงเหนือ 6,488,429 5.8 0.5 26.5 ใต้ 2,710,226 13.7 1.5 31.8 พ.ศ. 2556 ทั่วราชอาณาจักร 20,121,364 14.2 1.7 45.5 กรุงเทพฯ 1,959,171 48.8 6.4 107.5 กลาง 4,959,984 16.7 1.9 48.1 เหนือ 3,948,017 10.6 0.9 39.4 ตะวันออกเฉียงเหนือ 6,513,638 4.9 0.7 30.0 ใต้ 2,740,554 12.5 1.9 41.9 พ.ศ. 2557 ทั่วราชอาณาจักร 20,564,691 15.4 2.3 58.4 กรุงเทพฯ 2,532,459 41.4 6.3 115.0 กลาง 6,117,117 17.7 2.8 58.5 เหนือ 3,774,593 10.8 1.1 49.2 ตะวันออกเฉียงเหนือ 5,463,062 5.7 0.9 41.6 ใต้ 2,677,460 11.9 1.9 51.7 หมายเหตุ : พ.ศ. 2553 คอมพิวเตอร์ในที่นี้รวมเครื่องคอมพิวเตอร์ PC, และ Notebook พ.ศ. 2554 คอมพิวเตอร์ในที่นี้รวมเครื่องคอมพิวเตอร์ PC , Notebook , PDA และ Smart phone พ.ศ. 2555 - พ.ศ. 2557 คอมพิวเตอร์ในที่นี้รวมเครื่องคอมพิวเตอร์ PC , Notebook ,PDA และ Tablet