SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 46
มิถุนายน 2553
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
โดย ปาริชาติ สุทธิประสิทธิ์
Mechanical Engineer
 Optimize the maintenance work scope to accomplish in asset management.
 Execute any technical problems in power plants ofThailand with team of
engineers.
Planning Engineer
 Prepare business plan and the organization appraisal support in generation
business unit
 Accomplish the economic engineering project for Ratchaburi and MaeMoh power
plant
Education:
 2004 - 2006 Master Degree in Business Administration (MBA): Financial
Management Concentration
Johnson &Wales University, Providence, RI, United States of America
 1995 – 1999 Bachelor of Engineering: Mechanical Engineering Chulalongkorn
University, Bangkok,Thailand
AdditionalTraining
 2007 Condition based maintenance, Indian Institute for Production Management
(IIPM)
Orissa, India
 2009 ASEAN Residential School in Electric Power Engineering focused on Climate
Change and Power PlantTechnology
Bandung, Indonesia
Presenting/Speaking
 2008 Performed as a presenter in
17th Conference of the Electric Power
Supply Industry (CEPSI 2008)
in the title of Outage Optimization
of SteamTurbine and Auxiliaries,
October 27th
-31st
, 2008
TheVenetian Macao-Resort-Hotel,
Macao
กฎหมาย Legal & Regulations
นโยบาย Policy
หน้าที่และความรับผิดชอบของ
กฟผ.
EGAT-Electricity Generating Authority ofThailand
บทสรุป Summary
ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน
(IPPs – Independent Power Producers)
พระราชบัญญัติประกอบ
กิจการพลังงาน
อัตราค่าไฟฟ้าผันแปร
อัตโนมัติ (ค่า FT)
รัฐมีนโยบายในการส่งเสริมให้เอกชนเข้ามา
มีบทบาทในการผลิตไฟฟ้าตั้งแต่ปี 2532 โดย
ตามแผนพัฒนากำาลังผลิตไฟฟ้าของ กฟผ.
ส่วนหนึ่งจะมีการรับซื้อไฟฟ้าจากเอกชนราย
ใหญ่ (IPPs) และรายเล็ก (SPPs) ซึ่งเป็น
นโยบายที่รัฐส่งเสริมให้เอกชน เข้ามามี
บทบาทมากขึ้น ในกิจการไฟฟ้าของประเทศ
ทั้งนี้ได้กำาหนดให้ กฟผ. มีการรับซื้อไฟฟ้า
จากผู้ผลิตเอกชนรายใหญ่ ในระยะแรก
ปริมาณ 3,800 เมกะวัตต์ ซึ่ง กฟผ. ได้ออก
ประกาศรับซื้อไฟฟ้า ตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม
Source: http://www.eppo.go.th/power/pw-
ElecPriv-T-03.html
พรบ.การประกอบกิจการพลังงาน ปี 2550
ที่จัดสรรเงินกองทุนใหม่จากเดิมเป็น
”กองทุนชุมชนรอบพื้นที่โรงไฟฟ้า” ให้เป็น
“กองทุนพัฒนาไฟฟ้า”
แปรตามค่าเชื้อเพลิงและค่าซื้อไฟฟ้า
Source: http://www.egat.co.th/thai/index.php?
option=com_wrapper&view=wrapper&Itemid=16
World Energy Outlook
นโยบายรัฐบาล
นายกฯ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
กระทรวงพลังงาน
กระทรวงการคลัง
จากที่นายกฯ อภิสิทธิ์ ได้กล่าวสุนทรพจน์ในเวที
โลกที่โคเปนเฮเกนเรื่องการลดโลกร้อน และ
เรื่องพลังงานหมุนเวียน
“…in the National Economic and Social
Development Plans, for the periods
2007-2011 and 2012-2016 respectively.
These plans aim to move our economy
towards a new growth model -- a low
carbon economy…”
“… the "15-year National Alternative
Energy Development Plan (2008-2022),"
which aims to increase the share ofSource: www.eppo.go.th/admin/cab/sp-2009-
• สนับสนุนการผลิตและการใช้พลังงาน
ทดแทน
• มีการกำากับดูแลกิจการพลังงาน: ราคา
เหมาะสมเป็นธรรม
• พัฒนาและวิจัยพลังงานทดแทนทุกรูป
แบบ
• แนวนโยบาย ปี 2552
พัฒนาระบบส่งไฟฟ้าและโรงไฟฟ้า
ให้มีคุณภาพและความเพียงพอ
ต่อความต้องการของประเทศ
พัฒนาการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน
ทดแทน
บริหารต้นทุนให้มีประสิทธิภาพ
• พัฒนาระบบด้านการบริหารและการ
จัดการองค์การ
BSC, SEPA, EVM, Risk
แผนพัฒนากำาลังผลิต
ไฟฟ้า 2553-2573
(Power Development Plan-PDP 2010-2030)
บริษัทคู่ค้า
บริษัทเอกชน
สังคมและประชาชน
17
 เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งตามพระราช
บัญญัติการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พ.ศ.
2511 และปรับปรุงครั้งล่าสุด พ.ศ. 2535
17
1 ผลิต จัดให้ได้มา จัดส่งหรือจำาหน่ายซึ่งพลังงาน
ไฟฟ้า ให้แก่
-การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือการไฟฟ้าอื่น
ตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น
-ผู้ใช้พลังงานไฟฟ้า ตามที่กำาหนดในพระราชกฤษฏีกา
-ประเทศใกล้เคียง
2 ดำาเนินงานต่างๆ ที่เกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้า แหล่ง
พลังงานอันได้มาจากธรรมชาติ เช่น นำ้า ลม ความร้อน
ธรรมชาติ แสงแดด แร่ธาตุ หรือเชื้อเพลิง เป็นต้นว่า นำ้ามัน
ถ่านหิน หรือก๊าซ รวมทั้งพลังงานปรมาณูเพื่อการผลิตพลังงาน
ไฟฟ้า และงานอื่นที่ส่งเสริมกิจการของ กฟผ. …ดำาเนินธุรกิจ
เกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้า และธุรกิจอื่นที่เกี่ยวกับหรือต่อเนื่อง
กับกิจการของ กฟผ. หรือร่วมทุนกับบุคคลอื่นเพื่อดำาเนิน
การดังกล่าว
พันธกิจ ของ กฟผพันธกิจ ของ กฟผ..
• กฟผ. เป็น ESB ผู้รับซื้อไฟฟ้ารายเดียว
และเป็นผู้ผลิตรายใหญ่
• มีแผนพัฒนากำาลังผลิตไฟฟ้าระยะยาว
20 ปี ซึ่งแสดงประเภทและ
กำาลังผลิตของโรงไฟฟ้าใหม่
• สัดส่วนในการผลิต (Market Share)
ของ กฟผ. อยู่ในภายใต้
นโยบายของรัฐบาล
• ราคาค่าไฟฟ้าถูกกำาหนดโดยรัฐ ตาม
ลักษณะอุตสาหกรรมลักษณะอุตสาหกรรม
ผลิตไฟฟ้าของไทยผลิตไฟฟ้าของไทย
…แผนฉบับ Green PDP ที่ให้ความ
สำาคัญกับความมั่นคงระบบไฟฟ้าการลด
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากโรงไฟฟ้า
การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน
และการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าอย่างมี
ประสิทธิภาพ ด้วยระบบผลิตไฟฟ้าและ
ความร้อนร่วมกัน (Cogeneration)…
Source:
ลักษณะการใช้ไฟฟ้า ณ วันที่เกิดความต้องการไฟฟ้าสูงสุดของระบบ กฟผ.
เวลา
ปีปี 25425444-255-25533
10 พ.ค.53 14.00 น.
24,009.9 เมกะวัตต์
เมกะวัตต์ (Net) เมกะวัตต์ (Gross)
2552
2553
Net Generation
15,000
17,000
19,000
21,000
23,000
25,000
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
% = % เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา
สถิติความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดสุทธิรายเดือนของระบบ กฟผ.
เมกะวัตต์ ปีปี 2525551-2551-25533
-8.0%
2.9%
2552
2551
-1.2%
0.1%
-1.1%
-0.2%
-2.5%
0.8%
2.0% 4.2%
10.7%
16.9%
12.7%
2553 5.4%
24,009.9 เมกะวัตต์ (82.19% ของกำาลังผลิตติด
ตั้ง)
เพิ่มขึ้นจากค่าสูงสุดของปี 52 = 8.9 %
9.3%
8.4%
สัดส่วนกำาลังผลิตกำาลังผลิตไฟฟ้าแยกตามผู้ผลิต
5 7 7 6 6 8 10 11 12 13 14
47 48 49 53 55 52 52 51 52 51 49 47 47 45 43 40 38 35 32 32 32
48 46 44 41 39 39 38 38 36 36 37 39 38 40 40 43 45 47 50 50 50
18181818171716
15 15 15
0%
20%
40%
60%
80%
100%
2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 2573
รฟ. กฟผ.
รฟ.เอกชนในประเทศ
รับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน
สัดส่วนกำาลังผลิตไฟฟ้าระหว่างปีสัดส่วนกำาลังผลิตไฟฟ้าระหว่างปี 25532553 – 2573– 2573
ร้อยละ
ปี
23
สัดส่วนกำาลังผลิตกำาลังผลิตไฟฟ้าแยกตามประเภทเชื้อเพลิง
0
5,000
10,000
15,000
20,000
25,000
30,000
35,000
40,000
45,000
50,000
55,000
60,000
65,000
70,000
2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 2573
ดีเซล
พลังงานหมุนเวียน
นำ้ามันเตา
ซื้อต่างประเทศ
ก๊าซธรรมชาติ
ถ่านหินนำาเข้า
ลิกไนต์
นิวเคลียร์
พลังนำ้า
เมกะวัตต์
ปี
47%
50%
54%
61%64%68% 64%65% 66% 67% 63% 60%
57%
51%
51%
49%
47%
45% 44%
44% 44%
5% 7% 7% 7% 7% 7% 7% 7% 7% 8%
8%
9% 9% 10% 10% 9% 11% 12% 13% 14% 15%
7% 7% 6% 6% 5% 5% 5% 5% 5% 5%
5%
5% 4% 4%
4%
5% 5%
6% 6% 7%
7% 7%
7%
8%
8%
8% 8%
4% 4% 6% 8% 7% 7% 8% 8% 8%4%
6% 8% 10% 11% 12%
13% 14%
15% 15%
15%
16% 17%
17%
6%
7%7%
11% 10% 10% 9% 9% 9% 8% 9% 9% 9% 9% 8% 8% 8% 7% 7% 7% 7% 6% 6% 6%
18%
18%
18%
18%7%
7%
7%
8%
7%
5%
PDP2010
Technology
Zero-carbon Fuels
Carbon Capture & Storage –CCS
City Gasline: CHP/DG
Nuclear
ASEAN Power Grid
Zero-carbon FuelsZero-carbon Fuels
25
Source : Energy revolution 2009
Carbon Capture & StorageCarbon Capture & Storage
26
City GaslineCity Gasline
27
City GaslineCity Gasline
28
City GaslineCity Gasline
29
City GaslineCity Gasline
30
City GaslineCity Gasline
31
ASEAN Power GridASEAN Power Grid
32
… ก.พลังงานเตรียมแผนรับมือก๊าซพม่าหยุด
จ่าย 16 วัน เร่งกำาลังผลิตอ่าวไทย ใช้นำ้ามัน
เตา-ดีเซลผลิตไฟ ป่วนต้นทุนค่าเชื้อเพลิง
เพิ่มอีก 1.8 พันล้าน ยันงวดนี้ผลักภาระเอฟ
ทีสูงขึ้น 4-5 สตางค์ต่อหน่วย ขณะที่ยอด
โรงงานใหม่เดือน ม.ค.53 พุ่งเฉียด 1 หมื่น
ล้าน ดูดไฟกันกระฉูด
… นายณอคุณ สิทธิพงศ์ รองปลัดกระทรวง
พลังงาน กล่าวว่า กรณีก๊าซฯ พม่าจากแหล่ง
ยานาดาหยุดจ่ายครั้งนี้เป็นไปตามแผนที่
แจ้งไว้ ทำาให้ต้องผลักภาระผ่านค่าเอฟที แต่Source:
ARSEPE2009-Top Five Coal Exporters in
นายพรชัย รุจิประภา ปลัดกระทรวง
พลังงาน  ในฐานะประธานกรรมการ
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
( กฟผ.) ได้มอบนโยบายให้นายสุทัศน์
ปัทมสิริวัฒน์ ผู้ว่าการ กฟผ. คนใหม่ ให้
เร่งพิจารณาถึงปัญหาการต่อต้านโรง
ไฟฟ้าต่าง ๆ โดยจะต้องสร้างความ
เข้าใจกับประชาชนเป็นเรื่องหลัก
เนื่องจากขณะนี้การคัดค้านเกิดขึ้น
เกือบทุกพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นโรงไฟฟ้า
พลังงานทดแทน หรือโรงไฟฟ้าอื่น ๆ
ซึ่งเป็นห่วงว่าหากโครงการต่าง ๆ ไม่
กระทรวงพลังงาน มอบนโยบายให้ กฟผ. เร่งพัฒนา
บุคลากร เพื่อให้มีความเชี่ยวชาญในด้านการลงทุนทั้งในและ
ต่างประเทศ เพราะปัจจุบันบุคลากรของ กฟผ. มีประสิทธิภาพ
และเชี่ยวชาญด้านไฟฟ้าอยู่แล้ว แต่ต้องพัฒนาบุคลากรรุ่น
ใหม่รวมทั้งถ่ายทอดความสามารถ พร้อมทั้งพิจารณาว่า การ
ลงทุนในต่างประเทศนั้น จะดำาเนินการในรูปแบบใด เพื่อช่วย
สร้างรายได้เข้าประเทศ
โดยนโยบายของกระทรวงพลังงานต้องการให้เกิดความร่วม
มือกับกลุ่ม ปตท. เช่น กรณีที่ ปตท.สผ ออกไปลงทุนขุดเจาะ
สำารวจแหล่งพลังงานในต่างประเทศ ก็ให้ กฟผ. ไปร่วมลงทุน
ด้วย เพื่อพิจารณาว่าโครงการนั้น ๆ สามารถนำาปิโตรเลียม
มาสร้างโรงไฟฟ้าในประเทศที่ไปลงทุนได้หรือไม่
นายพรชัย รุจิประภา ปลัดกระทรวงพลังงาน ในฐานะประธาน
คณะอนุกรรมการพิจารณาโครงการโรงไฟฟ้าบางคล้า เปิดเผย
ว่า หลังจากที่คณะอนุกรรมการฯได้ส่งเรื่องไปยังอัยการสูงสุด
หลังจากโรงไฟฟ้าบางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา ขนาดกำาลังการผลิต
1,600 เมกะวัตต์ ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ถูกต่อต้านการ
ใช้พื้นที่ก่อสร้างอย่างหนัก ล่าสุดอัยการสูงสุดได้มีหนังสือชี้แจง
กลับมายังคณะอนุกรรมการฯแล้ว เพื่อให้เจรจากับบริษัท สยาม
เอ็นเนอยี่ จำากัด ซึ่งเป็นผู้ดำาเนินการโรงไฟฟ้าดังกล่าว
ทั้งนี้ การเจรจาดังกล่าวอยู่ในกรอบการพิจารณาเพื่อขอย้าย
สถานที่ตั้งโรงไฟฟ้าบางคล้าไปยังพื้นที่อื่น แต่คาดว่ายังอยู่ใน
แนวท่อส่งก๊าซธรรมชาติของบริษัท ปตท. จำากัด (มหาชน) หรือ
PTT, การปรับค่าไฟฟ้า ในกรณีที่ต้นทุนเพิ่มสูงขึ้น แต่เชื่อว่า
ราคารับซื้อไฟฟ้าจะไม่เพิ่มขึ้นมากนัก และการเลื่อนระยะเวลา
การจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบออกไป
ประเด็นดังกล่าวไม่ถือว่าเป็นการผิดเงื่อนไขการประมูลโรง
ไฟฟ้าไอพีพี เนื่องจากในเงื่อนไขการประมูลที่ให้เอกชนแข่งขัน
กันโดยเสนอพื้นที่การก่อสร้างโรงไฟฟ้าและราคาค่าไฟฟ้านั้น
 ในขณะนี้วงการผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP)
ต่างวิพากษ์วิจารณ์กันถึงกรณีโรงไฟฟ้าถ่านหินกำาลัง
ผลิต 540 เมกะวัตต์ของบริษัท เนชั่นแนล พาวเวอร์
ซัพพลาย จำากัด หรือ NPS ซึ่งเป็น 1 ใน 4 รายที่ชนะ
การประมูลโรงไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ไปเมื่อปี 2550
อาจต้อง "ล้มเลิก" โครงการนี้ไป เนื่องจากจนถึงขณะ
นี้โรงไฟฟ้า IPP ราย ดังกล่าวก็ยังไม่ผ่านการประเมิน
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (EIA) รวมถึงมีการพูดกันใน
วงการด้วยว่า เงินทุนที่สถาบันการเงิน บางแห่งที่ได้
เจรจากันไว้ก่อนหน้านี้อาจจะระงับเงินกู้ เนื่องจาก
ภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอ ทั่วโลกส่งผลให้สถาบันการเงิน
เข้มงวดกับโครงการที่จะปล่อยสินเชื่อมากขึ้น
           โอกาสนี้ ผู้สื่อข่าว "ประชาชาติธุรกิจ" ได้
สอบถามไปยังนายสิทธิพร รัตโนภาส ประธาน
กรรมการ บริษัท เนชั่นแนล พาวเวอร์ซัพพลาย จำากัด
หรือ NPS ถึงความคืบหน้าโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหิน
เรกูเลเตอร์ ไล่เช็กบิลเอกชนเกือบ 1,000 ราย ที่แห่ยื่นเสนอขายไฟฟ้า
พลังงานหมุนเวียน แต่ไม่ลงทุนจริง แอบใช้นโยบายส่งเสริมของรัฐหา
ผลประโยชน์ในการกู้เงิน หลอกนักลงทุน เตรียมออกเงื่อนไขใหม่ขจัด
เหลือบ ขู่ยกเลิกการรับซื้อไฟฟ้า หวังให้ได้ไฟฟ้าตามแผน 15 ปี
"วรรณรัตน์"เผยหลักเกณฑ์ใหม่ พร้อมฟันเอกชนผิดข้อตกลงยกเลิก
สัญญาทันที
จากการที่กระทรวงพลังงานมีนโยบายส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจาก
พลังงานหมุนเวียน พร้อมกับเพิ่มอัตรารับซื้อไฟฟ้าหรือ Adder โดย
พลังงานลมระดับ 3.50 บาทต่อหน่วย พลังงานแสงอาทิตย์ 8 บาทต่อ
หน่วย พลังงานชีวมวลและก๊าซชีวภาพ 0.30 บาทต่อหน่วย และจาก
ขยะ  2.50-3.50 บาทต่อหน่วย เป็นต้น ดึงดูดให้ภาคเอกชนสนใจ
เสนอซื้อขายไฟฟ้าเป็นจำานวนมากถึง 7,916.46 เมกะวัตต์
เกินกว่าเป้าหมายแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี(2551-
2564) ที่กำาหนดไว้เพียง 5,604 เมกะวัตต์โดยเฉพาะการผลิต
ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ กำาหนดรับซื้อ 500 เมกะวัตต์
แต่มีผู้เสนอขายมากถึง 2,890 เมกะวัตต์ พลังงานลมเสนอขาย
ไฟฟ้ามา 1,258 เมกะวัตต์ จากเป้าหมายรับซื้อ 800 เมกะวัตต์
เป็นต้น 
กระทรวงพลังงานไม่ต้องการให้นำาเงินมาอุดหนุนในรูป Adder นี้มีผลก
ระทบต่อค่าไฟฟ้าหรือค่าเอฟทีมากเกินไป เพราะหากคำานวณเงินที่ต้อง
นำามาชดเชยสำาหรับการรับซื้อจำานวน 7,916 เมกะวัตต์ ภาครัฐจะต้อง
ใช้เงินอุดหนุนกว่า 50,000 ล้านบาทต่อปี หรือกระทบต่อค่าไฟฟ้าที่
เพิ่มขึ้น 18 สตางค์ต่อหน่วย แต่หากเป็นไปตามเป้าหมายที่ 5,604
เมกะวัตต์ จะใช้เงินอุดหนุนประมาณ 24,300 ล้านบาท หรือกระทบค่า
ไฟฟ้าเพียง 8 สตางค์ต่อหน่วย 
"ที่ผ่านมาการเสนอขายไฟฟ้ามีทั้งโครงการที่ตอบรับซื้อไฟฟ้าแล้ว แต่
ยังไม่มีการเซ็นสัญญาซื้อขาย และบางโครงการลงนามซื้อขายแต่ยังไม่
ขายไฟฟ้า ทั้งสองลักษณะนี้เป็นสัญญาที่ทำาไว้ระหว่างภาครัฐกับเอกชน
หากจะปรับหลักเกณฑ์ใหม่ก็ต้องพิจารณาหรือพิสูจน์ให้ได้ว่าเอกชน
พร้อมที่จะลงทุนจริงหรือไม่ เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมกับทุกฝ่าย คาดว่า
หลักเกณฑ์ใหม่นี้จะแล้วเสร็จในอีก 1-2 “เดือนข้างหน้า
ที่ผ่านมาการยื่นเสนอขายไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนไม่มีหลักเกณฑ์ที่
เข้มงวด เนื่องจากต้องการส่งเสริมภาคเอกชนเข้ามาลงทุน ทำาให้มีการ
แห่มายื่นเสนอขายไฟฟ้าเป็นจำานวนมากเกินกว่าเป้าหมายที่วางไว้  ทาง
ภาครัฐไม่ทราบว่าโครงการใดเป็นของจริงของปลอมบ้าง เพราะก่อน
หน้านี้การยื่นโครงการมาไม่ต้องวาง
 "เวลานี้การตอบรับการซื้อขายไฟฟ้าจะพิจารณาตามลำาดับการ
ยื่นก่อนหลัง โครงการใดที่ไม่มีความพร้อมก็จะไปกันสิทธิ์ราย
อื่นที่มีความพร้อม อย่าง กรณีสายส่ง เมื่อมีการทำาสัญญาซื้อ
ขายไฟฟ้าแล้ว จะมีการจองสายส่ง แต่ไม่มีการลงทุนก่อสร้าง
จริง ทำาให้รายที่มีความพร้อมกว่าไม่สามารถเข้ามาลงทุนได้
ทำาให้แผนพัฒนาพลังงานทดแทนไปสู่เป้าหมายต้องถูกจำากัด
เป็นต้น"ทั้งนี้ หากพิจารณาจากข้อมูลของ สนพ. ขณะนี้มีผู้
เสนอขายไฟฟ้ามากประมาณ 991 ราย แยกเป็น อยู่ระหว่าง
การพิจารณารับซื้อไฟฟ้า 187 ราย ตอบรับการซื้อไฟฟ้า 165
ราย และลงนามซื้อขายไฟฟ้า 639 ราย รวมการเสนอขาย
ไฟฟ้า 8,668 เมกะวัตต์
  ด้านนายแพทย์วรรณรัตน์ ชาญนุกูล รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
พลังงาน กล่าวว่า ขณะนี้กกพ.อยู่ระหว่างการออกกฎเกณฑ์ใน
การยื่นเสนอขายไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนใหม่
เนื่องจากที่ผ่านมาหละหลวมเกินไป ทำาให้มีเอกชนเข้ามายื่น
เสนอขายไฟฟ้ามากเกินกว่าเป้าหมายแผนพัฒนาพลังงาน
ทดแทน 15 ปีที่วางไว้ แต่เวลานี้พบว่าเอกชนที่ยื่นเสนอขาย
ไฟฟ้าเข้ามานี้ไม่ได้ลงทุนก่อสร้างจริงเป็นจำานวนมาก ทำาให้ไป
…สืบเนื่องจากรัฐธรรมนูญปี 50 เน้นการ
ให้สิทธิ์ในการแสดงความคิดเห็นทุกภาค
ส่วน ผลกระทบต่อบริษัทผลิตไฟฟ้า
เอกชน เช่น
ปี 2556
บ.SiamEnergy ถูกต่อต้านการใช้พื้นที่
ก่อสร้าง รฟ.ก๊าซธรรมชาติ
ที่บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา
ปี 2556-57
บ.National Power Supply รฟ.ถ่านหิน ยัง
นายสุทัศน์ ปัทมสิริวัฒน์ ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง
ประเทศไทย (กฟผ.) กล่าวว่า โครงการโรงไฟฟ้าของผู้ผลิตไฟฟ้า
เอกชนรายใหญ่ (IPP) จำานวน 4 โครงการ จะเลื่อนการเข้าระบบ
จากกำาหนดเดิมออกไปจำานวน 2 โครงการ คือ โรงไฟฟ้าบางคล้า
จังหวัดฉะเชิงเทรา กำาลังการผลิต 1,600 เมกะวัตต์ ที่ติดปัญหา
การต่อต้านของประชาชนในพื้นที่ และโรงไฟฟ้า NPS จังหวัด
ฉะเชิงเทรา กำาลังการผลิต 540 เมกะวัตต์ ที่อยู่ระหว่างติดในข้อ
กฎหมายบางข้อ จากเดิมที่จะเข้าระบบปี 2556 – 2557 เป็นเข้า
ระบบในปี 2557 – 2558 ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อกำาลังการผลิต
ไฟฟ้าของประเทศในระยะยาวช่วง 5 ปีข้างหน้า
กฟผ. จึงจะเสนอแผนการผลิตไฟฟ้าเพื่อรองรับการเลื่อนเข้าระบบ
ของโครงการ IPP ให้กระทรวงพลังงาน พิจารณา คือ การ
ปรับปรุงโรงไฟฟ้าเก่า อย่างเช่น โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ให้ลดการ
ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ , การพัฒนาและยืดอายุการใช้
งานของโรงไฟฟ้าเก่าที่จะถูกปลดออกจากระบบให้สามารถใช้งาน
ได้ต่อไปอีก 5 ปี คือ โรงไฟฟ้าบางปะกง ยูนิตที่ 1 และ 2 กำาลัง
การผลิต 1,200 เมกะวัตต์ และโรงไฟฟ้าพระนครใต้ หน่วยที่ 4
และ 5 กำาลังการผลิต 600 เมกะวัตต์ คาดใช้เงินลงทุนประมาณ
• เพื่อความมั่นคงของระบบ รฟ. ที่ยังใช้
งานได้ยืดอายุออกไป ลงทุนเพิ่ม
• ตรวจวัดสิ่งที่เป็นผลกระทบต่อสิ่ง
แวดล้อม และสุขภาพประชาชน (HIA)
• ต้องติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรกำาจัด
สิ่งที่เป็นผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
•ต้องสร้างสมดุลระหว่างทางเลือกด้านสิ่ง
แวดล้อมและด้านราคาค่าไฟอย่างเหมาะ
สม
ต่อเทคโนโลยี รฟ. ปัจจุบัน
 เพื่อความมั่นคงของระบบ รฟ. ที่ยังใช้งานได้ยืด
อายุออกไป ลงทุนเพิ่ม เร่งสร้าง รฟ.ใหม่เข้า
ระบบเร็วขึ้น
 ตรวจวัดสิ่งที่เป็นผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และ
สุขภาพประชาชน (HIA)
 ต้องติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรกำาจัดสิ่งที่เป็น
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
 ต้องสร้างสมดุลระหว่างทางเลือกด้านสิ่ง
แวดล้อมและด้านราคาค่าไฟอย่างเหมาะสม
 ผลิตไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ
ต่อเทคโนโลยี รฟ. ใหม่

Más contenido relacionado

Más de Par Sut

SOCIAL CROWDFUNDING: a case study of EGAT invention making a positive impact...
SOCIAL CROWDFUNDING:  a case study of EGAT invention making a positive impact...SOCIAL CROWDFUNDING:  a case study of EGAT invention making a positive impact...
SOCIAL CROWDFUNDING: a case study of EGAT invention making a positive impact...Par Sut
 
MMSMC-KOTRA20210825submit.pdf
MMSMC-KOTRA20210825submit.pdfMMSMC-KOTRA20210825submit.pdf
MMSMC-KOTRA20210825submit.pdfPar Sut
 
ทิศทางพลังงานของประเทศไทย
ทิศทางพลังงานของประเทศไทยทิศทางพลังงานของประเทศไทย
ทิศทางพลังงานของประเทศไทยPar Sut
 
ThaiPBS-EnergyThai-GreenhouseGasMitigation from @EnergyTH
 ThaiPBS-EnergyThai-GreenhouseGasMitigation  from @EnergyTH  ThaiPBS-EnergyThai-GreenhouseGasMitigation  from @EnergyTH
ThaiPBS-EnergyThai-GreenhouseGasMitigation from @EnergyTH Par Sut
 
How Economic Value Management can be Applied to Power Plant Management
How Economic Value Management can be Applied to Power Plant ManagementHow Economic Value Management can be Applied to Power Plant Management
How Economic Value Management can be Applied to Power Plant ManagementPar Sut
 
CEPSI2008 parichart
CEPSI2008 parichartCEPSI2008 parichart
CEPSI2008 parichartPar Sut
 

Más de Par Sut (6)

SOCIAL CROWDFUNDING: a case study of EGAT invention making a positive impact...
SOCIAL CROWDFUNDING:  a case study of EGAT invention making a positive impact...SOCIAL CROWDFUNDING:  a case study of EGAT invention making a positive impact...
SOCIAL CROWDFUNDING: a case study of EGAT invention making a positive impact...
 
MMSMC-KOTRA20210825submit.pdf
MMSMC-KOTRA20210825submit.pdfMMSMC-KOTRA20210825submit.pdf
MMSMC-KOTRA20210825submit.pdf
 
ทิศทางพลังงานของประเทศไทย
ทิศทางพลังงานของประเทศไทยทิศทางพลังงานของประเทศไทย
ทิศทางพลังงานของประเทศไทย
 
ThaiPBS-EnergyThai-GreenhouseGasMitigation from @EnergyTH
 ThaiPBS-EnergyThai-GreenhouseGasMitigation  from @EnergyTH  ThaiPBS-EnergyThai-GreenhouseGasMitigation  from @EnergyTH
ThaiPBS-EnergyThai-GreenhouseGasMitigation from @EnergyTH
 
How Economic Value Management can be Applied to Power Plant Management
How Economic Value Management can be Applied to Power Plant ManagementHow Economic Value Management can be Applied to Power Plant Management
How Economic Value Management can be Applied to Power Plant Management
 
CEPSI2008 parichart
CEPSI2008 parichartCEPSI2008 parichart
CEPSI2008 parichart
 

สถานการณ์โรงไฟฟ้าในประเทศไทย

  • 2. Mechanical Engineer  Optimize the maintenance work scope to accomplish in asset management.  Execute any technical problems in power plants ofThailand with team of engineers. Planning Engineer  Prepare business plan and the organization appraisal support in generation business unit  Accomplish the economic engineering project for Ratchaburi and MaeMoh power plant Education:  2004 - 2006 Master Degree in Business Administration (MBA): Financial Management Concentration Johnson &Wales University, Providence, RI, United States of America  1995 – 1999 Bachelor of Engineering: Mechanical Engineering Chulalongkorn University, Bangkok,Thailand
  • 3. AdditionalTraining  2007 Condition based maintenance, Indian Institute for Production Management (IIPM) Orissa, India  2009 ASEAN Residential School in Electric Power Engineering focused on Climate Change and Power PlantTechnology Bandung, Indonesia Presenting/Speaking  2008 Performed as a presenter in 17th Conference of the Electric Power Supply Industry (CEPSI 2008) in the title of Outage Optimization of SteamTurbine and Auxiliaries, October 27th -31st , 2008 TheVenetian Macao-Resort-Hotel, Macao
  • 4. กฎหมาย Legal & Regulations นโยบาย Policy หน้าที่และความรับผิดชอบของ กฟผ. EGAT-Electricity Generating Authority ofThailand บทสรุป Summary
  • 5. ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน (IPPs – Independent Power Producers) พระราชบัญญัติประกอบ กิจการพลังงาน อัตราค่าไฟฟ้าผันแปร อัตโนมัติ (ค่า FT)
  • 6. รัฐมีนโยบายในการส่งเสริมให้เอกชนเข้ามา มีบทบาทในการผลิตไฟฟ้าตั้งแต่ปี 2532 โดย ตามแผนพัฒนากำาลังผลิตไฟฟ้าของ กฟผ. ส่วนหนึ่งจะมีการรับซื้อไฟฟ้าจากเอกชนราย ใหญ่ (IPPs) และรายเล็ก (SPPs) ซึ่งเป็น นโยบายที่รัฐส่งเสริมให้เอกชน เข้ามามี บทบาทมากขึ้น ในกิจการไฟฟ้าของประเทศ ทั้งนี้ได้กำาหนดให้ กฟผ. มีการรับซื้อไฟฟ้า จากผู้ผลิตเอกชนรายใหญ่ ในระยะแรก ปริมาณ 3,800 เมกะวัตต์ ซึ่ง กฟผ. ได้ออก ประกาศรับซื้อไฟฟ้า ตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม Source: http://www.eppo.go.th/power/pw- ElecPriv-T-03.html
  • 7. พรบ.การประกอบกิจการพลังงาน ปี 2550 ที่จัดสรรเงินกองทุนใหม่จากเดิมเป็น ”กองทุนชุมชนรอบพื้นที่โรงไฟฟ้า” ให้เป็น “กองทุนพัฒนาไฟฟ้า” แปรตามค่าเชื้อเพลิงและค่าซื้อไฟฟ้า Source: http://www.egat.co.th/thai/index.php? option=com_wrapper&view=wrapper&Itemid=16
  • 8. World Energy Outlook นโยบายรัฐบาล นายกฯ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ กระทรวงพลังงาน กระทรวงการคลัง
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13. จากที่นายกฯ อภิสิทธิ์ ได้กล่าวสุนทรพจน์ในเวที โลกที่โคเปนเฮเกนเรื่องการลดโลกร้อน และ เรื่องพลังงานหมุนเวียน “…in the National Economic and Social Development Plans, for the periods 2007-2011 and 2012-2016 respectively. These plans aim to move our economy towards a new growth model -- a low carbon economy…” “… the "15-year National Alternative Energy Development Plan (2008-2022)," which aims to increase the share ofSource: www.eppo.go.th/admin/cab/sp-2009-
  • 14. • สนับสนุนการผลิตและการใช้พลังงาน ทดแทน • มีการกำากับดูแลกิจการพลังงาน: ราคา เหมาะสมเป็นธรรม • พัฒนาและวิจัยพลังงานทดแทนทุกรูป แบบ
  • 15. • แนวนโยบาย ปี 2552 พัฒนาระบบส่งไฟฟ้าและโรงไฟฟ้า ให้มีคุณภาพและความเพียงพอ ต่อความต้องการของประเทศ พัฒนาการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน ทดแทน บริหารต้นทุนให้มีประสิทธิภาพ • พัฒนาระบบด้านการบริหารและการ จัดการองค์การ BSC, SEPA, EVM, Risk
  • 16. แผนพัฒนากำาลังผลิต ไฟฟ้า 2553-2573 (Power Development Plan-PDP 2010-2030) บริษัทคู่ค้า บริษัทเอกชน สังคมและประชาชน
  • 17. 17  เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งตามพระราช บัญญัติการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2511 และปรับปรุงครั้งล่าสุด พ.ศ. 2535 17 1 ผลิต จัดให้ได้มา จัดส่งหรือจำาหน่ายซึ่งพลังงาน ไฟฟ้า ให้แก่ -การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือการไฟฟ้าอื่น ตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น -ผู้ใช้พลังงานไฟฟ้า ตามที่กำาหนดในพระราชกฤษฏีกา -ประเทศใกล้เคียง 2 ดำาเนินงานต่างๆ ที่เกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้า แหล่ง พลังงานอันได้มาจากธรรมชาติ เช่น นำ้า ลม ความร้อน ธรรมชาติ แสงแดด แร่ธาตุ หรือเชื้อเพลิง เป็นต้นว่า นำ้ามัน ถ่านหิน หรือก๊าซ รวมทั้งพลังงานปรมาณูเพื่อการผลิตพลังงาน ไฟฟ้า และงานอื่นที่ส่งเสริมกิจการของ กฟผ. …ดำาเนินธุรกิจ เกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้า และธุรกิจอื่นที่เกี่ยวกับหรือต่อเนื่อง กับกิจการของ กฟผ. หรือร่วมทุนกับบุคคลอื่นเพื่อดำาเนิน การดังกล่าว พันธกิจ ของ กฟผพันธกิจ ของ กฟผ..
  • 18. • กฟผ. เป็น ESB ผู้รับซื้อไฟฟ้ารายเดียว และเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ • มีแผนพัฒนากำาลังผลิตไฟฟ้าระยะยาว 20 ปี ซึ่งแสดงประเภทและ กำาลังผลิตของโรงไฟฟ้าใหม่ • สัดส่วนในการผลิต (Market Share) ของ กฟผ. อยู่ในภายใต้ นโยบายของรัฐบาล • ราคาค่าไฟฟ้าถูกกำาหนดโดยรัฐ ตาม ลักษณะอุตสาหกรรมลักษณะอุตสาหกรรม ผลิตไฟฟ้าของไทยผลิตไฟฟ้าของไทย
  • 19. …แผนฉบับ Green PDP ที่ให้ความ สำาคัญกับความมั่นคงระบบไฟฟ้าการลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากโรงไฟฟ้า การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน และการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าอย่างมี ประสิทธิภาพ ด้วยระบบผลิตไฟฟ้าและ ความร้อนร่วมกัน (Cogeneration)… Source:
  • 20. ลักษณะการใช้ไฟฟ้า ณ วันที่เกิดความต้องการไฟฟ้าสูงสุดของระบบ กฟผ. เวลา ปีปี 25425444-255-25533 10 พ.ค.53 14.00 น. 24,009.9 เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ (Net) เมกะวัตต์ (Gross) 2552 2553 Net Generation
  • 21. 15,000 17,000 19,000 21,000 23,000 25,000 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. % = % เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา สถิติความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดสุทธิรายเดือนของระบบ กฟผ. เมกะวัตต์ ปีปี 2525551-2551-25533 -8.0% 2.9% 2552 2551 -1.2% 0.1% -1.1% -0.2% -2.5% 0.8% 2.0% 4.2% 10.7% 16.9% 12.7% 2553 5.4% 24,009.9 เมกะวัตต์ (82.19% ของกำาลังผลิตติด ตั้ง) เพิ่มขึ้นจากค่าสูงสุดของปี 52 = 8.9 % 9.3% 8.4%
  • 22. สัดส่วนกำาลังผลิตกำาลังผลิตไฟฟ้าแยกตามผู้ผลิต 5 7 7 6 6 8 10 11 12 13 14 47 48 49 53 55 52 52 51 52 51 49 47 47 45 43 40 38 35 32 32 32 48 46 44 41 39 39 38 38 36 36 37 39 38 40 40 43 45 47 50 50 50 18181818171716 15 15 15 0% 20% 40% 60% 80% 100% 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 2573 รฟ. กฟผ. รฟ.เอกชนในประเทศ รับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน สัดส่วนกำาลังผลิตไฟฟ้าระหว่างปีสัดส่วนกำาลังผลิตไฟฟ้าระหว่างปี 25532553 – 2573– 2573 ร้อยละ ปี
  • 23. 23 สัดส่วนกำาลังผลิตกำาลังผลิตไฟฟ้าแยกตามประเภทเชื้อเพลิง 0 5,000 10,000 15,000 20,000 25,000 30,000 35,000 40,000 45,000 50,000 55,000 60,000 65,000 70,000 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 2573 ดีเซล พลังงานหมุนเวียน นำ้ามันเตา ซื้อต่างประเทศ ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหินนำาเข้า ลิกไนต์ นิวเคลียร์ พลังนำ้า เมกะวัตต์ ปี 47% 50% 54% 61%64%68% 64%65% 66% 67% 63% 60% 57% 51% 51% 49% 47% 45% 44% 44% 44% 5% 7% 7% 7% 7% 7% 7% 7% 7% 8% 8% 9% 9% 10% 10% 9% 11% 12% 13% 14% 15% 7% 7% 6% 6% 5% 5% 5% 5% 5% 5% 5% 5% 4% 4% 4% 5% 5% 6% 6% 7% 7% 7% 7% 8% 8% 8% 8% 4% 4% 6% 8% 7% 7% 8% 8% 8%4% 6% 8% 10% 11% 12% 13% 14% 15% 15% 15% 16% 17% 17% 6% 7%7% 11% 10% 10% 9% 9% 9% 8% 9% 9% 9% 9% 8% 8% 8% 7% 7% 7% 7% 6% 6% 6% 18% 18% 18% 18%7% 7% 7% 8% 7% 5% PDP2010
  • 24. Technology Zero-carbon Fuels Carbon Capture & Storage –CCS City Gasline: CHP/DG Nuclear ASEAN Power Grid
  • 26. Carbon Capture & StorageCarbon Capture & Storage 26
  • 32. ASEAN Power GridASEAN Power Grid 32
  • 33. … ก.พลังงานเตรียมแผนรับมือก๊าซพม่าหยุด จ่าย 16 วัน เร่งกำาลังผลิตอ่าวไทย ใช้นำ้ามัน เตา-ดีเซลผลิตไฟ ป่วนต้นทุนค่าเชื้อเพลิง เพิ่มอีก 1.8 พันล้าน ยันงวดนี้ผลักภาระเอฟ ทีสูงขึ้น 4-5 สตางค์ต่อหน่วย ขณะที่ยอด โรงงานใหม่เดือน ม.ค.53 พุ่งเฉียด 1 หมื่น ล้าน ดูดไฟกันกระฉูด … นายณอคุณ สิทธิพงศ์ รองปลัดกระทรวง พลังงาน กล่าวว่า กรณีก๊าซฯ พม่าจากแหล่ง ยานาดาหยุดจ่ายครั้งนี้เป็นไปตามแผนที่ แจ้งไว้ ทำาให้ต้องผลักภาระผ่านค่าเอฟที แต่Source:
  • 34. ARSEPE2009-Top Five Coal Exporters in
  • 35. นายพรชัย รุจิประภา ปลัดกระทรวง พลังงาน  ในฐานะประธานกรรมการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ( กฟผ.) ได้มอบนโยบายให้นายสุทัศน์ ปัทมสิริวัฒน์ ผู้ว่าการ กฟผ. คนใหม่ ให้ เร่งพิจารณาถึงปัญหาการต่อต้านโรง ไฟฟ้าต่าง ๆ โดยจะต้องสร้างความ เข้าใจกับประชาชนเป็นเรื่องหลัก เนื่องจากขณะนี้การคัดค้านเกิดขึ้น เกือบทุกพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นโรงไฟฟ้า พลังงานทดแทน หรือโรงไฟฟ้าอื่น ๆ ซึ่งเป็นห่วงว่าหากโครงการต่าง ๆ ไม่
  • 36. กระทรวงพลังงาน มอบนโยบายให้ กฟผ. เร่งพัฒนา บุคลากร เพื่อให้มีความเชี่ยวชาญในด้านการลงทุนทั้งในและ ต่างประเทศ เพราะปัจจุบันบุคลากรของ กฟผ. มีประสิทธิภาพ และเชี่ยวชาญด้านไฟฟ้าอยู่แล้ว แต่ต้องพัฒนาบุคลากรรุ่น ใหม่รวมทั้งถ่ายทอดความสามารถ พร้อมทั้งพิจารณาว่า การ ลงทุนในต่างประเทศนั้น จะดำาเนินการในรูปแบบใด เพื่อช่วย สร้างรายได้เข้าประเทศ โดยนโยบายของกระทรวงพลังงานต้องการให้เกิดความร่วม มือกับกลุ่ม ปตท. เช่น กรณีที่ ปตท.สผ ออกไปลงทุนขุดเจาะ สำารวจแหล่งพลังงานในต่างประเทศ ก็ให้ กฟผ. ไปร่วมลงทุน ด้วย เพื่อพิจารณาว่าโครงการนั้น ๆ สามารถนำาปิโตรเลียม มาสร้างโรงไฟฟ้าในประเทศที่ไปลงทุนได้หรือไม่
  • 37.
  • 38. นายพรชัย รุจิประภา ปลัดกระทรวงพลังงาน ในฐานะประธาน คณะอนุกรรมการพิจารณาโครงการโรงไฟฟ้าบางคล้า เปิดเผย ว่า หลังจากที่คณะอนุกรรมการฯได้ส่งเรื่องไปยังอัยการสูงสุด หลังจากโรงไฟฟ้าบางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา ขนาดกำาลังการผลิต 1,600 เมกะวัตต์ ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ถูกต่อต้านการ ใช้พื้นที่ก่อสร้างอย่างหนัก ล่าสุดอัยการสูงสุดได้มีหนังสือชี้แจง กลับมายังคณะอนุกรรมการฯแล้ว เพื่อให้เจรจากับบริษัท สยาม เอ็นเนอยี่ จำากัด ซึ่งเป็นผู้ดำาเนินการโรงไฟฟ้าดังกล่าว ทั้งนี้ การเจรจาดังกล่าวอยู่ในกรอบการพิจารณาเพื่อขอย้าย สถานที่ตั้งโรงไฟฟ้าบางคล้าไปยังพื้นที่อื่น แต่คาดว่ายังอยู่ใน แนวท่อส่งก๊าซธรรมชาติของบริษัท ปตท. จำากัด (มหาชน) หรือ PTT, การปรับค่าไฟฟ้า ในกรณีที่ต้นทุนเพิ่มสูงขึ้น แต่เชื่อว่า ราคารับซื้อไฟฟ้าจะไม่เพิ่มขึ้นมากนัก และการเลื่อนระยะเวลา การจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบออกไป ประเด็นดังกล่าวไม่ถือว่าเป็นการผิดเงื่อนไขการประมูลโรง ไฟฟ้าไอพีพี เนื่องจากในเงื่อนไขการประมูลที่ให้เอกชนแข่งขัน กันโดยเสนอพื้นที่การก่อสร้างโรงไฟฟ้าและราคาค่าไฟฟ้านั้น
  • 39.  ในขณะนี้วงการผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP) ต่างวิพากษ์วิจารณ์กันถึงกรณีโรงไฟฟ้าถ่านหินกำาลัง ผลิต 540 เมกะวัตต์ของบริษัท เนชั่นแนล พาวเวอร์ ซัพพลาย จำากัด หรือ NPS ซึ่งเป็น 1 ใน 4 รายที่ชนะ การประมูลโรงไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ไปเมื่อปี 2550 อาจต้อง "ล้มเลิก" โครงการนี้ไป เนื่องจากจนถึงขณะ นี้โรงไฟฟ้า IPP ราย ดังกล่าวก็ยังไม่ผ่านการประเมิน ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (EIA) รวมถึงมีการพูดกันใน วงการด้วยว่า เงินทุนที่สถาบันการเงิน บางแห่งที่ได้ เจรจากันไว้ก่อนหน้านี้อาจจะระงับเงินกู้ เนื่องจาก ภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอ ทั่วโลกส่งผลให้สถาบันการเงิน เข้มงวดกับโครงการที่จะปล่อยสินเชื่อมากขึ้น            โอกาสนี้ ผู้สื่อข่าว "ประชาชาติธุรกิจ" ได้ สอบถามไปยังนายสิทธิพร รัตโนภาส ประธาน กรรมการ บริษัท เนชั่นแนล พาวเวอร์ซัพพลาย จำากัด หรือ NPS ถึงความคืบหน้าโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหิน
  • 40. เรกูเลเตอร์ ไล่เช็กบิลเอกชนเกือบ 1,000 ราย ที่แห่ยื่นเสนอขายไฟฟ้า พลังงานหมุนเวียน แต่ไม่ลงทุนจริง แอบใช้นโยบายส่งเสริมของรัฐหา ผลประโยชน์ในการกู้เงิน หลอกนักลงทุน เตรียมออกเงื่อนไขใหม่ขจัด เหลือบ ขู่ยกเลิกการรับซื้อไฟฟ้า หวังให้ได้ไฟฟ้าตามแผน 15 ปี "วรรณรัตน์"เผยหลักเกณฑ์ใหม่ พร้อมฟันเอกชนผิดข้อตกลงยกเลิก สัญญาทันที จากการที่กระทรวงพลังงานมีนโยบายส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานหมุนเวียน พร้อมกับเพิ่มอัตรารับซื้อไฟฟ้าหรือ Adder โดย พลังงานลมระดับ 3.50 บาทต่อหน่วย พลังงานแสงอาทิตย์ 8 บาทต่อ หน่วย พลังงานชีวมวลและก๊าซชีวภาพ 0.30 บาทต่อหน่วย และจาก ขยะ  2.50-3.50 บาทต่อหน่วย เป็นต้น ดึงดูดให้ภาคเอกชนสนใจ เสนอซื้อขายไฟฟ้าเป็นจำานวนมากถึง 7,916.46 เมกะวัตต์ เกินกว่าเป้าหมายแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี(2551- 2564) ที่กำาหนดไว้เพียง 5,604 เมกะวัตต์โดยเฉพาะการผลิต ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ กำาหนดรับซื้อ 500 เมกะวัตต์ แต่มีผู้เสนอขายมากถึง 2,890 เมกะวัตต์ พลังงานลมเสนอขาย ไฟฟ้ามา 1,258 เมกะวัตต์ จากเป้าหมายรับซื้อ 800 เมกะวัตต์ เป็นต้น 
  • 41. กระทรวงพลังงานไม่ต้องการให้นำาเงินมาอุดหนุนในรูป Adder นี้มีผลก ระทบต่อค่าไฟฟ้าหรือค่าเอฟทีมากเกินไป เพราะหากคำานวณเงินที่ต้อง นำามาชดเชยสำาหรับการรับซื้อจำานวน 7,916 เมกะวัตต์ ภาครัฐจะต้อง ใช้เงินอุดหนุนกว่า 50,000 ล้านบาทต่อปี หรือกระทบต่อค่าไฟฟ้าที่ เพิ่มขึ้น 18 สตางค์ต่อหน่วย แต่หากเป็นไปตามเป้าหมายที่ 5,604 เมกะวัตต์ จะใช้เงินอุดหนุนประมาณ 24,300 ล้านบาท หรือกระทบค่า ไฟฟ้าเพียง 8 สตางค์ต่อหน่วย  "ที่ผ่านมาการเสนอขายไฟฟ้ามีทั้งโครงการที่ตอบรับซื้อไฟฟ้าแล้ว แต่ ยังไม่มีการเซ็นสัญญาซื้อขาย และบางโครงการลงนามซื้อขายแต่ยังไม่ ขายไฟฟ้า ทั้งสองลักษณะนี้เป็นสัญญาที่ทำาไว้ระหว่างภาครัฐกับเอกชน หากจะปรับหลักเกณฑ์ใหม่ก็ต้องพิจารณาหรือพิสูจน์ให้ได้ว่าเอกชน พร้อมที่จะลงทุนจริงหรือไม่ เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมกับทุกฝ่าย คาดว่า หลักเกณฑ์ใหม่นี้จะแล้วเสร็จในอีก 1-2 “เดือนข้างหน้า ที่ผ่านมาการยื่นเสนอขายไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนไม่มีหลักเกณฑ์ที่ เข้มงวด เนื่องจากต้องการส่งเสริมภาคเอกชนเข้ามาลงทุน ทำาให้มีการ แห่มายื่นเสนอขายไฟฟ้าเป็นจำานวนมากเกินกว่าเป้าหมายที่วางไว้  ทาง ภาครัฐไม่ทราบว่าโครงการใดเป็นของจริงของปลอมบ้าง เพราะก่อน หน้านี้การยื่นโครงการมาไม่ต้องวาง
  • 42.  "เวลานี้การตอบรับการซื้อขายไฟฟ้าจะพิจารณาตามลำาดับการ ยื่นก่อนหลัง โครงการใดที่ไม่มีความพร้อมก็จะไปกันสิทธิ์ราย อื่นที่มีความพร้อม อย่าง กรณีสายส่ง เมื่อมีการทำาสัญญาซื้อ ขายไฟฟ้าแล้ว จะมีการจองสายส่ง แต่ไม่มีการลงทุนก่อสร้าง จริง ทำาให้รายที่มีความพร้อมกว่าไม่สามารถเข้ามาลงทุนได้ ทำาให้แผนพัฒนาพลังงานทดแทนไปสู่เป้าหมายต้องถูกจำากัด เป็นต้น"ทั้งนี้ หากพิจารณาจากข้อมูลของ สนพ. ขณะนี้มีผู้ เสนอขายไฟฟ้ามากประมาณ 991 ราย แยกเป็น อยู่ระหว่าง การพิจารณารับซื้อไฟฟ้า 187 ราย ตอบรับการซื้อไฟฟ้า 165 ราย และลงนามซื้อขายไฟฟ้า 639 ราย รวมการเสนอขาย ไฟฟ้า 8,668 เมกะวัตต์   ด้านนายแพทย์วรรณรัตน์ ชาญนุกูล รัฐมนตรีว่าการกระทรวง พลังงาน กล่าวว่า ขณะนี้กกพ.อยู่ระหว่างการออกกฎเกณฑ์ใน การยื่นเสนอขายไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนใหม่ เนื่องจากที่ผ่านมาหละหลวมเกินไป ทำาให้มีเอกชนเข้ามายื่น เสนอขายไฟฟ้ามากเกินกว่าเป้าหมายแผนพัฒนาพลังงาน ทดแทน 15 ปีที่วางไว้ แต่เวลานี้พบว่าเอกชนที่ยื่นเสนอขาย ไฟฟ้าเข้ามานี้ไม่ได้ลงทุนก่อสร้างจริงเป็นจำานวนมาก ทำาให้ไป
  • 43. …สืบเนื่องจากรัฐธรรมนูญปี 50 เน้นการ ให้สิทธิ์ในการแสดงความคิดเห็นทุกภาค ส่วน ผลกระทบต่อบริษัทผลิตไฟฟ้า เอกชน เช่น ปี 2556 บ.SiamEnergy ถูกต่อต้านการใช้พื้นที่ ก่อสร้าง รฟ.ก๊าซธรรมชาติ ที่บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา ปี 2556-57 บ.National Power Supply รฟ.ถ่านหิน ยัง
  • 44. นายสุทัศน์ ปัทมสิริวัฒน์ ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย (กฟผ.) กล่าวว่า โครงการโรงไฟฟ้าของผู้ผลิตไฟฟ้า เอกชนรายใหญ่ (IPP) จำานวน 4 โครงการ จะเลื่อนการเข้าระบบ จากกำาหนดเดิมออกไปจำานวน 2 โครงการ คือ โรงไฟฟ้าบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา กำาลังการผลิต 1,600 เมกะวัตต์ ที่ติดปัญหา การต่อต้านของประชาชนในพื้นที่ และโรงไฟฟ้า NPS จังหวัด ฉะเชิงเทรา กำาลังการผลิต 540 เมกะวัตต์ ที่อยู่ระหว่างติดในข้อ กฎหมายบางข้อ จากเดิมที่จะเข้าระบบปี 2556 – 2557 เป็นเข้า ระบบในปี 2557 – 2558 ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อกำาลังการผลิต ไฟฟ้าของประเทศในระยะยาวช่วง 5 ปีข้างหน้า กฟผ. จึงจะเสนอแผนการผลิตไฟฟ้าเพื่อรองรับการเลื่อนเข้าระบบ ของโครงการ IPP ให้กระทรวงพลังงาน พิจารณา คือ การ ปรับปรุงโรงไฟฟ้าเก่า อย่างเช่น โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ให้ลดการ ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ , การพัฒนาและยืดอายุการใช้ งานของโรงไฟฟ้าเก่าที่จะถูกปลดออกจากระบบให้สามารถใช้งาน ได้ต่อไปอีก 5 ปี คือ โรงไฟฟ้าบางปะกง ยูนิตที่ 1 และ 2 กำาลัง การผลิต 1,200 เมกะวัตต์ และโรงไฟฟ้าพระนครใต้ หน่วยที่ 4 และ 5 กำาลังการผลิต 600 เมกะวัตต์ คาดใช้เงินลงทุนประมาณ
  • 45. • เพื่อความมั่นคงของระบบ รฟ. ที่ยังใช้ งานได้ยืดอายุออกไป ลงทุนเพิ่ม • ตรวจวัดสิ่งที่เป็นผลกระทบต่อสิ่ง แวดล้อม และสุขภาพประชาชน (HIA) • ต้องติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรกำาจัด สิ่งที่เป็นผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม •ต้องสร้างสมดุลระหว่างทางเลือกด้านสิ่ง แวดล้อมและด้านราคาค่าไฟอย่างเหมาะ สม
  • 46. ต่อเทคโนโลยี รฟ. ปัจจุบัน  เพื่อความมั่นคงของระบบ รฟ. ที่ยังใช้งานได้ยืด อายุออกไป ลงทุนเพิ่ม เร่งสร้าง รฟ.ใหม่เข้า ระบบเร็วขึ้น  ตรวจวัดสิ่งที่เป็นผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และ สุขภาพประชาชน (HIA)  ต้องติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรกำาจัดสิ่งที่เป็น ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม  ต้องสร้างสมดุลระหว่างทางเลือกด้านสิ่ง แวดล้อมและด้านราคาค่าไฟอย่างเหมาะสม  ผลิตไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ ต่อเทคโนโลยี รฟ. ใหม่