SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 11
Descargar para leer sin conexión
1 
 




                      รายงานการศึกษาเรื่อง
                          Technology WiMAX

                                  โดย
              นางสาวอรวรรณ อร่ ามวิทย์ รหัสนักศึกษา 13510263



       คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร

      สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศเพือการออกแบบ เอกเว็บและสื่ อโต้ ตอบ
                              ่

                         ( Web and Interactive)



    รายงานการศึกษาฉบับนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา 802407 สั มมนา

                     ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2554
2 
 

                                                 คํานํา

        รายงานฉบับนี้จดทาเพื่อต้องการอธิบายเกี่ยวกับการใช้งาน 3D กับ web application ให้ กับบุคคล ที่
                      ั
สนใจเกี่ยวกับงานด้าน 3D ซึ่งจะชี้แจงถึงข้อมูลรายละเอียด และนําเสนอตัวอย่างที่น่าสนใจ ให้ กับผูอ่านได้
                                                                                              ้
เข้าใจอย่างถูกต้อง ซึ่ งรายงานนี้ จะมี เนื้ อหาเกี่ยวกับความรู ้ เบื้องต้นเกี่ยวกับงาน web application และ
                 ํ      ั
เทคโนโลยีใหม่ที่นามาใช้กบงานเว็บไซต์ โปรแกรมที่ใช้สาหรับการทํา 3D ลงเว็บไซต์ รวมทั้งสื่ อด้านต่าง
                                                   ํ
ๆ ที่นาเอา 3D มาใช้งาน ผูจดทําหวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้ ความรู ้ และเป็ นประโยชน์แก่ผอ่านทุก ๆท่าน
      ํ                  ้ั                                                          ู้




                                                                              นางสาว อรวรรณ อร่ ามวิทย์
3 
 

                                            WiMAX Technology



                                                                ํ
                                    คลื่นลูกใหม่ของโลกไร้สายที่กาลังจะมาถึง

                                                                                                   ่
        เมื่อการเชื่อมโยงแบบไร้สายเป็ นทางเลือกที่เพิ่มมูลค่าขึ้นได้อย่างรวดเร็ วดังเช่นที่เป็ นอยูในปั จจุบน
                                                                                                            ั
อุปสรรคทางภูมิศาสตร์ ไม่อาจกางกั้นไฟแห่ งแรงปรารถนาของมนุ ษยชาติ เทคโนโลยีอินเทอร์ เน็ตได้ถือ
กําเนิดขึ้นเป็ นโครงข่ายสื่ อสารที่โยงใยผูคนทัวโลกเข้าไว้ดวยกัน การสื่ อสารไร้สายความเร็ วสู งที่ครอบคลุม
                                          ้ ่             ้
พื้นที่ได้ถูกวิวฒนาการขึ้น ให้ผูคนโลดเล่นไปเฉกเช่นจินตนาการของโลกแห่ งเวทมนต์ ก็เพียงแต่คุณอยู่
                ั               ้
หน้าจอ ก็สามารถเดินทางรอนแรมท่องเที่ยวไปทัวโลกได้แค่ชวพริ บตา...
                                          ่          ั่

        ในยุคแรกของการนําเอาเทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สายมาใช้งานนั้นมักจะมุ่งเน้นไปที่การเชื่อมต่อ
แบบจุ ด ต่ อจุ ด (Point-to-Point)       ซึ่ ง เชื่ อ มโยงระบบเครื อข่ า ยภายในอาคาร 2 แห่ ง เข้าด้ว ยกัน เพื่อให้
ติดต่อสื่ อสารถึงกันได้ ซึ่งต่อมาการใช้งานรู ปแบบนี้มีขอจํากัด จึงได้มีการพัฒนาการเชื่อมต่อในอีกรู ปแบบ
                                                       ้
หนึ่ งขึ้น โดยเป็ นการเชื่อมต่อแบบจุดหนึ่ งไปหลาย ๆ จุดได้ (Point-to-Multipoint) ซึ่ งวิธีการนี้ ทาให้ผให้
                                                                                                  ํ ู้
บริ การระบบอินเทอร์ เน็ตบรอดแบนด์สามารถให้บริ การที่ครอบคลุมพื้นที่ให้บริ การได้กว้างขึ้น ซึ่ งในแง่
ของธุ รกิจแล้วนั้นให้ความคุมค่าในการลงทุนมากกว่า ดังนั้นระบบบรอดแบนด์ไร้สายจึงเป็ นเทคโนโลยีที่
                           ้
ช่วยให้ผให้บริ การสามารถขยายพื้นที่ในการให้บริ การบรอดแบนด์ได้อย่างรวดเร็ วและมีประสิ ทธิ ภาพ อีก
        ู้
ทั้ง ยัง ใช้ง บประมาณในการลงทุ น ที่ ต่ า กว่า เมื่ อ เที ย บกับ การติ ด ตั้ง ระบบบรอดแบนด์แ บบใช้ส ายอย่า ง
                                        ํ
                                                                                            ั
โครงข่ายใยแก้วนําแสงที่ตองมีการลากสายและติดตั้งท่อร้อยสายใต้ดินรวมถึงจะเป็ นทางเลือกใหม่ให้กบ
                        ้
ผูใช้ในการใช้บริ การบรอดแบนด์ความเร็ วสูงในราคาประหยัดอีกด้วย
  ้

        สําหรั บการเติ บโตของบรอดแบนด์ทวโลกโดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชี ยนั้นได้มีการเติ บโตอย่าง
                                       ั่
ต่อเนื่ องในช่ วงหลายปี ที่ผ่านมาและได้มีการคาดการณ์ ไว้ว่าจะยังคงเติบต่ออย่างต่อเนื่ อง เนื่ องจากความ
ต้องการการสื่ อสารข้อมูลที่มีความเร็ วสู งมากกว่า แต่เทคโนโลยีเก่าอย่าง Dial-Up ไม่สามารถตอบสนอง
ความต้องการของผูใช้งานและสื่ อแบบมัลติมีเดียที่เป็ นการสื่ อสารทั้งสัญญาณภาพ เสี ยงและข้อมูลได้ ดังนั้น
                ้
จากเหตุผลที่ได้กล่าวมาทําให้เทคโนโลยีการสื่ อสารบรอดแบนด์ไร้สายกลายเป็ นทางเลือกใหม่ที่ลงทุนตํ่า
และเป็ นเทคโนโลยีซ่ ึ งสามารถนํามาประยุกต์ใช้ในการให้บริ การได้หลากหลายไม่ว่าจะเป็ นส่ วนขยายของ
บริ ก ารฮอตสปอทหรื อ การบริ ก ารบรอดแบนด์ค วามเร็ ว สู ง ไปยัง จุ ด ซึ่ ง โครงข่ า ยใยแก้ว นํา แสงไม่ ไ ด้
4 
 




WiMAX คืออะไร ?

    WiMAX เป็ นชื่ อเรี ยกเทคโนโลยีไร้สายรุ่ นใหม่ล่าสุ ดที่คาดหมายกันว่า จะถูกนํามาใช้งานในอนาคต
อันใกล้น้ ี โดย WiMAX เป็ นชื่อย่อของ Worldwide Interoperability for Microwave Access ซึ่ งเป็ น
เทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สายความเร็ วสู งรุ่ นใหม่ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาบนมาตรฐาน IEEE 802.16 ซึ่งต่อมาก็ได้
พัฒนามาตรฐาน IEEE 802.16a ขึ้น โดยได้การอนุ มติออกมาเมื่อเดือนมกราคม 2004 โดยสถาบัน
                                             ั
วิศวกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิ กส์ หรื อ IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers) ซึ่งมีรัศมี
ทําการที่ 30 ไมล์ หรื อเป็ นระยะทางประมาณ 50 กิโลเมตร ซึ่งนันหมายความว่า WiMAX สามารถให้บริ การ
                                                            ่
ครอบคลุมพื้นที่กว้างกว่าระบบโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 3G มากถึง 10 เท่า ยิงกว่านั้นก็คือยังมีอตรา
                                                                               ่                   ั
                                                              ความเร็ วในการส่ งผ่านข้อมูลสู งสุ ดถึง 75 เมกะ
                                                              บิตต่อวินาที (Mbps) ซึ่ งเร็ วกว่า 3G ถึง 30เท่า
                                                              ทีเดียว

                                                                        โดยมาตรฐาน IEEE 802.16a หรื อ
                                                              WiMAX มีความสามารถในการส่ งกระจาย
                                                              สัญญาณในลักษณะจากจุดเดียวไปยังหลายจุด
                                                              (Point-to-multipoint) ได้พร้อมๆ กัน โดยมี
                                                              ความสามารถรองรับการทํางานในแบบ Non-
รูป 1 แสดงการรั บส่ งสัญญาน WiMAX ไปยังเครือข่ ายให้ บริการ   Line-of-Sight ได้ สามารถทํางานได้แม้กระทัง
                                                                                                       ่
มีสิ่งกีดขวาง เช่น ต้นไม้ หรื อ อาคารได้เป็ นอย่างดี ส่ งผลให้ WiMAX สามารถช่วยให้ผที่ใช้งาน สามารถ
                                                                                   ู้
ขยายเครื อข่ายเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตได้กว้างขวางด้วยรัศมีทาการถึง 31 ไมล์ หรื อประมาณ 48 กิโลเมตร และ
                                                          ํ
มีอตราความเร็ วในการรับส่ งข้อมูลสู งสุ ดถึง 75 Mbps มาตรฐาน IEEE 802.16a นี้ ใช้งานอยู่บนคลื่น
   ั
ไมโครเวฟที่ความถี่ระหว่าง 2-11 กิกะเฮิรตซ์ (GHz) และยังสามารถใช้งานร่ วมกับอุปกรณ์มาตรฐานชนิ ด
อื่นๆ ที่ออกมาก่อนหน้านี้ได้เป็ นอย่างดี

         จากจุดเด่นของการทํางานของ WiMAX ข้างต้น ทําให้เทคโนโลยีตวนี้ สามารถตอบสนองความ
                                                                 ั
ต้องการของการเชื่อมต่อเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตให้กบพื้นที่ที่ห่างไกล ที่สายเคเบิ้ลไม่สามารถลากไปไม่ถึงได้
                                                 ั
5 
 




                                                                รูป 2 สัญญาน WiMAX สามารถเชื่อมต่ อบรอดแบนด์
                                                                ระยะไกล เป็ นแบบฮอตสปอต และระบบเซลลูลาร์




         ซึ่งประโยชน์ดงกล่าวนี้ ทําให้เราสามารถนํา WiMAX ไปประยุกต์เพื่อลดช่องว่างของ เทคโนโลยี
                      ั
ในพื้นที่ห่างไกลที่เทคโนโลยีเข้าไปไม่ถึง ตลอดจนสนองความต้องการ การใช้งานบรอดแบนด์ในเมืองที่มี
พื้นที่แออัดได้อย่างสะดวกรวดเร็ ว และมีค่าใช้จ่ายที่ประหยัดกว่าการติดตั้งเครื อข่ายในแบบวางสายสัญญาณ
ที่ใช้งานกันอยู่




                                                                                                                 
                                 รูป 3 WiMAX สามารถเข้ าถึงพืนที่ห่างไกลได้
                                                             ้
6 
 

                                ตารางเปรียบเทียบเทคโนโลยีไร้ สายในแบบต่ างๆ
    เทคโนโลยี         มาตรฐาน      เครือข่ าย        อัตราความเร็ว            ระยะทาง          ความถี่
Wi-Fi            IEEE 802.11a WLAN              สูงสุ ด 54Mbps         100 เมตร         5GHz
Wi-Fi            IEEE 802.11b WLAN              สูงสุ ด 11Mbps         100 เมตร         2.4GHz
Wi-Fi            IEEE 802.11g WLAN              สูงสุ ด 54Mbps         100 เมตร         2.4GHz
WiMAX            IEEE 802.16d WMAN              สูงสุ ด 75Mbps (20MHz ปกติ 6.4 - 10     Sub 11GHz
                                                BW)                   กิโลเมตร
WiMAX            IEEE 802.16e Mobile            สูงสุ ด 30Mbps (10MHz ปกติ 1.6 – 5      2 - 6 GHz
                              WMAN              BW)                   กิโลเมตร
WCDMA/UMTS       3G              WWAN           สูงสุ ด 2Mbps/10Mbps   ปกติ 1.6 – 8     1800, 1900,
                                                (HSDPA)                กิโลเมตร         2100MHz
CDMA2000 1x EV- 3G               WWAN           สูงสุ ด 2.4Mbps        ปกติ 1.6 – 8     400, 800, 900, 1700,
DO                                                                     กิโลเมตร         1800, 1900,
                                                                                        2100MHz
EDGE             2.5G            WWAN           สูงสุ ด 348Kbps        ปกติ 1.6 – 8     1900MHz
                                                                       กิโลเมตร
UWB              IEEE 802.15.3a WPAN            110 – 480Mbps          10 เมตร          7.5GHz



สําหรับมาตรฐานของเทคโนโลยี WiMAX ที่มีการพัฒนาขึ้นมาในขณะนี้น้ น มีดงต่อไปนี้
                                                               ั ั

    • IEEE 802.16 เป็ นมาตรฐานที่ให้ระยะทางการเชื่อมโยง 1.6 – 4.8 กิโลเมตร เป็ นมาตรฐานเดียวที่
        สนับสนุน LoS (Line of Sight) โดยมีการใช้งานในช่วงความถี่ที่สูงมากคือ 10-66 กิกะเฮิรตซ์ (GHz)
    • IEEE 802.16a เป็ นมาตรฐานที่แก้ไขปรับปรุ งจาก IEEE 802.16 เดิม โดยใช้งานที่ความถี่ 2-11 กิกะ
        เฮิรตซ์ ซึ่ งคุณสมบัติเด่นที่ได้รับการแก้ไขจากมาตรฐาน 802.16 เดิมคือคุณสมบัติการรองรับการ
                          ่
        ทํางานแบบที่ไม่อยูในระดับสายตา ( NLoS - Non-Line-of-Sight) ทั้งยังมีคุณสมบัติการทํางานเมื่อมี
                                                          ็ั
        สิ่ งกีดขวาง อาทิเช่น ต้นไม้, อาคาร ฯลฯ นอกจากนี้กยงช่วยให้สามารถขยายระบบเครื อข่ายเชื่อมต่อ
        อินเทอร์ เน็ตไร้สายความเร็ วสู งได้อย่างกว้างขวางด้วยรัศมีทาการที่ไกลถึง 31 ไมล์ หรื อประมาณ
                                                                   ํ
        48 กิโลเมตร และมีอตราความเร็ วในการรับส่ งข้อมูลสู งสุ ดถึง 75 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) ทําให้
                          ั
        สามารถรองรับการเชื่อมต่อการใช้งานระบบเครื อข่ายของบริ ษทที่ใช้สายประเภท ที1 (T1-type)
                                                               ั
7 
 




    • IEEE 802.16e เป็ นมาตรฐานที่ออกแบบมาให้สนับสนุนการใช้งานร่ วมกับอุปกรณ์พกพาประเภท
       ต่างๆ เช่น อุปกรณ์พีดีเอ โน้ตบุ๊ก เป็ นต้น โดยให้รัศมีทางานที่ 1.6 – 4.8 กิโลเมตร มีระบบที่ช่วย
                                                              ํ
       ช่วยให้ผใช้งานยังสามารถสื่ อสารได้โดยให้คุณภาพในการสื่ อสารที่ดีและมีเสถียรภาพขณะใช้งาน
               ู้
            ่                  ่
        แม้วามีการเคลื่อนที่อยูตลอดเวลาก็ตาม

รู ปแบบการใช้ งาน WiMAX ในส่ วนต่ างๆ

       ระบบบรอดแบนด์ตามความต้องการ (Broadband on-demand) สําหรับระบบเครื อข่ายไร้สาย
มาตรฐาน WiMAX นั้น จะช่ วยให้เหล่าโอเปอเรเตอร์ ต่างๆ สามารถจัดสรรงานบริ การที่มีความเร็ วสู ง
เทียบเท่าระบบเครื อข่ายแบบใช้สายได้ โดยใช้เวลาการติดตั้งที่น้อยกว่า มีราคาที่ถูกกว่ามาก นอกจากนั้น
WiMAX ก็ยงช่วยให้มีการจัดเตรี ยมการใช้งานระบบสื่ อสารความเร็ วสู งในรู ปแบบตามความต้องการได้ใน
         ั
ทันทีทนใด โดยรู ปแบบนี้ เหมาะสําหรับการทํางานในแบบชัวคราว อาทิเช่น การจัดนิ ทรรศการ การจัดงาน
      ั                                             ่
งานประชุม การจัดงานแสดงสิ นค้า เป็ นต้น
       ระบบการสื่ อสารบรอดแบนด์สําหรั บที่ พ กอาศัย ขณะที่ เทคโนโลยีก ารใช้งานสายเคเบิ ลและ
                                             ั
เทคโนโลยี DSL ที่ถูกใช้งานในปั จจุบนนั้นมีช่องว่างในการใช้งานมาก ด้วยข้อจํากัดของการวางโครงข่ายที่
                                   ั
     ่
มีอยูและต้นทุนของการวางระบบ ทําให้ไม่สามารถให้บริ การกับผูที่ตองการใช้งานจํานวนมากซึ่ งต้องการ
                                                          ้ ้
ระบบการสื่ อสารระดับบรอดแบนด์ได้ แต่ขอจํากัดเหล่านี้ จะถูกทลายลง เมื่อมีการเปิ ดตัวระบบที่อางอิงกับ
                                     ้                                                     ้
มาตรฐาน WiMAX ออกมา โดยแอพพลิเคชันสําหรับการสื่ อสารบรอดแบนด์ไร้สาย WiMAX จะช่วยให้
สามารถพัฒนางานต่างๆ ที่สนองตอบความต้องการการใช้งานบรอดแบนด์ในรู ปแบบต่างๆ ได้
       พื้นที่ซ่ ึ งบริ การเข้าไม่ถึง นับว่าเทคโนโลยีระบบการสื่ อสารอินเทอร์ เน็ตไร้ สายความเร็ วสู งที่ได้
อ้างอิงกับมาตรฐาน WiMAX นี้ เป็ นตัวเลือกที่เหมาะสมเป็ นอย่างยิง สําหรับการใช้งานในพื้นที่ห่างไกล ใน
                                                               ่
เขตที่มีขอจํากัดของการเดินสายนําสัญญาณในระบบ DSL
         ้
       บริ การการสื่ อสารแบบไร้สายคุณภาพสู ง มาตรฐานIEEE 802.16e ซึ่ งเป็ นส่ วนต่อเติมของ IEEE
802.16a นั้นเป็ นคุณสมบัติแบบพิเศษที่พฒนาขึ้นมาให้รองรับการใช้งานในแบบที่ตองเคลื่อนที่ตลอดเวลา
                                      ั                                   ้
เหมาะสําหรับอุปกรณ์ ในแบบพกพาสําหรับการเดิ นทาง ซึ่ งช่ วยให้ผูใช้งานยังสามารถสื่ อสารได้โดยให้
                                                               ้
                                                    ่                  ่
คุณภาพในการสื่ อสารที่ดีและมีเสถียรภาพขณะใช้งาน แม้วามีการเคลื่อนที่อยูตลอดเวลาก็ตาม
8 
 

         การส่ งสัญญาณแบบ Cellular Backhaul ด้วยแบนด์วิดท์การใช้งานของ WiMAX ที่มีอยู่อย่าง
เหลือเฟื อ จึงทําให้มีความเหมาะสมเป็ นอย่างยิ่งกับการที่จะนํามาใช้งานให้รองรับการส่ งสัญญาณในแบบ
ย้อนกลับไปยังสถานีฐานระบบเซลลูลาร์ ซึ่งมีการติดต่อสื่ อสารกันในแบบจุดต่อจุดได้

WiMAX มีอะไรใหม่ ๆ ทีโดนใจบ้ าง ?
                     ่

เรื่ องของความเร็ ว : สําหรับ WiMAX นั้น ได้ให้อตราความเร็ วในการส่ งสัญญาณข้อมูลมากถึง 75 เมกะบิต
                                                ั
ต่อวินาที (Mbps) โดยใช้กลไกการเปลี่ยนคลื่นสัญญาณที่ให้ประสิ ทธิภาพสู ง สามารถส่ งสัญญาณออกไปได้
ในระยะทางไกลมากถึ ง 30 ไมล์ หรื อ 48 กิ โลเมตร ภายใต้คลื่ นความถี่ ระดับสู งที่มีประสิ ทธิ ภาพในการ
ทํางานสูง ทั้งก็ยงไม่มีปัญหาเรื่ องของสัญญาณสะท้อนอีกด้วย นอกจากนั้นแล้ว สถานีฐาน(Base Station) ยัง
                 ั
สามารถพิจารณาความเหมาะสมในระหว่างความเร็ ว และระยะทางได้อีก ตัวอย่างเช่น ถ้าหากการใช้เทคนิ ค
ในแบบ 64 QAM (Quadarature Amplitude Modulation) ไม่สามารถรองรับการสื่ อสารที่มีประสิ ทธิภาพได้
การเปลี่ยนไปใช้ 16 QAM หรื อ QPSK (Quadarature Phase Shift Key) ซึ่งจะช่วยเพิ่มระยะทางการในการ
สื่ อสารให้มากขึ้นได้

การบริ การที่ครอบคลุม : นอกจาก WiMAX จะใช้เทคนิ คของการแปลงสัญญาณที่ให้ความคล่องตัวในการ
ใช้งานสู ง และเปี่ ยมประสิ ทธิ ภาพแล้ว มาตรฐาน IEEE 802.16a ก็ยงสามารถรองรับการทํางานร่ วมกับ
                                                               ั
เทคโนโลยี ซ่ ึ งขยายพื้ น ที่ ก ารให้ บ ริ การให้ ก ว้า งขวางมากขึ้ นได้ ตัว อย่ า งเช่ น ระบบเครื อข่ า ยที่ ใ ช้
สถาปั ตยกรรมแบบผสมผสาน (Mesh Topology) และเทคนิคการใช้งานกับเสาอากาศแบบอัจฉริ ยะ (Smart
Antenna) ที่ช่วยประหยัดต้นทุนและเพิ่มอัตราความเร็ วของการรับส่ งสัญญาณที่ให้สมรรถนะในการทํางาน
น่าเชื่อถือสูง

ความสามารถในการขยายระบบ : ระบบ WiMAX นั้นมีความสามารถในเรื่ องการรองรับการใช้งานแบนด์
                                                    ่
วิดท์, ช่องสัญญาณ สําหรับการสื่ อสารได้ดวยความยืดหยุน โดยสามารถปรับให้สอดคล้องกับแผนการติดตั้ง
                                        ้
เซลล์ในย่านความถี่ที่ตองจ่ายค่าลิขสิ ทธิ์ หรื อ ย่านความถี่ที่ได้รับการยกเว้นค่าลิขสิ ทธิ์ ทัวโลก อาทิเช่น ถ้า
                      ้                                                                      ่
โอเปอเรเตอร์ที่ให้บริ การนั้นได้รับคลื่นความที่ 20 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) ก็สามารถที่จะทําการแบ่งคลื่นความถี่
นี้ ออกเป็ น 2 ส่ วน โดยแต่ละส่ วนนั้นอยู่ที่ 10 เมกะเฮิ รตซ์ (MHz) หรื อจะแบ่งออกเป็ น 4 ส่ วน ๆ ละ 5
เมกะเฮิรตซ์ (MHz) ก็ได้ ทําให้โอเปอเรเตอร์สามารถบริ หารจัดการแต่ละส่ วนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ทั้งยัง
เพิมเติมผูใช้งานในแต่ละส่ วนได้อีกด้วย
  ่       ้
9 
 

         การจัดลําดับความสําคัญของงานบริ การ (QoS - Quality of Service) สําหรับระบบเครื อข่ายไร้สาย
มาตรฐาน WiMAX นี้ มีคุณสมบัติดาน QoS (Quality of Service) ที่รองรับการทํางานของบริ การ
                              ้
สัญญาณเสี ยงและสัญญาณวิดีโอ ซึ่ งต้องการระบบเครื อข่ายที่ไม่สามารถทํางานด้วยความล่าช้าได้ บริ การ
                            ่
เสี ยงของ WiMAX นี้ อาจจะอยูในรู ปของบริ การ Time Division Multiplexed (TDM) หรื อบริ การในรู ปแบบ
Voice over IP (VoIP) ก็ได้ โดยโอเปอเรเตอร์สามารถกําหนดระดับความสําคัญของการใช้งานให้เหมาะสม
กับรู ปแบบการใช้งานต่างๆ อาทิ สําหรับบริ การให้องค์กรธุรกิจ, ผูใช้งานตามบ้านเรื อน เป็ นต้น
                                                               ้

ระบบรักษาความปลอดภัย : นับเป็ นคุณสมบัติที่มีความสําคัญเป็ นอย่างยิ่ง โดยคุณสมบัติของการรักษา
ความลับของข้อมูลและการเข้ารหัสข้อมูล ซึ่ งอยู่ในมาตรฐาน WiMAX ที่จะช่วยให้การสื่ อสารมีความ
ปลอดภัยมากยิงขึ้น แถมยังมีระบบตรวจสอบสิ ทธิการใช้งานและมีระบบการเข้ารหัสข้อมูลในตัวด้วย
            ่

         สําหรับอุปกรณ์ที่ใช้งานร่ วมกับเทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สายมาตรฐาน WiMAX นั้น มีองค์กรที่
ได้รับการจัดตั้งจากบรรดาบริ ษทเทคโนโลยีช้ นนําอย่าง Nokia, Intel, Proxim, Fujitsu, Alvarion ฯลฯ ที่มีชื่อ
                             ั            ั
เรี ยกกันว่า WiMAX Forum ขึ้น เพื่อร่ วมกันพัฒนาและกําหนดมาตรฐานกลางของเทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้
สายความเร็ วสู งมาตรฐาน IEEE 802.16 รวมถึงการทําหน้าที่ทดสอบและออกใบรับรองให้แก่อุปกรณ์ที่ใช้
มาตรฐานไร้สายระบบใหม่ ทั้งนี้มาตรฐาน IEEE 802.16 จะถูกเรี ยกกันโดยทัวไปว่า WiMAX เช่นเดียวกับที่
                                                                    ่
มาตรฐาน IEEE 802.11 เคยได้รับการรู ้จกในชื่อ Wi-Fi มาแล้ว
                                     ั

เปรียบเทียบความแตกต่ างระหว่ าง Wi-Fi กับ WiMAX

                                                 -WiMAX เป็ นคลื่นสัญญาณที่ได้รับสัมปทานในการเชื่อมต่อ
                                                 แบบ point-to-point กับผูให้บริ การอินเตอร์ เน็ต ISP ไปยัง
                                                                         ้
                                                 ลูกค้า end user โดยใช้มาตรฐาน 802.16 กับการเชื่อมต่อจาก
                                                 อุปกรณ์แบบพกพา เช่นโทรศัพท์ไร้สาย
                                                 -Wi-Fi เป็ นคลื่นที่ไม่ได้รับสัมปทานในการเชื่อมต่อเครื อข่าย
                                                 นั้น หมายความว่ า มี แ ค่ สั ญ ญาณครอบคลุ ม กับ รหั ส ผ่า นก็
รูป 4 แสดงความแตกต่ างระหว่ าง Wi‐Fi กับ WiMAX
                                                 สามารถเข้าใช้งานได้แล้ว

WiMAX และ Wi-Fi มีการกําหนดความต้องการในการใช้บริ การ Quality of Service (QoS) โดย WiMAX
จะใช้ก ลไกในการเชื่ อ มต่ อ ระหว่ า งสถานี ฐ านกับ อุ ป กรณ์ ข องผูใ ช้ โดยในแต่ ล ะการเชื่ อ มต่ อ จะมี ก าร
                                                                   ้
10 
 




บทสรุป

แม้ว่าในขณะนี้ WiMAX จะเป็ นเทคโนโลยีใหม่ที่ยงไม่เป็ นที่รู้จกกันอย่างแพร่ หลาย แต่ WiMAX ก็ถือว่า
                                             ั               ั
เป็ นเทคโนโลยีที่มีอนาคตสดใส เป็ นทางเลื อกหนึ่ งที่ จะเข้ามาช่ วยตอบสนองความต้องการการใช้งาน
อินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู งซึ่ งมีแนวโน้มเติบโตอย่างรวดเร็ วได้เป็ นอย่างดี และหากมองถึงประโยชน์ในการ
ขยายเครื อข่ายบรอดแบนด์ให้เข้าถึงพื้นที่ที่อยูห่างไกลแล้ว ผลประโยชน์ก็จะเกิดขึ้นกับผูใช้งานทุกคนที่จะมี
                                              ่                                      ้
โอกาสได้ใช้เครื อข่ายสื่ อสารความเร็ วสู งอย่างเท่าเที ยมกัน รวมไปถึ งการช่ วยสร้ างรายได้และโอกาส
ทางการตลาดให้กับเหล่าโอเปอเรเตอร์ ผูให้บริ การอิ นเทอร์ เ น็ ตไร้ สาย รวมทั้งบรรดาผูผลิ ตอุ ปกรณ์ ที่
                                    ้                                               ้
เกี่ ยวข้อง และเชื่ อได้ว่าในอนาคตอันใกล้น้ ี เราจะได้สัมผัสกับเทคโนโลยี WiMAX         อย่างแพร่ หลาย
                                          ่
เช่นเดียวกับที่ Wi-Fi ประสบความสําเร็ จอยูในปัจจุบนนี้
                                                  ั
11 
 

                                        บรรณานุกรม

    • กวีรัตน์ เพ็งแจ่ม, WiMAX Technology,
       http://www.buycoms.com/upload/coverstory/111/WiMax.html
    • SiamWiMAX.Com, เปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่าง Wi-Fi กับ WiMAX 29 ตุลาคม 2009
       , http://www.siamwimax.com/2009/11/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A
       1%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8
       %87wifi-wimax/
    • นายพินิจ ใจประสงค์, WiMAX คืออะไร 24 มีนาคม
       2007, http://www.vcharkarn.com/vblog/16355

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)Obigo Cast Gaming
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9Pop Areerob
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9Pop Areerob
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9Pop Areerob
 
แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4Chutikan Mint
 
Network
NetworkNetwork
Networksa
 
Internet
InternetInternet
Internetthelay
 
0012006 Internet and Communication in Daily Life
0012006 Internet and Communication in Daily Life0012006 Internet and Communication in Daily Life
0012006 Internet and Communication in Daily Lifethelay
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อุไรพร ศรีชนะ
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อุไรพร ศรีชนะ
 
Present2007 new
Present2007 newPresent2007 new
Present2007 newchinjung44
 
เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูล
เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลเทคโนโลยีการรับส่งข้อมูล
เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลPor Oraya
 
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตบริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตburin rujjanapan
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
06 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
06 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์06 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
06 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์teaw-sirinapa
 
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ตMeaw Sukee
 
สื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขายสื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขายDuangsuwun Lasadang
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์jansaowapa
 

La actualidad más candente (19)

อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
 
แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
0012006 Internet and Communication in Daily Life
0012006 Internet and Communication in Daily Life0012006 Internet and Communication in Daily Life
0012006 Internet and Communication in Daily Life
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
 
Present2007 new
Present2007 newPresent2007 new
Present2007 new
 
เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูล
เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลเทคโนโลยีการรับส่งข้อมูล
เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูล
 
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตบริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
06 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
06 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์06 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
06 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
 
สื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขายสื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขาย
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 

Destacado

Η ΦΙΛΗ ΜΑ ΣΗ ΘΑΛΑΣΣΑ
Η ΦΙΛΗ ΜΑ ΣΗ ΘΑΛΑΣΣΑΗ ΦΙΛΗ ΜΑ ΣΗ ΘΑΛΑΣΣΑ
Η ΦΙΛΗ ΜΑ ΣΗ ΘΑΛΑΣΣΑApostolos Aggelis
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์chukiat008
 
козер теория конфликта
козер теория конфликтакозер теория конфликта
козер теория конфликтаnady2011
 
Contemporary portrait
Contemporary portraitContemporary portrait
Contemporary portraitslidelarisa
 
ผลงานกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี1
ผลงานกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี1ผลงานกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี1
ผลงานกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี1kruni-kron
 
Fragamentos de Uma Lógica Chamada Joe
Fragamentos de Uma Lógica Chamada Joe Fragamentos de Uma Lógica Chamada Joe
Fragamentos de Uma Lógica Chamada Joe Professor Belinaso
 
Revolução industrial
Revolução industrialRevolução industrial
Revolução industrialÍris Ferreira
 
淘宝官方作者不大+淘金币推广介绍V3.4
淘宝官方作者不大+淘金币推广介绍V3.4淘宝官方作者不大+淘金币推广介绍V3.4
淘宝官方作者不大+淘金币推广介绍V3.4yinsong1986
 
Introdução aos Testes de Desempenho
Introdução aos Testes de DesempenhoIntrodução aos Testes de Desempenho
Introdução aos Testes de DesempenhoBase2 Tecnologia
 
O capuchinho vermelho(diferente)
O capuchinho vermelho(diferente)O capuchinho vermelho(diferente)
O capuchinho vermelho(diferente)bcsd2000
 
Какие каналы общения с клиентами по-настоящему важны для успешного развития э...
Какие каналы общения с клиентами по-настоящему важны для успешного развития э...Какие каналы общения с клиентами по-настоящему важны для успешного развития э...
Какие каналы общения с клиентами по-настоящему важны для успешного развития э...Alexander Kotov
 
Høsten 2011
Høsten 2011Høsten 2011
Høsten 2011SOLIOSLO
 
HISTORIA DE LA MEDICINA VZLA 1
HISTORIA DE LA MEDICINA VZLA 1HISTORIA DE LA MEDICINA VZLA 1
HISTORIA DE LA MEDICINA VZLA 1emmav11
 
Columdae work local, trade global!- japanese
Columdae   work local, trade global!- japaneseColumdae   work local, trade global!- japanese
Columdae work local, trade global!- japaneseCOLUMDAE
 
สุกศึกษา206กลุ่ม 3
สุกศึกษา206กลุ่ม 3สุกศึกษา206กลุ่ม 3
สุกศึกษา206กลุ่ม 3saksu
 
Apresentação ae a_2011
Apresentação ae a_2011Apresentação ae a_2011
Apresentação ae a_2011aeatour
 

Destacado (20)

Η ΦΙΛΗ ΜΑ ΣΗ ΘΑΛΑΣΣΑ
Η ΦΙΛΗ ΜΑ ΣΗ ΘΑΛΑΣΣΑΗ ΦΙΛΗ ΜΑ ΣΗ ΘΑΛΑΣΣΑ
Η ΦΙΛΗ ΜΑ ΣΗ ΘΑΛΑΣΣΑ
 
20 selido cerv
20 selido cerv20 selido cerv
20 selido cerv
 
Punt de Trobada 47
Punt de Trobada 47Punt de Trobada 47
Punt de Trobada 47
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
козер теория конфликта
козер теория конфликтакозер теория конфликта
козер теория конфликта
 
Smartin
SmartinSmartin
Smartin
 
Contemporary portrait
Contemporary portraitContemporary portrait
Contemporary portrait
 
ผลงานกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี1
ผลงานกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี1ผลงานกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี1
ผลงานกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี1
 
Fragamentos de Uma Lógica Chamada Joe
Fragamentos de Uma Lógica Chamada Joe Fragamentos de Uma Lógica Chamada Joe
Fragamentos de Uma Lógica Chamada Joe
 
Revolução industrial
Revolução industrialRevolução industrial
Revolução industrial
 
淘宝官方作者不大+淘金币推广介绍V3.4
淘宝官方作者不大+淘金币推广介绍V3.4淘宝官方作者不大+淘金币推广介绍V3.4
淘宝官方作者不大+淘金币推广介绍V3.4
 
Introdução aos Testes de Desempenho
Introdução aos Testes de DesempenhoIntrodução aos Testes de Desempenho
Introdução aos Testes de Desempenho
 
O capuchinho vermelho(diferente)
O capuchinho vermelho(diferente)O capuchinho vermelho(diferente)
O capuchinho vermelho(diferente)
 
Какие каналы общения с клиентами по-настоящему важны для успешного развития э...
Какие каналы общения с клиентами по-настоящему важны для успешного развития э...Какие каналы общения с клиентами по-настоящему важны для успешного развития э...
Какие каналы общения с клиентами по-настоящему важны для успешного развития э...
 
Høsten 2011
Høsten 2011Høsten 2011
Høsten 2011
 
HISTORIA DE LA MEDICINA VZLA 1
HISTORIA DE LA MEDICINA VZLA 1HISTORIA DE LA MEDICINA VZLA 1
HISTORIA DE LA MEDICINA VZLA 1
 
บท4
บท4บท4
บท4
 
Columdae work local, trade global!- japanese
Columdae   work local, trade global!- japaneseColumdae   work local, trade global!- japanese
Columdae work local, trade global!- japanese
 
สุกศึกษา206กลุ่ม 3
สุกศึกษา206กลุ่ม 3สุกศึกษา206กลุ่ม 3
สุกศึกษา206กลุ่ม 3
 
Apresentação ae a_2011
Apresentação ae a_2011Apresentação ae a_2011
Apresentação ae a_2011
 

Similar a Wi max technology

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPop Cholthicha
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPop Cholthicha
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPop Cholthicha
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPop Cholthicha
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPop Cholthicha
 
Week 1 2-wimax_(g6)
Week 1 2-wimax_(g6)Week 1 2-wimax_(g6)
Week 1 2-wimax_(g6)takcapol
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)supatra2011
 
Nectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailand
Nectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailandNectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailand
Nectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailandtaweesakw
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตWanphen Wirojcharoenwong
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ARAM Narapol
 

Similar a Wi max technology (20)

Wimax
WimaxWimax
Wimax
 
Wimax_SLIDE
Wimax_SLIDEWimax_SLIDE
Wimax_SLIDE
 
405609008 2
405609008 2405609008 2
405609008 2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Wiimax
WiimaxWiimax
Wiimax
 
Wiimax
WiimaxWiimax
Wiimax
 
Wiimax
WiimaxWiimax
Wiimax
 
Week 1 2-wimax_(g6)
Week 1 2-wimax_(g6)Week 1 2-wimax_(g6)
Week 1 2-wimax_(g6)
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
 
Nectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailand
Nectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailandNectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailand
Nectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailand
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
 
Ieee802wireless
Ieee802wirelessIeee802wireless
Ieee802wireless
 
Network System
Network SystemNetwork System
Network System
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Wi max technology

  • 1. 1    รายงานการศึกษาเรื่อง Technology WiMAX โดย นางสาวอรวรรณ อร่ ามวิทย์ รหัสนักศึกษา 13510263 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศเพือการออกแบบ เอกเว็บและสื่ อโต้ ตอบ ่ ( Web and Interactive) รายงานการศึกษาฉบับนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา 802407 สั มมนา ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2554
  • 2. 2    คํานํา รายงานฉบับนี้จดทาเพื่อต้องการอธิบายเกี่ยวกับการใช้งาน 3D กับ web application ให้ กับบุคคล ที่ ั สนใจเกี่ยวกับงานด้าน 3D ซึ่งจะชี้แจงถึงข้อมูลรายละเอียด และนําเสนอตัวอย่างที่น่าสนใจ ให้ กับผูอ่านได้ ้ เข้าใจอย่างถูกต้อง ซึ่ งรายงานนี้ จะมี เนื้ อหาเกี่ยวกับความรู ้ เบื้องต้นเกี่ยวกับงาน web application และ ํ ั เทคโนโลยีใหม่ที่นามาใช้กบงานเว็บไซต์ โปรแกรมที่ใช้สาหรับการทํา 3D ลงเว็บไซต์ รวมทั้งสื่ อด้านต่าง ํ ๆ ที่นาเอา 3D มาใช้งาน ผูจดทําหวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้ ความรู ้ และเป็ นประโยชน์แก่ผอ่านทุก ๆท่าน ํ ้ั ู้ นางสาว อรวรรณ อร่ ามวิทย์
  • 3. 3    WiMAX Technology ํ คลื่นลูกใหม่ของโลกไร้สายที่กาลังจะมาถึง ่ เมื่อการเชื่อมโยงแบบไร้สายเป็ นทางเลือกที่เพิ่มมูลค่าขึ้นได้อย่างรวดเร็ วดังเช่นที่เป็ นอยูในปั จจุบน ั อุปสรรคทางภูมิศาสตร์ ไม่อาจกางกั้นไฟแห่ งแรงปรารถนาของมนุ ษยชาติ เทคโนโลยีอินเทอร์ เน็ตได้ถือ กําเนิดขึ้นเป็ นโครงข่ายสื่ อสารที่โยงใยผูคนทัวโลกเข้าไว้ดวยกัน การสื่ อสารไร้สายความเร็ วสู งที่ครอบคลุม ้ ่ ้ พื้นที่ได้ถูกวิวฒนาการขึ้น ให้ผูคนโลดเล่นไปเฉกเช่นจินตนาการของโลกแห่ งเวทมนต์ ก็เพียงแต่คุณอยู่ ั ้ หน้าจอ ก็สามารถเดินทางรอนแรมท่องเที่ยวไปทัวโลกได้แค่ชวพริ บตา... ่ ั่ ในยุคแรกของการนําเอาเทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สายมาใช้งานนั้นมักจะมุ่งเน้นไปที่การเชื่อมต่อ แบบจุ ด ต่ อจุ ด (Point-to-Point) ซึ่ ง เชื่ อ มโยงระบบเครื อข่ า ยภายในอาคาร 2 แห่ ง เข้าด้ว ยกัน เพื่อให้ ติดต่อสื่ อสารถึงกันได้ ซึ่งต่อมาการใช้งานรู ปแบบนี้มีขอจํากัด จึงได้มีการพัฒนาการเชื่อมต่อในอีกรู ปแบบ ้ หนึ่ งขึ้น โดยเป็ นการเชื่อมต่อแบบจุดหนึ่ งไปหลาย ๆ จุดได้ (Point-to-Multipoint) ซึ่ งวิธีการนี้ ทาให้ผให้ ํ ู้ บริ การระบบอินเทอร์ เน็ตบรอดแบนด์สามารถให้บริ การที่ครอบคลุมพื้นที่ให้บริ การได้กว้างขึ้น ซึ่ งในแง่ ของธุ รกิจแล้วนั้นให้ความคุมค่าในการลงทุนมากกว่า ดังนั้นระบบบรอดแบนด์ไร้สายจึงเป็ นเทคโนโลยีที่ ้ ช่วยให้ผให้บริ การสามารถขยายพื้นที่ในการให้บริ การบรอดแบนด์ได้อย่างรวดเร็ วและมีประสิ ทธิ ภาพ อีก ู้ ทั้ง ยัง ใช้ง บประมาณในการลงทุ น ที่ ต่ า กว่า เมื่ อ เที ย บกับ การติ ด ตั้ง ระบบบรอดแบนด์แ บบใช้ส ายอย่า ง ํ ั โครงข่ายใยแก้วนําแสงที่ตองมีการลากสายและติดตั้งท่อร้อยสายใต้ดินรวมถึงจะเป็ นทางเลือกใหม่ให้กบ ้ ผูใช้ในการใช้บริ การบรอดแบนด์ความเร็ วสูงในราคาประหยัดอีกด้วย ้ สําหรั บการเติ บโตของบรอดแบนด์ทวโลกโดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชี ยนั้นได้มีการเติ บโตอย่าง ั่ ต่อเนื่ องในช่ วงหลายปี ที่ผ่านมาและได้มีการคาดการณ์ ไว้ว่าจะยังคงเติบต่ออย่างต่อเนื่ อง เนื่ องจากความ ต้องการการสื่ อสารข้อมูลที่มีความเร็ วสู งมากกว่า แต่เทคโนโลยีเก่าอย่าง Dial-Up ไม่สามารถตอบสนอง ความต้องการของผูใช้งานและสื่ อแบบมัลติมีเดียที่เป็ นการสื่ อสารทั้งสัญญาณภาพ เสี ยงและข้อมูลได้ ดังนั้น ้ จากเหตุผลที่ได้กล่าวมาทําให้เทคโนโลยีการสื่ อสารบรอดแบนด์ไร้สายกลายเป็ นทางเลือกใหม่ที่ลงทุนตํ่า และเป็ นเทคโนโลยีซ่ ึ งสามารถนํามาประยุกต์ใช้ในการให้บริ การได้หลากหลายไม่ว่าจะเป็ นส่ วนขยายของ บริ ก ารฮอตสปอทหรื อ การบริ ก ารบรอดแบนด์ค วามเร็ ว สู ง ไปยัง จุ ด ซึ่ ง โครงข่ า ยใยแก้ว นํา แสงไม่ ไ ด้
  • 4. 4    WiMAX คืออะไร ? WiMAX เป็ นชื่ อเรี ยกเทคโนโลยีไร้สายรุ่ นใหม่ล่าสุ ดที่คาดหมายกันว่า จะถูกนํามาใช้งานในอนาคต อันใกล้น้ ี โดย WiMAX เป็ นชื่อย่อของ Worldwide Interoperability for Microwave Access ซึ่ งเป็ น เทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สายความเร็ วสู งรุ่ นใหม่ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาบนมาตรฐาน IEEE 802.16 ซึ่งต่อมาก็ได้ พัฒนามาตรฐาน IEEE 802.16a ขึ้น โดยได้การอนุ มติออกมาเมื่อเดือนมกราคม 2004 โดยสถาบัน ั วิศวกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิ กส์ หรื อ IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers) ซึ่งมีรัศมี ทําการที่ 30 ไมล์ หรื อเป็ นระยะทางประมาณ 50 กิโลเมตร ซึ่งนันหมายความว่า WiMAX สามารถให้บริ การ ่ ครอบคลุมพื้นที่กว้างกว่าระบบโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 3G มากถึง 10 เท่า ยิงกว่านั้นก็คือยังมีอตรา ่ ั ความเร็ วในการส่ งผ่านข้อมูลสู งสุ ดถึง 75 เมกะ บิตต่อวินาที (Mbps) ซึ่ งเร็ วกว่า 3G ถึง 30เท่า ทีเดียว โดยมาตรฐาน IEEE 802.16a หรื อ WiMAX มีความสามารถในการส่ งกระจาย สัญญาณในลักษณะจากจุดเดียวไปยังหลายจุด (Point-to-multipoint) ได้พร้อมๆ กัน โดยมี ความสามารถรองรับการทํางานในแบบ Non- รูป 1 แสดงการรั บส่ งสัญญาน WiMAX ไปยังเครือข่ ายให้ บริการ Line-of-Sight ได้ สามารถทํางานได้แม้กระทัง ่ มีสิ่งกีดขวาง เช่น ต้นไม้ หรื อ อาคารได้เป็ นอย่างดี ส่ งผลให้ WiMAX สามารถช่วยให้ผที่ใช้งาน สามารถ ู้ ขยายเครื อข่ายเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตได้กว้างขวางด้วยรัศมีทาการถึง 31 ไมล์ หรื อประมาณ 48 กิโลเมตร และ ํ มีอตราความเร็ วในการรับส่ งข้อมูลสู งสุ ดถึง 75 Mbps มาตรฐาน IEEE 802.16a นี้ ใช้งานอยู่บนคลื่น ั ไมโครเวฟที่ความถี่ระหว่าง 2-11 กิกะเฮิรตซ์ (GHz) และยังสามารถใช้งานร่ วมกับอุปกรณ์มาตรฐานชนิ ด อื่นๆ ที่ออกมาก่อนหน้านี้ได้เป็ นอย่างดี จากจุดเด่นของการทํางานของ WiMAX ข้างต้น ทําให้เทคโนโลยีตวนี้ สามารถตอบสนองความ ั ต้องการของการเชื่อมต่อเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตให้กบพื้นที่ที่ห่างไกล ที่สายเคเบิ้ลไม่สามารถลากไปไม่ถึงได้ ั
  • 5. 5    รูป 2 สัญญาน WiMAX สามารถเชื่อมต่ อบรอดแบนด์ ระยะไกล เป็ นแบบฮอตสปอต และระบบเซลลูลาร์ ซึ่งประโยชน์ดงกล่าวนี้ ทําให้เราสามารถนํา WiMAX ไปประยุกต์เพื่อลดช่องว่างของ เทคโนโลยี ั ในพื้นที่ห่างไกลที่เทคโนโลยีเข้าไปไม่ถึง ตลอดจนสนองความต้องการ การใช้งานบรอดแบนด์ในเมืองที่มี พื้นที่แออัดได้อย่างสะดวกรวดเร็ ว และมีค่าใช้จ่ายที่ประหยัดกว่าการติดตั้งเครื อข่ายในแบบวางสายสัญญาณ ที่ใช้งานกันอยู่   รูป 3 WiMAX สามารถเข้ าถึงพืนที่ห่างไกลได้ ้
  • 6. 6    ตารางเปรียบเทียบเทคโนโลยีไร้ สายในแบบต่ างๆ เทคโนโลยี มาตรฐาน เครือข่ าย อัตราความเร็ว ระยะทาง ความถี่ Wi-Fi IEEE 802.11a WLAN สูงสุ ด 54Mbps 100 เมตร 5GHz Wi-Fi IEEE 802.11b WLAN สูงสุ ด 11Mbps 100 เมตร 2.4GHz Wi-Fi IEEE 802.11g WLAN สูงสุ ด 54Mbps 100 เมตร 2.4GHz WiMAX IEEE 802.16d WMAN สูงสุ ด 75Mbps (20MHz ปกติ 6.4 - 10 Sub 11GHz BW) กิโลเมตร WiMAX IEEE 802.16e Mobile สูงสุ ด 30Mbps (10MHz ปกติ 1.6 – 5 2 - 6 GHz WMAN BW) กิโลเมตร WCDMA/UMTS 3G WWAN สูงสุ ด 2Mbps/10Mbps ปกติ 1.6 – 8 1800, 1900, (HSDPA) กิโลเมตร 2100MHz CDMA2000 1x EV- 3G WWAN สูงสุ ด 2.4Mbps ปกติ 1.6 – 8 400, 800, 900, 1700, DO กิโลเมตร 1800, 1900, 2100MHz EDGE 2.5G WWAN สูงสุ ด 348Kbps ปกติ 1.6 – 8 1900MHz กิโลเมตร UWB IEEE 802.15.3a WPAN 110 – 480Mbps 10 เมตร 7.5GHz สําหรับมาตรฐานของเทคโนโลยี WiMAX ที่มีการพัฒนาขึ้นมาในขณะนี้น้ น มีดงต่อไปนี้ ั ั • IEEE 802.16 เป็ นมาตรฐานที่ให้ระยะทางการเชื่อมโยง 1.6 – 4.8 กิโลเมตร เป็ นมาตรฐานเดียวที่ สนับสนุน LoS (Line of Sight) โดยมีการใช้งานในช่วงความถี่ที่สูงมากคือ 10-66 กิกะเฮิรตซ์ (GHz) • IEEE 802.16a เป็ นมาตรฐานที่แก้ไขปรับปรุ งจาก IEEE 802.16 เดิม โดยใช้งานที่ความถี่ 2-11 กิกะ เฮิรตซ์ ซึ่ งคุณสมบัติเด่นที่ได้รับการแก้ไขจากมาตรฐาน 802.16 เดิมคือคุณสมบัติการรองรับการ ่ ทํางานแบบที่ไม่อยูในระดับสายตา ( NLoS - Non-Line-of-Sight) ทั้งยังมีคุณสมบัติการทํางานเมื่อมี ็ั สิ่ งกีดขวาง อาทิเช่น ต้นไม้, อาคาร ฯลฯ นอกจากนี้กยงช่วยให้สามารถขยายระบบเครื อข่ายเชื่อมต่อ อินเทอร์ เน็ตไร้สายความเร็ วสู งได้อย่างกว้างขวางด้วยรัศมีทาการที่ไกลถึง 31 ไมล์ หรื อประมาณ ํ 48 กิโลเมตร และมีอตราความเร็ วในการรับส่ งข้อมูลสู งสุ ดถึง 75 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) ทําให้ ั สามารถรองรับการเชื่อมต่อการใช้งานระบบเครื อข่ายของบริ ษทที่ใช้สายประเภท ที1 (T1-type) ั
  • 7. 7    • IEEE 802.16e เป็ นมาตรฐานที่ออกแบบมาให้สนับสนุนการใช้งานร่ วมกับอุปกรณ์พกพาประเภท ต่างๆ เช่น อุปกรณ์พีดีเอ โน้ตบุ๊ก เป็ นต้น โดยให้รัศมีทางานที่ 1.6 – 4.8 กิโลเมตร มีระบบที่ช่วย ํ ช่วยให้ผใช้งานยังสามารถสื่ อสารได้โดยให้คุณภาพในการสื่ อสารที่ดีและมีเสถียรภาพขณะใช้งาน ู้ ่ ่ แม้วามีการเคลื่อนที่อยูตลอดเวลาก็ตาม รู ปแบบการใช้ งาน WiMAX ในส่ วนต่ างๆ ระบบบรอดแบนด์ตามความต้องการ (Broadband on-demand) สําหรับระบบเครื อข่ายไร้สาย มาตรฐาน WiMAX นั้น จะช่ วยให้เหล่าโอเปอเรเตอร์ ต่างๆ สามารถจัดสรรงานบริ การที่มีความเร็ วสู ง เทียบเท่าระบบเครื อข่ายแบบใช้สายได้ โดยใช้เวลาการติดตั้งที่น้อยกว่า มีราคาที่ถูกกว่ามาก นอกจากนั้น WiMAX ก็ยงช่วยให้มีการจัดเตรี ยมการใช้งานระบบสื่ อสารความเร็ วสู งในรู ปแบบตามความต้องการได้ใน ั ทันทีทนใด โดยรู ปแบบนี้ เหมาะสําหรับการทํางานในแบบชัวคราว อาทิเช่น การจัดนิ ทรรศการ การจัดงาน ั ่ งานประชุม การจัดงานแสดงสิ นค้า เป็ นต้น ระบบการสื่ อสารบรอดแบนด์สําหรั บที่ พ กอาศัย ขณะที่ เทคโนโลยีก ารใช้งานสายเคเบิ ลและ ั เทคโนโลยี DSL ที่ถูกใช้งานในปั จจุบนนั้นมีช่องว่างในการใช้งานมาก ด้วยข้อจํากัดของการวางโครงข่ายที่ ั ่ มีอยูและต้นทุนของการวางระบบ ทําให้ไม่สามารถให้บริ การกับผูที่ตองการใช้งานจํานวนมากซึ่ งต้องการ ้ ้ ระบบการสื่ อสารระดับบรอดแบนด์ได้ แต่ขอจํากัดเหล่านี้ จะถูกทลายลง เมื่อมีการเปิ ดตัวระบบที่อางอิงกับ ้ ้ มาตรฐาน WiMAX ออกมา โดยแอพพลิเคชันสําหรับการสื่ อสารบรอดแบนด์ไร้สาย WiMAX จะช่วยให้ สามารถพัฒนางานต่างๆ ที่สนองตอบความต้องการการใช้งานบรอดแบนด์ในรู ปแบบต่างๆ ได้ พื้นที่ซ่ ึ งบริ การเข้าไม่ถึง นับว่าเทคโนโลยีระบบการสื่ อสารอินเทอร์ เน็ตไร้ สายความเร็ วสู งที่ได้ อ้างอิงกับมาตรฐาน WiMAX นี้ เป็ นตัวเลือกที่เหมาะสมเป็ นอย่างยิง สําหรับการใช้งานในพื้นที่ห่างไกล ใน ่ เขตที่มีขอจํากัดของการเดินสายนําสัญญาณในระบบ DSL ้ บริ การการสื่ อสารแบบไร้สายคุณภาพสู ง มาตรฐานIEEE 802.16e ซึ่ งเป็ นส่ วนต่อเติมของ IEEE 802.16a นั้นเป็ นคุณสมบัติแบบพิเศษที่พฒนาขึ้นมาให้รองรับการใช้งานในแบบที่ตองเคลื่อนที่ตลอดเวลา ั ้ เหมาะสําหรับอุปกรณ์ ในแบบพกพาสําหรับการเดิ นทาง ซึ่ งช่ วยให้ผูใช้งานยังสามารถสื่ อสารได้โดยให้ ้ ่ ่ คุณภาพในการสื่ อสารที่ดีและมีเสถียรภาพขณะใช้งาน แม้วามีการเคลื่อนที่อยูตลอดเวลาก็ตาม
  • 8. 8    การส่ งสัญญาณแบบ Cellular Backhaul ด้วยแบนด์วิดท์การใช้งานของ WiMAX ที่มีอยู่อย่าง เหลือเฟื อ จึงทําให้มีความเหมาะสมเป็ นอย่างยิ่งกับการที่จะนํามาใช้งานให้รองรับการส่ งสัญญาณในแบบ ย้อนกลับไปยังสถานีฐานระบบเซลลูลาร์ ซึ่งมีการติดต่อสื่ อสารกันในแบบจุดต่อจุดได้ WiMAX มีอะไรใหม่ ๆ ทีโดนใจบ้ าง ? ่ เรื่ องของความเร็ ว : สําหรับ WiMAX นั้น ได้ให้อตราความเร็ วในการส่ งสัญญาณข้อมูลมากถึง 75 เมกะบิต ั ต่อวินาที (Mbps) โดยใช้กลไกการเปลี่ยนคลื่นสัญญาณที่ให้ประสิ ทธิภาพสู ง สามารถส่ งสัญญาณออกไปได้ ในระยะทางไกลมากถึ ง 30 ไมล์ หรื อ 48 กิ โลเมตร ภายใต้คลื่ นความถี่ ระดับสู งที่มีประสิ ทธิ ภาพในการ ทํางานสูง ทั้งก็ยงไม่มีปัญหาเรื่ องของสัญญาณสะท้อนอีกด้วย นอกจากนั้นแล้ว สถานีฐาน(Base Station) ยัง ั สามารถพิจารณาความเหมาะสมในระหว่างความเร็ ว และระยะทางได้อีก ตัวอย่างเช่น ถ้าหากการใช้เทคนิ ค ในแบบ 64 QAM (Quadarature Amplitude Modulation) ไม่สามารถรองรับการสื่ อสารที่มีประสิ ทธิภาพได้ การเปลี่ยนไปใช้ 16 QAM หรื อ QPSK (Quadarature Phase Shift Key) ซึ่งจะช่วยเพิ่มระยะทางการในการ สื่ อสารให้มากขึ้นได้ การบริ การที่ครอบคลุม : นอกจาก WiMAX จะใช้เทคนิ คของการแปลงสัญญาณที่ให้ความคล่องตัวในการ ใช้งานสู ง และเปี่ ยมประสิ ทธิ ภาพแล้ว มาตรฐาน IEEE 802.16a ก็ยงสามารถรองรับการทํางานร่ วมกับ ั เทคโนโลยี ซ่ ึ งขยายพื้ น ที่ ก ารให้ บ ริ การให้ ก ว้า งขวางมากขึ้ นได้ ตัว อย่ า งเช่ น ระบบเครื อข่ า ยที่ ใ ช้ สถาปั ตยกรรมแบบผสมผสาน (Mesh Topology) และเทคนิคการใช้งานกับเสาอากาศแบบอัจฉริ ยะ (Smart Antenna) ที่ช่วยประหยัดต้นทุนและเพิ่มอัตราความเร็ วของการรับส่ งสัญญาณที่ให้สมรรถนะในการทํางาน น่าเชื่อถือสูง ความสามารถในการขยายระบบ : ระบบ WiMAX นั้นมีความสามารถในเรื่ องการรองรับการใช้งานแบนด์ ่ วิดท์, ช่องสัญญาณ สําหรับการสื่ อสารได้ดวยความยืดหยุน โดยสามารถปรับให้สอดคล้องกับแผนการติดตั้ง ้ เซลล์ในย่านความถี่ที่ตองจ่ายค่าลิขสิ ทธิ์ หรื อ ย่านความถี่ที่ได้รับการยกเว้นค่าลิขสิ ทธิ์ ทัวโลก อาทิเช่น ถ้า ้ ่ โอเปอเรเตอร์ที่ให้บริ การนั้นได้รับคลื่นความที่ 20 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) ก็สามารถที่จะทําการแบ่งคลื่นความถี่ นี้ ออกเป็ น 2 ส่ วน โดยแต่ละส่ วนนั้นอยู่ที่ 10 เมกะเฮิ รตซ์ (MHz) หรื อจะแบ่งออกเป็ น 4 ส่ วน ๆ ละ 5 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) ก็ได้ ทําให้โอเปอเรเตอร์สามารถบริ หารจัดการแต่ละส่ วนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ทั้งยัง เพิมเติมผูใช้งานในแต่ละส่ วนได้อีกด้วย ่ ้
  • 9. 9    การจัดลําดับความสําคัญของงานบริ การ (QoS - Quality of Service) สําหรับระบบเครื อข่ายไร้สาย มาตรฐาน WiMAX นี้ มีคุณสมบัติดาน QoS (Quality of Service) ที่รองรับการทํางานของบริ การ ้ สัญญาณเสี ยงและสัญญาณวิดีโอ ซึ่ งต้องการระบบเครื อข่ายที่ไม่สามารถทํางานด้วยความล่าช้าได้ บริ การ ่ เสี ยงของ WiMAX นี้ อาจจะอยูในรู ปของบริ การ Time Division Multiplexed (TDM) หรื อบริ การในรู ปแบบ Voice over IP (VoIP) ก็ได้ โดยโอเปอเรเตอร์สามารถกําหนดระดับความสําคัญของการใช้งานให้เหมาะสม กับรู ปแบบการใช้งานต่างๆ อาทิ สําหรับบริ การให้องค์กรธุรกิจ, ผูใช้งานตามบ้านเรื อน เป็ นต้น ้ ระบบรักษาความปลอดภัย : นับเป็ นคุณสมบัติที่มีความสําคัญเป็ นอย่างยิ่ง โดยคุณสมบัติของการรักษา ความลับของข้อมูลและการเข้ารหัสข้อมูล ซึ่ งอยู่ในมาตรฐาน WiMAX ที่จะช่วยให้การสื่ อสารมีความ ปลอดภัยมากยิงขึ้น แถมยังมีระบบตรวจสอบสิ ทธิการใช้งานและมีระบบการเข้ารหัสข้อมูลในตัวด้วย ่ สําหรับอุปกรณ์ที่ใช้งานร่ วมกับเทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สายมาตรฐาน WiMAX นั้น มีองค์กรที่ ได้รับการจัดตั้งจากบรรดาบริ ษทเทคโนโลยีช้ นนําอย่าง Nokia, Intel, Proxim, Fujitsu, Alvarion ฯลฯ ที่มีชื่อ ั ั เรี ยกกันว่า WiMAX Forum ขึ้น เพื่อร่ วมกันพัฒนาและกําหนดมาตรฐานกลางของเทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้ สายความเร็ วสู งมาตรฐาน IEEE 802.16 รวมถึงการทําหน้าที่ทดสอบและออกใบรับรองให้แก่อุปกรณ์ที่ใช้ มาตรฐานไร้สายระบบใหม่ ทั้งนี้มาตรฐาน IEEE 802.16 จะถูกเรี ยกกันโดยทัวไปว่า WiMAX เช่นเดียวกับที่ ่ มาตรฐาน IEEE 802.11 เคยได้รับการรู ้จกในชื่อ Wi-Fi มาแล้ว ั เปรียบเทียบความแตกต่ างระหว่ าง Wi-Fi กับ WiMAX -WiMAX เป็ นคลื่นสัญญาณที่ได้รับสัมปทานในการเชื่อมต่อ แบบ point-to-point กับผูให้บริ การอินเตอร์ เน็ต ISP ไปยัง ้ ลูกค้า end user โดยใช้มาตรฐาน 802.16 กับการเชื่อมต่อจาก อุปกรณ์แบบพกพา เช่นโทรศัพท์ไร้สาย -Wi-Fi เป็ นคลื่นที่ไม่ได้รับสัมปทานในการเชื่อมต่อเครื อข่าย นั้น หมายความว่ า มี แ ค่ สั ญ ญาณครอบคลุ ม กับ รหั ส ผ่า นก็ รูป 4 แสดงความแตกต่ างระหว่ าง Wi‐Fi กับ WiMAX สามารถเข้าใช้งานได้แล้ว WiMAX และ Wi-Fi มีการกําหนดความต้องการในการใช้บริ การ Quality of Service (QoS) โดย WiMAX จะใช้ก ลไกในการเชื่ อ มต่ อ ระหว่ า งสถานี ฐ านกับ อุ ป กรณ์ ข องผูใ ช้ โดยในแต่ ล ะการเชื่ อ มต่ อ จะมี ก าร ้
  • 10. 10    บทสรุป แม้ว่าในขณะนี้ WiMAX จะเป็ นเทคโนโลยีใหม่ที่ยงไม่เป็ นที่รู้จกกันอย่างแพร่ หลาย แต่ WiMAX ก็ถือว่า ั ั เป็ นเทคโนโลยีที่มีอนาคตสดใส เป็ นทางเลื อกหนึ่ งที่ จะเข้ามาช่ วยตอบสนองความต้องการการใช้งาน อินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู งซึ่ งมีแนวโน้มเติบโตอย่างรวดเร็ วได้เป็ นอย่างดี และหากมองถึงประโยชน์ในการ ขยายเครื อข่ายบรอดแบนด์ให้เข้าถึงพื้นที่ที่อยูห่างไกลแล้ว ผลประโยชน์ก็จะเกิดขึ้นกับผูใช้งานทุกคนที่จะมี ่ ้ โอกาสได้ใช้เครื อข่ายสื่ อสารความเร็ วสู งอย่างเท่าเที ยมกัน รวมไปถึ งการช่ วยสร้ างรายได้และโอกาส ทางการตลาดให้กับเหล่าโอเปอเรเตอร์ ผูให้บริ การอิ นเทอร์ เ น็ ตไร้ สาย รวมทั้งบรรดาผูผลิ ตอุ ปกรณ์ ที่ ้ ้ เกี่ ยวข้อง และเชื่ อได้ว่าในอนาคตอันใกล้น้ ี เราจะได้สัมผัสกับเทคโนโลยี WiMAX อย่างแพร่ หลาย ่ เช่นเดียวกับที่ Wi-Fi ประสบความสําเร็ จอยูในปัจจุบนนี้ ั
  • 11. 11    บรรณานุกรม • กวีรัตน์ เพ็งแจ่ม, WiMAX Technology, http://www.buycoms.com/upload/coverstory/111/WiMax.html • SiamWiMAX.Com, เปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่าง Wi-Fi กับ WiMAX 29 ตุลาคม 2009 , http://www.siamwimax.com/2009/11/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A 1%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8 %87wifi-wimax/ • นายพินิจ ใจประสงค์, WiMAX คืออะไร 24 มีนาคม 2007, http://www.vcharkarn.com/vblog/16355