SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 25
Descargar para leer sin conexión
สรุปประเด็นและสาระสาคัญ
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานด้านพิจารณาโครงการ
ระหว่างสานักงานชลประทานที่ 1 - 4
วันที่ 31 สิงหาคม - 1 กันยายน 2558
ณ สานักงานชลประทานที่ 1 อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
1
สรุปเรื่องอ่างเก็บน้้า
1.การประเมินศักยภาพความจุอ่างฯ ต้องพิจารณาจากข้อมูลปริมาณน้้าฝนที่มีสถิติที่ยาวนานเพียงพอเพื่อ
น้ามาประเมินหาปริมาณน้้าท่าเฉลี่ยรายปี
2.การก้าหนดความจุอ่างฯ ที่ผ่านมากรมฯ ส่วนใหญ่ก้าหนดไว้ที่ประมาณ 1/3 ของปริมาณน้้าท่าเฉลี่ย ท้า
ให้น้้าต้นทุนที่ได้มีน้อยเกินไป ส่งผลให้อาคารระบายน้้าล้นมีขนาดใหญ่และมีค่าก่อสร้างสูงตามไปด้วย
3.จากข้อ 2 ส่งผลให้เมื่อเวลาผ่านไปปริมาณน้้ามีไม่เพียงพอต่อความต้องการ ต้องมาปรับปรุงตัวเขื่อนเพื่อ
เพิ่มความจุ ซึ่งมักจะเกิดปัญหาไม่สามารถท้าได้เพราะจะส่งผลต่อความมั่นคงแข็งแรงของตัวเขื่อนและอาคาร
ประกอบ ดังนั้นการวางโครงการต้องมองเผื่ออนาคตไว้ด้วยเพราะถือเป็นหัวใจและจุดเริ่มต้นของ
กระบวนการพัฒนาแหล่งน้้าโดยแท้จริง
4.การก้าหนดวัตถุประสงค์การใช้งานของอ่างเก็บน้้า ควรเปลี่ยนแปลงจากวัตถุประสงค์เชิงเดี่ยว ในอดีต
เฉพาะเพื่อการเกษตรกรรมอย่างเดียว ปัจจุบันต้องค้านึงถึงการการอุปโภค-บริโภคเป็นสิ่งแรก ล้าดับที่สอง
เพื่อรักษาระบบนิเวศของลุ่มน้้า (Keep ปริมาณน้้าต่้าสุดที่เคยไหลในแต่ละช่วงฤดูของล้าน้้า) และส่วนที่
เหลือจากนั้นจึงจะจัดสรรไปใช้ในการท้าเกษตรกรรม
2
สรุปเรื่องอ่างเก็บน้้า
5.การก้าหนดความจุอ่างฯ ผชช.ทั้ง 4 ท่านมีความเห็นว่าควรมีการเผื่อปริมาณน้้าเพื่อการบรรเทาอุทกภัย
ไว้ด้วย เพราะมีโอกาสเกิด Peak flood ในรอบปีต่างๆ นอกจากนั้นความจุฯ ที่เพิ่มขึ้นยังสามารถส้ารอง
น้้าไว้ใช้เพื่อกิจกรรมต่างๆ ในอนาคตได้อีกมากขึ้น
6.การออกแบบ Spillway ต้องค้านึงถึงความจุล้าน้้าด้านท้ายของตัวเขื่อนด้วย ว่าสามารถที่จะรองรับ
ปริมาณน้้าหลาก หรือ Flood ในรอบ Return period ต่างๆ ได้หรือไม่
หากไม่เพียงพอต้องออกแบบปรับปรุงล้าน้้าให้สามารถระบายน้้าได้อย่างเพียงพอ
7.การ Run โปรแกรม ROS เป็นประโยชน์ทั้งด้านงานพิจารณาโครงการ (ก่อนก่อสร้าง) รวมทั้งเป็น
ประโยชน์ต่องานจัดสรรน้้าและบ้ารุงรักษา (ภายหลังการก่อสร้าง) ด้วย หากมีการใช้ข้อมูลจริงทั้งปริมาณ
น้้า Inflow และข้อมูลปริมาณความต้องการใช้น้้าในกิจกรรมต่างๆ จะสามารถเข้าใจลักษณะลุ่มน้้าและ
บริหารจัดการน้้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3
สรุปเรื่องฝาย
1.ฝายกับ ปตร.ท้าหน้าที่แตกต่างกันอย่างไร
2.สูตรการค้านวณทางอุทกวิทยาที่ใช้ในงานวางโครงการ วิศวกรควรต้องทราบที่มา เงื่อนไขและข้อจ้ากัด
การใช้งานให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ เพื่อที่จะสามารถน้าไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างถูกต้องเหมาะสม เช่น สูตร
Q = CIA นั้น มีสมมุติฐานว่าการกระจายของปริมาณน้้าฝนมีความสูงเท่ากันทั่วพื้นที่ 10 ตารางไมล์
(Uniform Rainfall Distribution) เป็นต้น
3.วิศวกร/นายช่างชลประทาน ควรมีความเข้าใจอย่างถ่องแท้ทั้งในด้านวิศวกรรม เศรษฐศาสตร์และ
สิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นคุณลักษณะของช่างที่ดี เช่นช่างของกรมพัฒนาที่ดินซึ่งสามารถตอบค้าถามได้ว่า
ลักษณะดินเป็นอย่างไร น้้าเป็นอย่างไร และผลผลิตต่อไร่ต่อปีมีปริมาณเท่าใด
4.งานวางโครงการหรืองานพิจารณาโครงการนั้น แท้ที่จริงแล้วหมายถึงการออกแบบเบื้องต้น วิศวกร
ผู้รับผิดชอบต้องใช้ความรู้ความสามารถ และต้องมองไปข้างหน้าในอนาคตให้ครบทั้งกระบวนการ ตั้งแต่
การออกแบบ การก่อสร้าง การใช้งานและบ้ารุงรักษา งานวางโครงการจึงมีความส้าคัญเป็นอย่างยิ่ง
4
สรุปเรื่องฝาย
5.โครงการประเภทฝายทดน้้า นอกจากผลประโยชน์ด้านบวกที่ตัวฝายจะช่วยทดน้้าและชะลอปริมาณน้้า
โดยเฉพาะในฤดูแล้งให้สามารถท้าการเพาะปลูกได้แล้ว แต่ในฤดูน้้าหลากฝายอาจจะเป็นตัวอุปสรรคในการ
ระบายน้้าจนเป็นสาเหตุที่ท้าให้เกิดน้้าท่วมได้ ได้หากขาดการพิจารณาลักษณะสภาพภูมิประเทศในพื้นที่และ
การก้าหนดลักษณะอาคารด้านชลศาสตร์อย่างรอบคอบ
6.การวิเคราะห์ปริมาณน้้าหลากสูงสุด สามารถใช้การสังเกตุระดับของคราบน้้าสูงสุดในอดีต และรูปตัดล้า
น้้าบริเวณดังกล่าวมาวิเคราะห์ โดยใช้สมการของ Manning
(Q = 1/n x A x R^2/3 x S^1/2 )
7.รายงานพิจารณาโครงการควรก้าหนดให้มีการออกแบบเบื้องต้น เช่นก้าหนดประเภทของฝาย ความยาว
สันฝาย ความยาวของพื้นฝาย เป็นต้น เพื่อที่จะสามารถประมาณราคาค่าก่อสร้างโครงการได้อย่างใกล้เคียง
กับความเป็นจริง
5
สรุปเรื่องฝาย
8.รายงานพิจารณาโครงการควรระบุค่าความขุ่นของล้าน้้า (Turbidity) บริเวณที่จะก่อสร้างหัวงาน
โครงการไว้ด้วย เพราะจะเป็นประโยชน์ต่อการค้านวณปริมาณตะกอนที่ตกจมหน้าฝายและการออกแบบ
ประตูระบายทรายในล้าดับต่อไป
9.การออกแบบฝาย ต้องค้านึงถึงระดับน้้าท่วมสูงสุดด้านเหนือน้้าจากอิทธิพลของตัวฝาย (Back Water
Curve) ไว้ด้วย เพราะอาจส่งผลกระทบหรือสร้างความเสียหายต่อพื้นที่เพาะปลูกหรือพื้นที่ชุมชนด้านเหนือ
น้้าของราษฎรได้
6
สรุปเรื่องสถานีสูบน้้าด้วยไฟฟ้า
1.การวางโครงการงานสูบน้้าด้วยไฟฟ้า ต้องพิจารณาภาพรวมของปริมาณน้้าต้นทุนทั้งลุ่มน้้า ว่ามีเพียงพอ
หรือไม่ เดิมกิจกรรมการใช้น้้าภายในลุ่มน้้าเป็นอย่างไร การสูบน้้าไปใช้จะมีผลกระทบต่อพื้นที่อื่นๆ หรือไม่
ประเด็นส้าคัญเหล่านี้ควรพิจารณาอย่างรอบคอบ
2.การวิเคราะห์ปริมาณน้้าต่้าสุดของรอบปีการเกิดซ้้าต่างๆ ที่เรียกว่า Low Flow Analysis มีประโยชน์
อย่างยิ่งในการคาดการระดับและปริมาณน้้าต่้าสุดที่มีโอกาสเกิดขึ้นในล้าน้้านั้นๆ ในปีน้้าแล้งติดต่อกัน ท้า
ให้สามารถวิเคราะห์ความเหมาะสมของที่ตั้งสถานีสูบน้้า เพราะหากมีปริมาณน้้าน้อยเกินไป การสูบน้้าอาจ
เกิดปัญหาการกัดกร่อน (Cavitation) ของใบพัดเครื่องยนต์สูบน้้า และสร้างความเสียหายให้กับอุปกรณ์
ต่างๆ ของระบบสูบน้้าได้
3.จากข้อ 2 หากเป็นล้าน้้าขนาดเล็กที่มีโอกาสเกิดปริมาณน้้าในล้าน้้าแห้งขอด และไม่มีอ่างเก็บน้้าอยู่
ด้านบนของลุ่มน้้า ควรจะต้องมีการก่อสร้างฝายทดน้้าเพื่อยกระดับน้้าในล้าน้้าไว้ด้วย เพื่อให้ระดับน้้าท่วม
เหนือบริเวณปากท่อสูบอยู่เสมอ ดังนั้นโครงการสูบน้้าด้วยไฟฟ้าจึงมาพร้อมโครงการประเภทฝายทดน้้าไว้
ด้วยกันเสมอ
7
สรุปเรื่องสถานีสูบน้้าด้วยไฟฟ้า
4.การวางโครงการประเภทท่อส่งน้้าควรเป็นท่อฝังดินลึกอย่างน้อยประมาณ 50 เซนติเมตร ท้าให้ไม่
สูญเสียพื้นที่ใช้งานตลอดแนวท่อที่ผ่านไป นอกจากนี้ระดับความลึกของดินขุดแนวท่อ ควรก้าหนดให้ลึก
กว่าฐานขุดดินของรถไถหรือรถแทรคเตอร์ที่ใช้ท้าการเกษตร เพื่อป้องกันไม่ให้ไปกระทบต่อตัวท่อส่งน้้าที่ฝัง
อยู่
5.ระเบียบกรมชลประทานเกี่ยวกับงานสูบน้้าด้วยไฟฟ้าควรศึกษาให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ เพื่อที่จะสามารถ
อธิบายเหตุผลความจ้าเป็นและข้อจ้ากัดของโครงการสูบน้้าด้วยไฟฟ้าให้กับราษฏรได้เข้าใจและรับทราบถึง
เงื่อนไขต่างๆ ของการอนุมัติโครงการอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ เช่นการก้าหนดพื้นที่รับประโยชน์ของ
โครงการ ปริมาณน้้าต่้าสุดที่สามารถสูบได้ Head หรือความสูงของน้้าที่สามารถสูบได้ ระเบียบค่าใช้จ่ายใน
เรื่องค่าไฟและการบริหารจัดการโครงการภายหลังจากก่อสร้างและถ่ายโอนภารกิจให้องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น เป็นต้น
8
สรุปเรื่องสถานีสูบน้้าด้วยไฟฟ้า
6.การวางโครงการประเภทสูบน้้าด้วยไฟฟ้า ต้องให้ความส้าคัญกับการเกิด Water hamer ในระบบท่อ
เป็นอย่างมาก เพราะไม่เช่นนั้นแรงดันที่เกิดขึ้นในระบบท่อจะสร้างความเสียหายให้กับทั้งเครื่องยนต์สูบน้้า
และโครงสร้างของอาคารโรงสูบได้ ในกรณีนี้สามารถป้องกันได้ด้วยการก้าหนดให้มีอาคารระบายความดัน
(Surge Tank) ในระบบให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ
7.การพิจารณาหรือก้าหนดต้าแหน่งที่ตั้งของสถานีสูบน้้าด้วยไฟฟ้ามีความส้าคัญเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะใน
พื้นที่ที่มีโอกาสเกิดปริมาณน้้าหลากหรือการเปลี่ยนแปลงระดับน้้าในล้าน้้ามีการขึ้นลงอย่างรวดเร็ว อาจส่งผล
กระทบต่อโครงสร้างอาคารโรงสูบน้้าหรือแพสูบน้้าให้ได้รับความเสียหายได้
9
10
สรุปเรื่องงานโครงการพิเศษ
1.วิศวกรชลประทานจะต้องมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในด้านอุทกวิทยาโดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่อง การศึกษาการ
เคลื่อนตัวของน้้าหลาก (Flood Routing) ของอ่างเก็บน้้าและการวิเคราะห์ดุลน้้า (ROS )เพื่อที่จะ
สามารถอธิบายผู้ที่เกี่ยวข้องได้ว่า อ่างเก็บน้้าจะช่วยชะลอน้้าหลากและช่วยบรรเทาอุทกภัยได้อย่างไร ทั้งใน
แง่ของเวลา (Translation) และยอดน้้านองสูงสุดที่ลดลง (Flood Peak) พฤติกรรมของปริมาณน้้า
Inflow และ Outflow ในขณะที่น้้าไหลลงอ่างฯ และล้น Spillway เป็นอย่างไรวิศวกรต้องสามารถ
อธิบายประเด็นต่างๆ เหล่านี้ให้ราษฎรสามารถเข้าใจและมองเห็นภาพได้
2.ภารกิจด้านไฟฟ้าพลังน้้าขนาดเล็ก กรมฯ สามารถด้าเนินการได้ในลักษณะการสนองโครงการพระราชด้าริ
3.การป้องกันตะกอนที่บริเวณหน้าฝาย สามารถป้องกันได้ด้วยการออกแบบได้ให้มีอาคารดักตะกอน โดยลด
ระดับพื้นบริเวณหน้าฝายลงไป ทั้งนี้เพื่อให้ง่ายต่อการดูแลบ้ารุงรักษาและชะลอไม่ให้ตะกอนตกทับถมถึง
ระดับปากคลองส่งน้้าเร็วเกินไป แทนที่จะให้ตะกอนนั้นตกกระจายไปทั่วบริเวณฝาย เราก็ก้าหนดจุดให้
ตะกอนตกอยู่ในบริเวณใดบริเวณหนึ่งเพื่อง่ายต่อการขุดลอกออกนั่นเอง
สรุปเรื่องงานโครงการพิเศษ
4.การวางแนวท่อส่งน้้าสามารถที่จะวางตั้งฉากกับเส้นชั้นความสูงได้ (Contour) ในบางช่วง ไม่จ้าเป็นที่
จะต้องวางขนานกับเส้นชั้นความสูงไปโดยตลอด เหตุผลเพราะปริมาณน้้า side flow ของล้าห้วยต่างๆ ที่
ตัดผ่านแนวท่อมักจะกัดเซาะหน้าดินและสร้างความเสียหายให้ท่อส่งน้้าอยู่เสมอ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความ
เหมาะสมของสภาพภูมิประเทศและระดับความสูงของ Head น้้าระหว่างต้นทางกับปลายท่อส่งน้้าต้องมีมาก
พอเมื่อหักค่าการสูญเสียหรือ Loss ทั้งหมดในระบบออกแล้วแรงดันน้้าในตัวท่อจะต้องสามารถส่งน้้าไปได้
จนถึงปลายทาง
5.การวางท่อส่งน้้าในพื้นที่ป่าเขาที่ยากต่อการล้าเลียงวัสดุเข้าไปท้าการก่อสร้าง สามารถพิจารณาออกแบบให้
ใช้แนวท่อ 2 แนวคู่ขนานกันได้ เพื่อลดขนาดท่อที่อาจจะใหญ่เกินไปและมีน้้าหนักต่อท่อนค่อนข้างสูง
(กรณีที่เป็นท่อแถวเดียว) ท้าให้การขนย้ายล้าบาก ลักษณะดังกล่าวสามารถแก้ปัญหาได้โดยเปลี่ยนมาใช้ท่อ
ขนาดเล็กกว่าวางคู่ขนานกันก็สามารถทดแทนได้เช่นกัน
6.การออกแบบฝาบ่อเก็บน้้า คสล. ในพื้นที่สูง ควรค้านึงถึงความสะดวกหรือความง่ายต่อการดูแล
บ้ารุงรักษาของผู้ใช้งานด้วย เช่นช่องเปิดที่มีขนาดเล็กเกินไปของฝาบ่ออาจท้าให้อากาศไม่เพียงพอต่อผู้ที่ลง
ไปซ่อมแซมบ้ารุงรักษา เป็นต้น
11
สรุปเรื่องการออกแบบอาคารหัวงานเบื้องต้น ส้าหรับการพิจารณาโครงการ
1.การสร้างฝายดักตะกอนไว้บริเวณเหนืออ่างเก็บน้้าเป็นวิธีการหนึ่งที่จะช่วยป้องไม่ให้อ่างเก็บน้้าตื้นเขินเร็ว
เกินไป อีกทั้งยังง่ายต่อการขุดลอกตะกอนที่บริเวณหน้าฝายออกไป ถ้าปล่อยให้ตะกอนลงมาในอ่างฯ
การขุดลอกจะท้าได้ยากเพราะตะกอนในอ่างฯ จะจับตัวรวมกันอย่างหนาแน่น อีกทั้งการขุดลอกในรัศมีที่
ใกล้กับตัวเขื่อนนั้นกระท้าได้ยาก ต้องใช้ความระมัดระวังเป็นกรณีพิเศษเพราะมีผลต่อความมั่นคงของตัว
เขื่อน (โดยปกติทั่วไปในพื้นที่รัศมี 24 เท่าของความสูงเขื่อนไปทางด้านเหนือน้้า ไม่ควรท้าการขุดลอก
หน้าดินใดๆ เพราะอาจเป็นสาเหตุให้น้้าไหลลอดตัวเขื่อนและน้ามาซึ่งความวิบัติของตัวเขื่อนได้)
2.ปัญหาของตะกอนในอ่างเก็บน้้า อาจน้ามาซึ่งสาเหตุของการอุดตันภายในท่อส่งน้้าจากอ่างเก็บน้้า
(River Outlet) และ (Canal Outlet) ท้าให้การระบายน้้าจากเอ่างฯ ขาดประสิทธิภาพ และ
ตะกอนที่ตกสะสมเป็นระยะเวลานานในพื้นที่ของอ่างเก็บน้้าขนาดเล็กซึ่งมักมีความจุอ่างฯ ไม่สูงมากนัก
มีผลท้าให้ความจุของอ่างเก็บน้้าลดลงจากที่ออกแบบไว้และตื้นเขินเร็วเกินกว่าที่ก้าหนด ประกอบกับหาก
เกิดพายุฝนตกหนักในพื้นที่ของอ่างเก็บน้้านั้นเป็นระยะเวลานาน อาจเป็นสาเหตุท้าให้เกิดปริมาณน้้าในอ่างฯ
ไหลล้นข้ามสันเขื่อน (Overtopping) และน้ามาซึ่งความวิบัติของตัวเขื่อน ท้าให้เกิดความเสียหายให้กับ
ชีวิตและทรัพย์สินของราษฏรได้ในที่สุด
12
สรุปเรื่องการออกแบบอาคารหัวงานเบื้องต้น ส้าหรับการพิจารณาโครงการ
3.ฝ่ายพิจารณาโครงการในแต่ละ สชป. ควรที่จะตั้งงบประมาณการมีส่วนร่วมเพื่อจัดการฝึกอบรมและ
ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการดูแลบ้ารุงรักษาอาคารชลประทานให้กับกลุ่มเกษตรกรได้มีความรู้ความเข้าใจใน
งานชลประทาน รวมทั้งเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้ร่วมให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และ
ก้าหนดทางเลือกในการพัฒนาแหล่งน้้าภายในพื้นที่ชุมชนของตัวเองได้อย่างยั่งยืนตั้งแต่แรกเริ่มของ
กระบวนการพัฒนาแหล่งน้้า
4.ความปลอดภัยเขื่อนนั้น เริ่มต้นตั้งแต่กระบวนการของการพิจารณาโครงการเป็นส้าคัญ
5.การพิจารณาโครงการประเภทอ่างเก็บน้้า ควรต้องสืบหาข้อมูลด้วยว่าในพื้นที่ดังกล่าวหรือใกล้เคียง ที่มี
การก่อสร้างอ่างเก็บน้้า ท้านบดิน หรือสระน้้าบริเวณพื้นที่โครงการนั้น สามารถเก็บกักน้้าได้จริงหรือไม่
น้้ามีการซึมลอดหายไปหรือไม่ เพื่อเป็นข้อสันนิษฐานถึงลักษณะทางธรณีวิทยาฐานรากของอาคารหัวงาน
ต่อไป
13
สรุปเรื่องการออกแบบอาคารหัวงานเบื้องต้น ส้าหรับการพิจารณาโครงการ
6.ควรสอบถามราษฏรด้วยว่าล้าห้วย ณ บริเวณจุดที่พิจารณาก่อสร้างนั้น มีน้้าลอด หลุมโพรง หรือโพรง
ถ้้าซึ่งเป็นลักษณะภูมิประเทศแบบภูเขาหินปูน (Karst Topography) อยู่หรือไม่ ซึ่งลักษณะดังกล่าว
ย่อมมีผลต่อค่าก่อสร้าง เทคนิควิธีการก่อสร้างของตัวเขื่อน อาคารประกอบและการปรับปรุงฐานราก โดยมี
ปัญหาต่างๆ ตามมาอีกมากมายจนในที่สุดอาจจะส่งผลให้ Site ดังกล่าวไม่มีความเหมาะสมทั้งในด้าน
วิศวกรรมและเศรษฐศาสตร์ได้
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25

Más contenido relacionado

Destacado

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Destacado (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

6.สรุปสาระสำคัญ

  • 1. สรุปประเด็นและสาระสาคัญ การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานด้านพิจารณาโครงการ ระหว่างสานักงานชลประทานที่ 1 - 4 วันที่ 31 สิงหาคม - 1 กันยายน 2558 ณ สานักงานชลประทานที่ 1 อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 1
  • 2. สรุปเรื่องอ่างเก็บน้้า 1.การประเมินศักยภาพความจุอ่างฯ ต้องพิจารณาจากข้อมูลปริมาณน้้าฝนที่มีสถิติที่ยาวนานเพียงพอเพื่อ น้ามาประเมินหาปริมาณน้้าท่าเฉลี่ยรายปี 2.การก้าหนดความจุอ่างฯ ที่ผ่านมากรมฯ ส่วนใหญ่ก้าหนดไว้ที่ประมาณ 1/3 ของปริมาณน้้าท่าเฉลี่ย ท้า ให้น้้าต้นทุนที่ได้มีน้อยเกินไป ส่งผลให้อาคารระบายน้้าล้นมีขนาดใหญ่และมีค่าก่อสร้างสูงตามไปด้วย 3.จากข้อ 2 ส่งผลให้เมื่อเวลาผ่านไปปริมาณน้้ามีไม่เพียงพอต่อความต้องการ ต้องมาปรับปรุงตัวเขื่อนเพื่อ เพิ่มความจุ ซึ่งมักจะเกิดปัญหาไม่สามารถท้าได้เพราะจะส่งผลต่อความมั่นคงแข็งแรงของตัวเขื่อนและอาคาร ประกอบ ดังนั้นการวางโครงการต้องมองเผื่ออนาคตไว้ด้วยเพราะถือเป็นหัวใจและจุดเริ่มต้นของ กระบวนการพัฒนาแหล่งน้้าโดยแท้จริง 4.การก้าหนดวัตถุประสงค์การใช้งานของอ่างเก็บน้้า ควรเปลี่ยนแปลงจากวัตถุประสงค์เชิงเดี่ยว ในอดีต เฉพาะเพื่อการเกษตรกรรมอย่างเดียว ปัจจุบันต้องค้านึงถึงการการอุปโภค-บริโภคเป็นสิ่งแรก ล้าดับที่สอง เพื่อรักษาระบบนิเวศของลุ่มน้้า (Keep ปริมาณน้้าต่้าสุดที่เคยไหลในแต่ละช่วงฤดูของล้าน้้า) และส่วนที่ เหลือจากนั้นจึงจะจัดสรรไปใช้ในการท้าเกษตรกรรม 2
  • 3. สรุปเรื่องอ่างเก็บน้้า 5.การก้าหนดความจุอ่างฯ ผชช.ทั้ง 4 ท่านมีความเห็นว่าควรมีการเผื่อปริมาณน้้าเพื่อการบรรเทาอุทกภัย ไว้ด้วย เพราะมีโอกาสเกิด Peak flood ในรอบปีต่างๆ นอกจากนั้นความจุฯ ที่เพิ่มขึ้นยังสามารถส้ารอง น้้าไว้ใช้เพื่อกิจกรรมต่างๆ ในอนาคตได้อีกมากขึ้น 6.การออกแบบ Spillway ต้องค้านึงถึงความจุล้าน้้าด้านท้ายของตัวเขื่อนด้วย ว่าสามารถที่จะรองรับ ปริมาณน้้าหลาก หรือ Flood ในรอบ Return period ต่างๆ ได้หรือไม่ หากไม่เพียงพอต้องออกแบบปรับปรุงล้าน้้าให้สามารถระบายน้้าได้อย่างเพียงพอ 7.การ Run โปรแกรม ROS เป็นประโยชน์ทั้งด้านงานพิจารณาโครงการ (ก่อนก่อสร้าง) รวมทั้งเป็น ประโยชน์ต่องานจัดสรรน้้าและบ้ารุงรักษา (ภายหลังการก่อสร้าง) ด้วย หากมีการใช้ข้อมูลจริงทั้งปริมาณ น้้า Inflow และข้อมูลปริมาณความต้องการใช้น้้าในกิจกรรมต่างๆ จะสามารถเข้าใจลักษณะลุ่มน้้าและ บริหารจัดการน้้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3
  • 4. สรุปเรื่องฝาย 1.ฝายกับ ปตร.ท้าหน้าที่แตกต่างกันอย่างไร 2.สูตรการค้านวณทางอุทกวิทยาที่ใช้ในงานวางโครงการ วิศวกรควรต้องทราบที่มา เงื่อนไขและข้อจ้ากัด การใช้งานให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ เพื่อที่จะสามารถน้าไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างถูกต้องเหมาะสม เช่น สูตร Q = CIA นั้น มีสมมุติฐานว่าการกระจายของปริมาณน้้าฝนมีความสูงเท่ากันทั่วพื้นที่ 10 ตารางไมล์ (Uniform Rainfall Distribution) เป็นต้น 3.วิศวกร/นายช่างชลประทาน ควรมีความเข้าใจอย่างถ่องแท้ทั้งในด้านวิศวกรรม เศรษฐศาสตร์และ สิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นคุณลักษณะของช่างที่ดี เช่นช่างของกรมพัฒนาที่ดินซึ่งสามารถตอบค้าถามได้ว่า ลักษณะดินเป็นอย่างไร น้้าเป็นอย่างไร และผลผลิตต่อไร่ต่อปีมีปริมาณเท่าใด 4.งานวางโครงการหรืองานพิจารณาโครงการนั้น แท้ที่จริงแล้วหมายถึงการออกแบบเบื้องต้น วิศวกร ผู้รับผิดชอบต้องใช้ความรู้ความสามารถ และต้องมองไปข้างหน้าในอนาคตให้ครบทั้งกระบวนการ ตั้งแต่ การออกแบบ การก่อสร้าง การใช้งานและบ้ารุงรักษา งานวางโครงการจึงมีความส้าคัญเป็นอย่างยิ่ง 4
  • 5. สรุปเรื่องฝาย 5.โครงการประเภทฝายทดน้้า นอกจากผลประโยชน์ด้านบวกที่ตัวฝายจะช่วยทดน้้าและชะลอปริมาณน้้า โดยเฉพาะในฤดูแล้งให้สามารถท้าการเพาะปลูกได้แล้ว แต่ในฤดูน้้าหลากฝายอาจจะเป็นตัวอุปสรรคในการ ระบายน้้าจนเป็นสาเหตุที่ท้าให้เกิดน้้าท่วมได้ ได้หากขาดการพิจารณาลักษณะสภาพภูมิประเทศในพื้นที่และ การก้าหนดลักษณะอาคารด้านชลศาสตร์อย่างรอบคอบ 6.การวิเคราะห์ปริมาณน้้าหลากสูงสุด สามารถใช้การสังเกตุระดับของคราบน้้าสูงสุดในอดีต และรูปตัดล้า น้้าบริเวณดังกล่าวมาวิเคราะห์ โดยใช้สมการของ Manning (Q = 1/n x A x R^2/3 x S^1/2 ) 7.รายงานพิจารณาโครงการควรก้าหนดให้มีการออกแบบเบื้องต้น เช่นก้าหนดประเภทของฝาย ความยาว สันฝาย ความยาวของพื้นฝาย เป็นต้น เพื่อที่จะสามารถประมาณราคาค่าก่อสร้างโครงการได้อย่างใกล้เคียง กับความเป็นจริง 5
  • 6. สรุปเรื่องฝาย 8.รายงานพิจารณาโครงการควรระบุค่าความขุ่นของล้าน้้า (Turbidity) บริเวณที่จะก่อสร้างหัวงาน โครงการไว้ด้วย เพราะจะเป็นประโยชน์ต่อการค้านวณปริมาณตะกอนที่ตกจมหน้าฝายและการออกแบบ ประตูระบายทรายในล้าดับต่อไป 9.การออกแบบฝาย ต้องค้านึงถึงระดับน้้าท่วมสูงสุดด้านเหนือน้้าจากอิทธิพลของตัวฝาย (Back Water Curve) ไว้ด้วย เพราะอาจส่งผลกระทบหรือสร้างความเสียหายต่อพื้นที่เพาะปลูกหรือพื้นที่ชุมชนด้านเหนือ น้้าของราษฎรได้ 6
  • 7. สรุปเรื่องสถานีสูบน้้าด้วยไฟฟ้า 1.การวางโครงการงานสูบน้้าด้วยไฟฟ้า ต้องพิจารณาภาพรวมของปริมาณน้้าต้นทุนทั้งลุ่มน้้า ว่ามีเพียงพอ หรือไม่ เดิมกิจกรรมการใช้น้้าภายในลุ่มน้้าเป็นอย่างไร การสูบน้้าไปใช้จะมีผลกระทบต่อพื้นที่อื่นๆ หรือไม่ ประเด็นส้าคัญเหล่านี้ควรพิจารณาอย่างรอบคอบ 2.การวิเคราะห์ปริมาณน้้าต่้าสุดของรอบปีการเกิดซ้้าต่างๆ ที่เรียกว่า Low Flow Analysis มีประโยชน์ อย่างยิ่งในการคาดการระดับและปริมาณน้้าต่้าสุดที่มีโอกาสเกิดขึ้นในล้าน้้านั้นๆ ในปีน้้าแล้งติดต่อกัน ท้า ให้สามารถวิเคราะห์ความเหมาะสมของที่ตั้งสถานีสูบน้้า เพราะหากมีปริมาณน้้าน้อยเกินไป การสูบน้้าอาจ เกิดปัญหาการกัดกร่อน (Cavitation) ของใบพัดเครื่องยนต์สูบน้้า และสร้างความเสียหายให้กับอุปกรณ์ ต่างๆ ของระบบสูบน้้าได้ 3.จากข้อ 2 หากเป็นล้าน้้าขนาดเล็กที่มีโอกาสเกิดปริมาณน้้าในล้าน้้าแห้งขอด และไม่มีอ่างเก็บน้้าอยู่ ด้านบนของลุ่มน้้า ควรจะต้องมีการก่อสร้างฝายทดน้้าเพื่อยกระดับน้้าในล้าน้้าไว้ด้วย เพื่อให้ระดับน้้าท่วม เหนือบริเวณปากท่อสูบอยู่เสมอ ดังนั้นโครงการสูบน้้าด้วยไฟฟ้าจึงมาพร้อมโครงการประเภทฝายทดน้้าไว้ ด้วยกันเสมอ 7
  • 8. สรุปเรื่องสถานีสูบน้้าด้วยไฟฟ้า 4.การวางโครงการประเภทท่อส่งน้้าควรเป็นท่อฝังดินลึกอย่างน้อยประมาณ 50 เซนติเมตร ท้าให้ไม่ สูญเสียพื้นที่ใช้งานตลอดแนวท่อที่ผ่านไป นอกจากนี้ระดับความลึกของดินขุดแนวท่อ ควรก้าหนดให้ลึก กว่าฐานขุดดินของรถไถหรือรถแทรคเตอร์ที่ใช้ท้าการเกษตร เพื่อป้องกันไม่ให้ไปกระทบต่อตัวท่อส่งน้้าที่ฝัง อยู่ 5.ระเบียบกรมชลประทานเกี่ยวกับงานสูบน้้าด้วยไฟฟ้าควรศึกษาให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ เพื่อที่จะสามารถ อธิบายเหตุผลความจ้าเป็นและข้อจ้ากัดของโครงการสูบน้้าด้วยไฟฟ้าให้กับราษฏรได้เข้าใจและรับทราบถึง เงื่อนไขต่างๆ ของการอนุมัติโครงการอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ เช่นการก้าหนดพื้นที่รับประโยชน์ของ โครงการ ปริมาณน้้าต่้าสุดที่สามารถสูบได้ Head หรือความสูงของน้้าที่สามารถสูบได้ ระเบียบค่าใช้จ่ายใน เรื่องค่าไฟและการบริหารจัดการโครงการภายหลังจากก่อสร้างและถ่ายโอนภารกิจให้องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น เป็นต้น 8
  • 9. สรุปเรื่องสถานีสูบน้้าด้วยไฟฟ้า 6.การวางโครงการประเภทสูบน้้าด้วยไฟฟ้า ต้องให้ความส้าคัญกับการเกิด Water hamer ในระบบท่อ เป็นอย่างมาก เพราะไม่เช่นนั้นแรงดันที่เกิดขึ้นในระบบท่อจะสร้างความเสียหายให้กับทั้งเครื่องยนต์สูบน้้า และโครงสร้างของอาคารโรงสูบได้ ในกรณีนี้สามารถป้องกันได้ด้วยการก้าหนดให้มีอาคารระบายความดัน (Surge Tank) ในระบบให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ 7.การพิจารณาหรือก้าหนดต้าแหน่งที่ตั้งของสถานีสูบน้้าด้วยไฟฟ้ามีความส้าคัญเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะใน พื้นที่ที่มีโอกาสเกิดปริมาณน้้าหลากหรือการเปลี่ยนแปลงระดับน้้าในล้าน้้ามีการขึ้นลงอย่างรวดเร็ว อาจส่งผล กระทบต่อโครงสร้างอาคารโรงสูบน้้าหรือแพสูบน้้าให้ได้รับความเสียหายได้ 9
  • 10. 10 สรุปเรื่องงานโครงการพิเศษ 1.วิศวกรชลประทานจะต้องมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในด้านอุทกวิทยาโดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่อง การศึกษาการ เคลื่อนตัวของน้้าหลาก (Flood Routing) ของอ่างเก็บน้้าและการวิเคราะห์ดุลน้้า (ROS )เพื่อที่จะ สามารถอธิบายผู้ที่เกี่ยวข้องได้ว่า อ่างเก็บน้้าจะช่วยชะลอน้้าหลากและช่วยบรรเทาอุทกภัยได้อย่างไร ทั้งใน แง่ของเวลา (Translation) และยอดน้้านองสูงสุดที่ลดลง (Flood Peak) พฤติกรรมของปริมาณน้้า Inflow และ Outflow ในขณะที่น้้าไหลลงอ่างฯ และล้น Spillway เป็นอย่างไรวิศวกรต้องสามารถ อธิบายประเด็นต่างๆ เหล่านี้ให้ราษฎรสามารถเข้าใจและมองเห็นภาพได้ 2.ภารกิจด้านไฟฟ้าพลังน้้าขนาดเล็ก กรมฯ สามารถด้าเนินการได้ในลักษณะการสนองโครงการพระราชด้าริ 3.การป้องกันตะกอนที่บริเวณหน้าฝาย สามารถป้องกันได้ด้วยการออกแบบได้ให้มีอาคารดักตะกอน โดยลด ระดับพื้นบริเวณหน้าฝายลงไป ทั้งนี้เพื่อให้ง่ายต่อการดูแลบ้ารุงรักษาและชะลอไม่ให้ตะกอนตกทับถมถึง ระดับปากคลองส่งน้้าเร็วเกินไป แทนที่จะให้ตะกอนนั้นตกกระจายไปทั่วบริเวณฝาย เราก็ก้าหนดจุดให้ ตะกอนตกอยู่ในบริเวณใดบริเวณหนึ่งเพื่อง่ายต่อการขุดลอกออกนั่นเอง
  • 11. สรุปเรื่องงานโครงการพิเศษ 4.การวางแนวท่อส่งน้้าสามารถที่จะวางตั้งฉากกับเส้นชั้นความสูงได้ (Contour) ในบางช่วง ไม่จ้าเป็นที่ จะต้องวางขนานกับเส้นชั้นความสูงไปโดยตลอด เหตุผลเพราะปริมาณน้้า side flow ของล้าห้วยต่างๆ ที่ ตัดผ่านแนวท่อมักจะกัดเซาะหน้าดินและสร้างความเสียหายให้ท่อส่งน้้าอยู่เสมอ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความ เหมาะสมของสภาพภูมิประเทศและระดับความสูงของ Head น้้าระหว่างต้นทางกับปลายท่อส่งน้้าต้องมีมาก พอเมื่อหักค่าการสูญเสียหรือ Loss ทั้งหมดในระบบออกแล้วแรงดันน้้าในตัวท่อจะต้องสามารถส่งน้้าไปได้ จนถึงปลายทาง 5.การวางท่อส่งน้้าในพื้นที่ป่าเขาที่ยากต่อการล้าเลียงวัสดุเข้าไปท้าการก่อสร้าง สามารถพิจารณาออกแบบให้ ใช้แนวท่อ 2 แนวคู่ขนานกันได้ เพื่อลดขนาดท่อที่อาจจะใหญ่เกินไปและมีน้้าหนักต่อท่อนค่อนข้างสูง (กรณีที่เป็นท่อแถวเดียว) ท้าให้การขนย้ายล้าบาก ลักษณะดังกล่าวสามารถแก้ปัญหาได้โดยเปลี่ยนมาใช้ท่อ ขนาดเล็กกว่าวางคู่ขนานกันก็สามารถทดแทนได้เช่นกัน 6.การออกแบบฝาบ่อเก็บน้้า คสล. ในพื้นที่สูง ควรค้านึงถึงความสะดวกหรือความง่ายต่อการดูแล บ้ารุงรักษาของผู้ใช้งานด้วย เช่นช่องเปิดที่มีขนาดเล็กเกินไปของฝาบ่ออาจท้าให้อากาศไม่เพียงพอต่อผู้ที่ลง ไปซ่อมแซมบ้ารุงรักษา เป็นต้น 11
  • 12. สรุปเรื่องการออกแบบอาคารหัวงานเบื้องต้น ส้าหรับการพิจารณาโครงการ 1.การสร้างฝายดักตะกอนไว้บริเวณเหนืออ่างเก็บน้้าเป็นวิธีการหนึ่งที่จะช่วยป้องไม่ให้อ่างเก็บน้้าตื้นเขินเร็ว เกินไป อีกทั้งยังง่ายต่อการขุดลอกตะกอนที่บริเวณหน้าฝายออกไป ถ้าปล่อยให้ตะกอนลงมาในอ่างฯ การขุดลอกจะท้าได้ยากเพราะตะกอนในอ่างฯ จะจับตัวรวมกันอย่างหนาแน่น อีกทั้งการขุดลอกในรัศมีที่ ใกล้กับตัวเขื่อนนั้นกระท้าได้ยาก ต้องใช้ความระมัดระวังเป็นกรณีพิเศษเพราะมีผลต่อความมั่นคงของตัว เขื่อน (โดยปกติทั่วไปในพื้นที่รัศมี 24 เท่าของความสูงเขื่อนไปทางด้านเหนือน้้า ไม่ควรท้าการขุดลอก หน้าดินใดๆ เพราะอาจเป็นสาเหตุให้น้้าไหลลอดตัวเขื่อนและน้ามาซึ่งความวิบัติของตัวเขื่อนได้) 2.ปัญหาของตะกอนในอ่างเก็บน้้า อาจน้ามาซึ่งสาเหตุของการอุดตันภายในท่อส่งน้้าจากอ่างเก็บน้้า (River Outlet) และ (Canal Outlet) ท้าให้การระบายน้้าจากเอ่างฯ ขาดประสิทธิภาพ และ ตะกอนที่ตกสะสมเป็นระยะเวลานานในพื้นที่ของอ่างเก็บน้้าขนาดเล็กซึ่งมักมีความจุอ่างฯ ไม่สูงมากนัก มีผลท้าให้ความจุของอ่างเก็บน้้าลดลงจากที่ออกแบบไว้และตื้นเขินเร็วเกินกว่าที่ก้าหนด ประกอบกับหาก เกิดพายุฝนตกหนักในพื้นที่ของอ่างเก็บน้้านั้นเป็นระยะเวลานาน อาจเป็นสาเหตุท้าให้เกิดปริมาณน้้าในอ่างฯ ไหลล้นข้ามสันเขื่อน (Overtopping) และน้ามาซึ่งความวิบัติของตัวเขื่อน ท้าให้เกิดความเสียหายให้กับ ชีวิตและทรัพย์สินของราษฏรได้ในที่สุด 12
  • 13. สรุปเรื่องการออกแบบอาคารหัวงานเบื้องต้น ส้าหรับการพิจารณาโครงการ 3.ฝ่ายพิจารณาโครงการในแต่ละ สชป. ควรที่จะตั้งงบประมาณการมีส่วนร่วมเพื่อจัดการฝึกอบรมและ ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการดูแลบ้ารุงรักษาอาคารชลประทานให้กับกลุ่มเกษตรกรได้มีความรู้ความเข้าใจใน งานชลประทาน รวมทั้งเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้ร่วมให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และ ก้าหนดทางเลือกในการพัฒนาแหล่งน้้าภายในพื้นที่ชุมชนของตัวเองได้อย่างยั่งยืนตั้งแต่แรกเริ่มของ กระบวนการพัฒนาแหล่งน้้า 4.ความปลอดภัยเขื่อนนั้น เริ่มต้นตั้งแต่กระบวนการของการพิจารณาโครงการเป็นส้าคัญ 5.การพิจารณาโครงการประเภทอ่างเก็บน้้า ควรต้องสืบหาข้อมูลด้วยว่าในพื้นที่ดังกล่าวหรือใกล้เคียง ที่มี การก่อสร้างอ่างเก็บน้้า ท้านบดิน หรือสระน้้าบริเวณพื้นที่โครงการนั้น สามารถเก็บกักน้้าได้จริงหรือไม่ น้้ามีการซึมลอดหายไปหรือไม่ เพื่อเป็นข้อสันนิษฐานถึงลักษณะทางธรณีวิทยาฐานรากของอาคารหัวงาน ต่อไป 13
  • 14. สรุปเรื่องการออกแบบอาคารหัวงานเบื้องต้น ส้าหรับการพิจารณาโครงการ 6.ควรสอบถามราษฏรด้วยว่าล้าห้วย ณ บริเวณจุดที่พิจารณาก่อสร้างนั้น มีน้้าลอด หลุมโพรง หรือโพรง ถ้้าซึ่งเป็นลักษณะภูมิประเทศแบบภูเขาหินปูน (Karst Topography) อยู่หรือไม่ ซึ่งลักษณะดังกล่าว ย่อมมีผลต่อค่าก่อสร้าง เทคนิควิธีการก่อสร้างของตัวเขื่อน อาคารประกอบและการปรับปรุงฐานราก โดยมี ปัญหาต่างๆ ตามมาอีกมากมายจนในที่สุดอาจจะส่งผลให้ Site ดังกล่าวไม่มีความเหมาะสมทั้งในด้าน วิศวกรรมและเศรษฐศาสตร์ได้ 14
  • 15. 15
  • 16. 16
  • 17. 17
  • 18. 18
  • 19. 19
  • 20. 20
  • 21. 21
  • 22. 22
  • 23. 23
  • 24. 24
  • 25. 25