SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 18
By Kevin G. Smith
Hypovolemic shock with septicemia
from severe food poisoning
Case1
ประวัติผู้ป่ วย
• ผู้ป่วยชื่อ นางปราณี อายุ 68 ปี
• มีอาการคลื่นไส้ อาเจียนอย่างหนัก ถ่ายเหลวเป็นน้า มีไข้สูง เพ้อ ไม่
รู้สึกตัว
• ขณะอยู่ที่ห้องฉุกเฉินผู้ป่วยมีไข้สูง 40 oC ผิวหนังซีดเย็น (pale and cold
skin) มีความตึงตัวของผิวหนังลดลงและริมฝีปากแห้งแตก เจาะเลือด
พบว่ามีความเข้มข้นของเลือด = 44% อัตราการหายใจ 10 ครั้ง/นาที
• ก่อนมาโรงพยาบาล 2 วัน ไม่สามารถรับประทานอาหารได้เลย เพราะ
อาเจียนออกมาหมด และถ่ายเหลวเป็นน้าหลายครั้ง
ผลตรวจ
• ผลการวัดความดันโลหิตพบว่า
• ค่าผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ดังนี้
ในท่านอน (supine) BP 90/60 mmHg HR 105 beat per
minute
ในท่านั่ง (up right) BP 75/50 mmHg HR 130 beat per
minute
Venous blood Arterial blood
BUN = 31 mg/dL (9-25)
Creatinine = 1.2 mg/dL (0.8-1.4)
Na+ = 141 mEq/L (136-142)
K+ = 2.8 mEq/L (3.5-5)
Cl- = 90 mEq/L (98-108)
pH = 7.53 (Normal,7.3)
HCO3 = 37 mEq/L (24 mEq/L)
PCO2 = 46 mmHg (40 mmHg)
ผลวินิจฉัย
• แพทย์วินิจฉัยว่าผู้ป่วยมีความผิดปกติ คือ
 Food poisoning with severe vomiting and
septicemia
 Hypovolemic shock and metabolic
alkalosis with respiratory compensation
Treatment
• แพทย์ได้ทำกำร load isotonic saline (0.9%NSS) ผสม KCL เข้ำ
ทำงเส้นเลือดของผู้ป่วย
• และฉีด Plasil 1 amp ร่วมกับให้ยำปฏิชีวนะทำงหลอดเลือดดำ และ
ประเมินสัญญำณชีพอย่ำงใกล้ชิด
Circulatory shock
คือ ภำวะที่มีกำรไหลเวียนโลหิตล้มเหลวจึงทำให้มีกำรไหลเวียนของ
โลหิตไปเลี้ยงที่เยื้อเยื่อไม่เพียงพอ โดยเฉพำะบริเวณสมอง ผิวหนังและ
ไต
ร่ำงกำยจึงมีกำรปรับตัวโดยกำรปรับเปลี่ยนมำใช้พลังงำนจำก
Anaerobic metabolism ส่งผลให้ระดับ lactic acid ในเลือดสูงและมีกำร
กระตุ้นระบบประสำท symphathetic ส่งผลให้ HR สูงขึ้น
ประเภทของ Shock แบ่งเป็น 3 ประเภท
1. Hypovolemic or Hematogenic shock ภาวะเกิดจากร่างกาย
สูญเสียเลือดหรือสูญเสียน้า เช่นการถ่ายเหลวหลายครั้ง การ
สูญเสียเลือด
2. Cardiogenic shock ภาวะช็อคเกิดจากหัวใจไม่สามารถสูบฉีด
เลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ ได้เพียงพอต่อความ ต้องการของ
อวัยวะนั้นๆ
ประเภทของ Shock แบ่งเป็น 3 ประเภท
3. Vasogenic or Distributive shock
• Neurogenic shock ภาวะช็อคเกิดจากการทางานผิดปกติของระบบ
ประสาทอัติโนมัติ
• Septic or Bacteremic shock ภาวะช็อคเกิดจากติดเชื้อรุนแรงใน
กระแสโลหิต
• Anaphylactic shock ภาวะช็อคเกิดจากการแพ้ เช่นแพ้ยา แพ้เกสร
ดอกไม้
อาการของผู้ป่วย การวินิจฉัย
– ถ่ำยเหลวเป็นน้ำหลำยครั้ง
– คลื่นไส้ อำเจียนอย่ำงหนัก
– มีควำมตึงของผิว (skin turgor)ลดลง
– ทำให้ร่ำงกำยสูญเสียน้ำจำกกำรถ่ำย
เหลว
– ไข้สูง 40 oC
– ไม่รู้สึกตัว ผิวหนังซีดเย็น
– อำกำรผู้ป่วยที่ติดเชื้อในกระแสโลหิต
– กำรวัดควำมดันโลหิต
ท่ำนอน 90/60 mmHg
ท่ำนั่ง 75/50 mmHg
– ค่ำของคนปกติมีค่ำ 120/80mmHg
ซึ่งควำมดันโลหิตของผู้ป่วยมีค่ำต่ำ
กว่ำคนปกติมีผลทำให้เกิดภำวะช็อค
– อัตรำกำรเต้นของหัวใจ
ท่ำนอน 105 ครั้ง/นำที
ท่ำนั่ง 130 ครั้ง/นำที
– ค่ำของคนปกติอยู่ที่ 60-90 ครั้ง/นำที
ซึ่งอัตรำกำรเต้นของหัวใจของผู้ป่วย
มีค่ำมำกกว่ำคนปกติมีผลทำให้เกิด
ภำวะช็อค
สรุป
จำกอำกำรที่กล่ำวมำข้ำงต้นของผู้ป่วยทำให้สำมำรถบอกได้
ว่ำผู้ป่วยมีภำวะช็อคที่เกิดจำกกำรสูญเสียน้ำในร่ำงกำยร่วมกับกำร
ติดเชื้อในกระแสเลือด นั่นคือ Hypovolemic shock with
septicemia from severe food poisoning
Blood Volume ↑
จากการอาเจียนและการถ่ายอุจจาระ
(เสียน้า)
Venous Return ↓
Left ventricle EDV ↓
Contractivity ↓
Contractivity ↓
from frank
Left ventricle ESV ↑
MAP (mean arterial blood pressure) ↓
SV ↓
CO ↓
MAP (mean arterial blood pressure) ↓
Baroreceptor at
Aortic arch and
Carotid arteries
Baroreceptor reflex
RAAS
Kidney
sympathetic CVS center in
medulla
Kidney
Juxtaglomerular cells
Renin
Angiotensingen
A I
A II
Liver
ACE
A II
SV↑
Adrenal Cortax Posterior
Pituitary
EDV ↑
VR↑
Hypothalamus
Osmoreceptor
Osmolarity in
interstitial space
BV↑
Thirst ADH
H₂O ↑
H₂O ↑ NaCl ↑
BP↑CO↑
+ +
Symphathetics
Symphathetics
Vasoconstiction
All body
HR ↑
Heart
SA node
Venoconstiction
All body
BP↑ CO↑ SV↑
EDV↑
VR↑
TPR↑
Kidney
จำกผลกำรวัดค่ำควำมดันโลหิต จะพบว่ำร่ำงกำยพยำยำมจะปรับ
BP ให้อยู่ในระดับปกติ (120/80 mmHg) จึงไปกระตุ้นระบบประสำท
symphathetic ส่งผลให้ HR ปรับระดับสูงขึ้นจนมีควำมเร็วมำกกว่ำ 100
beat/min (Tachycardia) แต่เนื่องจำกผู้ป่วยไม่สำมำรถรับประทำน
อำหำรและน้ำได้จึงมี BV ไม่พอที่จะทำให้ BP เพิ่มสูงขึ้นจนถึงระดับปกติ
ในท่านอน (supine) BP 90/60 mmHg HR 105 beat per
minute
ในท่านั่ง (up right) BP 75/50 mmHg HR 130 beat per
minute
Don Browning, A Fundamental Practical Theology
จัดทาโดย
• นำงสำวเบญจรัตน์ จันสน 56521615
• นำงสำวปณัฐวรรณ นำกปุณบุตร 56521622
• นำงสำวประชำนำถ อินพรม 56521646
• นำงสำวฉัตษ์อินท์ เลอเกียรบวร 56521684
• นำยพัฒนพงษ์ จันทร์ปุย 56521707
• นำงสำวพิชำมญช์ จันธุ 56521714

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

New born-assessmente
New born-assessmente New born-assessmente
New born-assessmente
Dong Dang
 
Observation unit setup
Observation unit setupObservation unit setup
Observation unit setup
taem
 
Surgical emergencies. Dr Rebecca Thomas
Surgical emergencies.  Dr Rebecca ThomasSurgical emergencies.  Dr Rebecca Thomas
Surgical emergencies. Dr Rebecca Thomas
chricres
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
piyarat wongnai
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain clinic pnk
 

La actualidad más candente (20)

Dic
DicDic
Dic
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
 
Primary post partum haemorrhage
Primary post partum haemorrhagePrimary post partum haemorrhage
Primary post partum haemorrhage
 
Hepatocellular carcinoma
Hepatocellular carcinomaHepatocellular carcinoma
Hepatocellular carcinoma
 
New born-assessmente
New born-assessmente New born-assessmente
New born-assessmente
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemia
 
Observation unit setup
Observation unit setupObservation unit setup
Observation unit setup
 
Surgical emergencies. Dr Rebecca Thomas
Surgical emergencies.  Dr Rebecca ThomasSurgical emergencies.  Dr Rebecca Thomas
Surgical emergencies. Dr Rebecca Thomas
 
Nursing care of patients having conduction disorders
Nursing care of patients having conduction disordersNursing care of patients having conduction disorders
Nursing care of patients having conduction disorders
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
 
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชคู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
 
Maternal resuscitation
Maternal resuscitationMaternal resuscitation
Maternal resuscitation
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
induction of labor
induction of laborinduction of labor
induction of labor
 
stages of labour
stages of labourstages of labour
stages of labour
 
Snake bite management in Pediatrics.. Dr.Padmesh. V
Snake bite management in Pediatrics..  Dr.Padmesh. VSnake bite management in Pediatrics..  Dr.Padmesh. V
Snake bite management in Pediatrics.. Dr.Padmesh. V
 
hypertension in pregnancy
hypertension in pregnancyhypertension in pregnancy
hypertension in pregnancy
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 

Hypovolemic shock