SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 36
Descargar para leer sin conexión
1
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ระดับการศึกษาขั้นปฐมวัยและขั้นพื้นฐาน
ปีการศึกษา ๒๕๕๙
โรงเรียน บ้านโคกสามัคคี
อาเภอโคกสูง จังหวัดสระแก้ว
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแก้ว เขต ๒
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
2
คานา
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาเป็นการสรุปผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่สะท้อนผล
การพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ซึ่งเป็นผลสาเร็จจากการบริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานระดับ
ปฐมวัยและระดับขั้นพื้นฐาน เพื่อเป็นการประกันคุณภาพภายในระดับปฐมวัย 11 มาตรฐาน และระดับขั้น
พื้นฐาน 4 มาตรฐาน ผลการวิเคราะห์จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และระบุแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมา และเตรียมความพร้อมในการรับการ
ประเมินคุณภาพภายนอกต่อไป
โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
3
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน
1.1 ข้อมูลทั่วไป
1.2 ข้อมูลครูและบุคลากร
1.3 ข้อมูลนักเรียน
1.4 สรุปข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา
1.5 ผลการทดสอบระดับชาติของผู้เรียน
1.6 สรุปการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา
1.7 งบประมาณ
ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
2.1 ผลการดาเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย (11 มาตรฐาน 51 ตัวบ่งชี้)
2.2 ผลการดาเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพภายในของ
สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( 4 มาตรฐาน )
สาวนที่ 3 สรุปผล แนวทางการพัฒนาและความต้องการการช่วยเหลือ
3.1 จุดเด่นของสถานศึกษา
3.2 จุดที่ควรพัฒนาของสถานศึกษา
3.3 แนวทางการพัฒนาในอนาคต
3.4 ความต้องการการช่วยเหลือ
ส่วนที่ 4 ภาคผนวก
4.1 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
4.2 ประกาศโรงเรียน เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
4.3 ประกาศโรงเรียน เรื่อง กาหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในขอ
1
1
2
3
4
4
6
6
11
11
23
26
28
4
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา
1.1 ข้อมูลทั่วไป
ชื่อโรงเรียน บ้านโคกสามัคคี ที่อยู่หมู่ ๖ บ้านโคกสามัคคี ตาบลหนองม่วง อาเภอโคกสูง จังหวัดสระแก้ว
สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต ๒
เปิดสอนระดับชั้น อนุบาล ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
ผู้บริหารสถานศึกษาชื่อ นางชาลี บุญญา วุฒิการศึกษา ปริญญาโท สาขาการบริการการศึกษา
ดารงตาแหน่งนี้ที่โรงเรียนตั้งแต่๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ ถึงปัจจุบันพ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นเวลา๒๔ ปี
ประวัติโรงเรียนโดยย่อ
โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๕ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๙ ณ บ้านโคกสามัคคี หมู่ที่ ๖
ตาบลหนองม่วง เดิมเป็นอาเภอตาพระยา จังหวัดปราจีนบุรี ปัจจุบันสังกัดกิ่งอาเภอโคกสูง จังหวัดสระแก้ว โดย
ความร่วมมือของชาวบ้าน ซึ่งมีนายชู จันทร์สว่าง ผู้ใหญ่บ้านสมัยนั้นเป็นผู้นา และได้อาศัยศาลาวัดเป็นอาคารเรียน
ชั่วคราว ซึ่งมีหัวหน้าการศึกษาอาเภอตาพระยา ( นายประกอบ แก้วทอง) พร้อมด้วยประทานกลุ่มหนองแวง
ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ ภายในกลุ่มหน่วยพัฒนาการเคลื่อนที่จังหวัดปราจีนบุรี และชาวบ้านได้ร่วมกันทาพิธีเปิด
โรงเรียน
การรับเด็กเข้าเรียน รับเด็กเข้าเรียนตั้งแต่อายุ ๗ ปี เข้าเรียนในระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ ตาม
พระราชบัญญัติประถมศึกษาพุทธศักราช ๒๔๗๘ เริ่มเปิดสอนตั้งแต่ ป๑-ป๔ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๑ โรงเรียนได้
เปิดสอนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ และปี ๒๕๒๒ ได้เปิดสอนระดับประถมศึกษาปีที่ ๖ และในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ ได้เปิด
สอนชั้นเด็กเล็ก ต่อมาในปัจจุบันนี้ ได้เปิดสอนตั้งแต่อนุบาล ๑ ถึงมัธยมศึกษาปีที่ ๓
การจัดการเรียนการสอน โรงเรียนเปิดสอนตั้งแต่ชั้น ป. ๑ –ป.๖ เดิมนั้นสอนประจาชั้น ต่อมาปี พ.ศ.
๒๕๒๓ ได้เพิ่มชั่วโมงของหลักสูตรใหม่ จากวันละ ๕ เป็นวันละ ๖ ชั่วโมง เท่ากับชั้น ป.๕ ป.๖ เป็นสัปดาห์ละ ๓๐
ชั่วโมงและในปัจจุบันได้จัดการเรียนการสอนเป็นคาบๆละ ๕๐ นาที ตามชั้นมัธยมศึกษาและจัดให้ครูสอนหมุนเวียน
อันเนื่องมาจากปัญหาการขาดแคลนครู
การเปิดและปิดโรงเรียน ปฏิบัติตามคาสั่งสานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ(สปช)
ความเคลื่อนไหวและเหตุการณ์ทางการศึกษาในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ ทางโรงเรียนและคณะกรรมการศึกษาของ
โรงเรียนได้จัดหาที่จานวน ๑๓ ไร่ ๒ งาน ๘๐ ตารางวา สาหรับปลูกสร้างอาคารเรียนไว้เรียบร้อย โดยได้รับความ
ร่วมมือจากหน่วยงานพัฒนาการเคลื่อนที่ปราจีนบุรี (น.พ.ค.) มาทาการปรับพื้นที่ให้อย่างดีและโรงเรียนได้รับ
อุปกรณ์จากองค์การบริหารส่วนจังหวัด อาทิ โต๊ะ เก้าอี้ ๑๐๐ ชุด กระดานดา ๒ แผ่น แทงค์น้า ๒ ใบ โต๊ะครู ๒ ชุด
และได้รับงบประมาณดังนี้
อาคารเรียน ๔ หลัง
หลังที่ ๑ แบบ ป.๑ ข สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๐ งบประมาณ ๒๗๐,๐๐๐ บาท
หลังที่ ๒ แบบ ป.๑ ก สร้งเมื่ พ.ศ. ๒๕๒๓ งบประมาณ ๒๔๐,๐๐๐ บาท
หลังที่ ๓ แบบ ป.๑ ก สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๕ งบประมาณ ๒๕๐,๐๐๐ บาท
หลังที่ ๔ แบบ สปช. สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๕ งบประมาณ ๑,๗๘๓,๐๐๐ บาท
อาคารเอนกประสงค์ ๑ หลัง
แบบกรมสามัญ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๓ งบประมาณ ๑๑๐,๐๐๐ บาท
5
บ้านพักครู ๓ หลัง
หลังที่ ๑ แบบกรมสามัญ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๑ งบประมาณ ๕๐,๐๐๐ บาท
หลังที่ ๒ แบบสามัญ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๑ งบประมาณ ๕๐,๐๐๐ บาท
หลังที่ ๓ แบบ สปช. สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๐ งบประมาณ ๘๐,๐๐๐ บาท
ส้วม ๓ หลัง
หลังที่ ๑ แบบกรมสามัญ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๔ งบประมาณ ๕๐,๐๐๐ บาท
หลังที่ ๒ แบบ สปช. ๖๐๑/๒๕ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๘ งบประมาณ ๘๐,๐๐๐ บาท
หลังที่ ๓ แบบ สปช. ๖๐๔/๔๕ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๖ งบประมาณ ๑๖๑,๐๐๐ บาท
สนามบาสเกตบอล สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๘ งบประมาณ ๑๒๘,๐๐๐ บาท
ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม
๑) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะของชุมชนชนบทมีบ้านที่พักอาศัยอยู่ใกล้ชิดติดกันมี
ประชากรประมาณ ๑,๖๐๐ คน บริเวณใกล้เคียง อาชีพหลักของชุมชน คือทาการเกษตรส่วนใหญ่นับถือ
ศาสนาพุทธ
๒) ผู้ปกครองส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับ ป.๖อาชีพหลักคือ ทาการเกษตรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ
ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉลี่ยต่อครอบครัวต่อปี ๓๐,๐๐๐ บาท
1.2 ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา
1) จานวนบุคลากร
บุคลากร ผู้อานวยการ รอง
ผู้อานวยการ
ครูผู้สอน พนักงาน
ราชการ
ครูอัตราจ้าง เจ้าหน้าที่
อื่นๆ
ปีการศึกษา
2559
๑ - ๑๕ ๒ ๒
2) วุฒิการศึกษาสูงสุดของบุคลากร
วุฒิการศึกษา ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ประกาศนียบัตร
บัณฑิต
ปริญญาโท ปริญญาเอก
ปีการศึกษา
2559
- - ๑๔ - ๒ -
3) วิทยฐานะ
วิทยฐานะ ครูผู้ช่วย ครู คศ 1 ครู คศ. 2 ครูคศ. 3 ครู คศ. 4 ครู คศ.5
ปีการศึกษา
2559
๕ ๓ ๓ ๔ - -
6
4) สาขาที่จบการศึกษาและภาระงานสอน
สาชาวิชา จานวน ภาระงานสอนเฉลี่ยของครู 1 คน (ชม./สัปดาห์)
๑. คณิตศาสตร์ ๑ ๑๘
๒. วิทยาศาสตร์ ๓ ๑๘
๓. ภาษาไทย ๑ ๑๘
๔. พลศึกษา ๑ ๑๘
๕. สังคมศึกษา ๒ ๑๘
๖. ประถมศึกษา ๔ ๑๘
๗. อังกฤษ ๒ ๑๘
๘. ปฐมวัย ๒ ๑๘
รวม
1.3 ข้อมูลนักเรียน
จานวนนักเรียนปีการศึกษา 2559 รวม ๒๑๒ คน
ระดับชั้น จานวนห้อง เพศ รวม เฉลี่ยต่อห้อง
ชาย หญิง
อ.1 ๑ ๑๐ ๘ ๑๘ ๑๘
อ.2 ๑ ๗ ๑๖ ๒๓ ๒๓
รวม ๒ ๑๗ ๒๔ ๔๑ ๔๑
ป.1 ๑ ๙ ๕ ๑๔ ๑๔
ป.2 ๑ ๗ ๗ ๑๔ ๑๔
ป.3 ๑ ๑๓ ๕ ๑๘ ๑๘
ป.4 ๑ ๑๐ ๘ ๑๘ ๑๘
ป.5 ๑ ๑๑ ๙ ๒๐ ๒๐
ป.๖ ๑ ๗ ๑๒ ๑๘ ๑๘
รวม ๖ ๕๗ ๔๖ ๑๐๓ ๑๐๓
ม.1 ๑ ๑๔ ๙ ๒๓ ๒๓
ม.2 ๑ ๑๓ ๙ ๒๒ ๒๒
ม.3 ๑ ๑๒ ๑๑ ๒๓ ๒๓
รวม ๓ ๓๙ ๒๙ ๖๘ ๖๘
รวมทั้งหมด ๑๑ ๑๑๓ ๙๕ ๒๑๒ ๒๑๒
7
1.4 ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา
ร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ 3 ขึ้นไป
ระดับประถมศึกษาปีที่ 1-มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา 2559
วิชา จานวนนักเรียนที่ได้ระดับ 3 ขึ้นไป
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 คิดเป็น
ร้อยละ
ภาษาไทย 12 10 12 16 14 16 15 11 16 71.35
คณิตศาสตร์ 11 11 12 12 11 13 9 7 10 56.14
วิทยาศาสตร์ 11 11 15 14 15 14 13 10 12 67.25
สังคมศึกษา 9 10 7 9 8 13 1 7 4 57.31
ประวัติศาสตร์ 4 7 5 8 11 17 3 4 5 37.43
ศิลปะ ดนตรี 13 13 15 14 20 17 19 17 22 87.72
การงานฯ 13 13 18 17 20 17 20 20 17 90.64
ภาษาอังกฤษ 9 10 12 10 14 17 7 3 5 50.88
รวมจานวน 82 85 96 100 113 124 87 79 91
1.5 ผลการทดสอบระดับชาติของผู้เรียน
ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ(National Teat : NT )
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ประจาปีการศึกษา 2559
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ด้านภาษา ด้านคานวณ ด้านเหตุผล เฉลี่ยทั้ง 3 ด้าน
ระดับโรงเรียน ๕๒.๓๐ ๔๓.๙๕ ๕๑.๔๒ ๔๙.๒๓
ระดับเขตพื้นที่ ๔๖.๘๙ ๓๕.๔๖ ๕๐.๘๔ ๔๔.๔๐
ระดับประเทศ ๕๑.๐๐ ๓๖.๙๙ ๕๓.๓๘ ๔๗.๑๓
เปรียบเทียบภาพรวมผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ(NT)
และร้อยละของผลต่างระหว่างปีการศึกษา 2558 -2559
ความสามารถ ปีการศึกษา
2558
ปีการศึกษา
2559
ผลต่าง
ด้านภาษา ๖๒.๒๙ ๕๒.๓๐ - ๙.๙๙
ด้านคานวณ ๕๙.๐๕ ๔๓.๙๕ - ๑๕.๑๐
ด้านเหตุผล ๖๒.๘๖ ๕๑.๔๒ - ๑๑.๔๔
รวมความสามารถทั้ง 3 ด้าน ๖๑.๔๐ ๔๙.๒๓ - ๑๒.๑๗
8
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน ( O – NET )
ประจาปีการศึกษา 2559 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ระดับ/รายวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมฯ ภาษาอังกฤษ
คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน 38.82 38.24 36.91 42.21 27.21
คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด 40.66 36.90 39.16 44.12 29.79
คะแนนเฉลี่ยสังกัด สพฐ ทั้งหมด 41.41 38.76 40.27 45.08 31.11
คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ 42.25 40.47 41.22 46.68 34.59
เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O-NET )
ปีการศึกษา 2558- 2559 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
รายวิชา ปี 2558 ปี 2559 ผลต่าง
ภาษาไทย 46.81 38.82 - 7.99
คณิตศาสตร์ 46.67 38.24 - 8.43
วิทยาศาสตร์ 43.39 36.91 - 6.48
สังคมศึกษา 44.56 42.21 - 2.35
ภาษาอังกฤษ 29.86 27.21 - 2.65
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน ( O – NET )
ประจาปีการศึกษา 2559 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ระดับ/รายวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมฯ ภาษาอังกฤษ
คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน 42.45 26.28 33.30 45.60 26.40
คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด 44.31 26.09 33.38 47.40 28.78
คะแนนเฉลี่ยสังกัดสพฐ.
ทั้งหมด
46.81 29.53 35.12 49.34 31.39
คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ 46.36 29.31 34.99 49.00 31.80
เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O-NET )
ปีการศึกษา 2558- 2559 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
รายวิชา ปี 2558 ปี 2559 ผลต่าง
ภาษาไทย 42.00 42.45 + 0.45
คณิตศาสตร์ 29.92 26.28 - 3.64
วิทยาศาสตร์ 36.53 33.30 - 3.23
สังคมศึกษา 44.27 45.60 + 1.33
ภาษาอังกฤษ 26.80 26.40 - 0.40
9
1.6 ข้อมูลการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน ปีการศึกษา 2559
จานวนนักเรียนใช้แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน ปีการศึกษา 2559
แหล่งเรียนรู้ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3
ห้องสมุด ๑๔ ๑๔ ๑๘ ๑๘ ๒๐ ๑๗ ๒๓ ๒๐ ๒๐
ห้องปฏิบัติการ ๑๔ ๑๔ ๑๘ ๑๘ ๒๐ ๑๗ ๒๓ ๒๐ ๒๐
ห้องครัว ๑๔ ๑๔ ๑๘ ๑๘ ๒๐ ๑๗ ๒๓ ๒๐ ๒๐
ห้องสหกรณ์ ๑๔ ๑๔ ๑๘ ๑๘ ๒๐ ๑๗ ๒๓ ๒๐ ๒๐
จานวนนักเรียนใช้แหล่งเรียนรู้นอกโรงเรียน ปีการศึกษา 2559
แหล่งเรียนรู้ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3
ดรีมเวอร์ - - - ๑๘ ๒๐ ๑๗ ๒๓ ๒๐ ๒๐
วัด ๑๔ ๑๔ ๑๘ ๑๘ ๒๐ ๑๗ ๒๓ ๒๐ ๒๐
ร้านค้าชุมชน ๑๔ ๑๔ ๑๘ ๑๘ ๒๐ ๑๗ ๒๓ ๒๐ ๒๐
ศูนย์เรียนรู้
เศรษฐกิจ
พอเพียง
๑๔ ๑๔ ๑๘ ๑๘ ๒๐ ๑๗ ๒๓ ๒๐ ๒๐
1.7. ข้อมูลงบประมาณ
งบประมาณเพื่อการบริหารจัดการสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ 2559
1) คานวณงบประมาณในการจัดทาแผนปฏิบัติการ
1.1) คิดจากรายหัวนักเรียน (ข้อมูล 10 มิถุนายน 2559)
1.1.1) ระดับก่อนประถมศึกษา จานวนนักเรียน.42..คน X 1,700 บาท/ปี เป็นเงิน....71,400.... บาท
1.1.2) ระดับประถมศึกษา จานวนนักเรียน..106..คน X 1,900 บาท/ปี เป็นเงิน..201,400..... บาท
1.1.3) ระดับมัธยมศึกษา จานวนนักเรียน..69...คน X 3,500 บาท/ปี เป็นเงิน......241,500....บาท
รวมงบรายหัวเป็นเงิน...............514,300......................................บาท
1.2) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
1.2.1) ระดับก่อนประถมศึกษา จานวนนักเรียน....42.....คน X 430 บาท/ปี เป็นเงิน.18,060... บาท
1.2.2) ระดับประถมศึกษา จานวนนักเรียน.....106...คน X 480 บาท/ปี เป็นเงิน.50,880.... บาท
1.2.3) ระดับมัธยมศึกษา จานวนนักเรียน....69.....คน X 880 บาท/ปี เป็นเงิน..60,720.. บาท
รวมงบกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นเงิน...........129,660.......บาท
1) การจัดสรรงบประมาณในการจัดทาแผนปฏิบัติการ(คิดเฉพาะงบรายหัว ตามข้อ 1.1)
ที่ การจัดสรรงบประมาณ จานวนเงิน
(บาท)
คิดเป็นร้อยละ หมายเหตุ
1 ด้านวิชาการ 308,580 60
2. ด้านบริหารงานบุคคล 51,430 10
3 ด้านบริหารงบประมาณ 25,715 5
4 ด้านงานบริหารทั่วไป 77,145 15
5 งบกลาง 51,430 10
รวม 514,300
10
จานวนงบประมาณที่นามาใช้จัดทาแผนปฏิบัติการ
ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2
รายการ จานวนนักเรียน (คน) จานวนเงิน (บาท) หมายเหตุ
อุดหนุนรายหัว
1) อนุบาล 1 19 32,300
2) อนุบาล 2 23 39,100
3) ประถมศึกษาปีที่ 1 16 30,400
4) ประถมศึกษาปีที่ 2 12 22,800
5) ประถมศึกษาปีที่ 3 18 34,200
6) ประถมศึกษาปีที่ 4 18 34,200
7) ประถมศึกษาปีที่ 5 21 39,900
8) ประถมศึกษาปีที่ 6 21 39,900
9) มัธยมศึกษาปีที่ 1 23 80,500
10) มัธยมศึกษาปีที่ 2 23 80,500
11) มัธยมศึกษาปีที่ 3 23 80,500
รวมเงินอุดหนุนรายหัว
217
514,300
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
1) ก่อนประถมศึกษา 42 18,060
2) ประถมศึกษา 106 50,880
3) มัธยมศึกษาตอนต้น 69 60,720
รวม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
217 129,660
รวมทั้งสิ้น 217 643,960
** จานวนนักเรียน ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2559
11
1.8. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
ระดับการศึกษาปฐมวัย
มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย
เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก
ระดับคุณภาพ
ต้อง
ปรับปรุ
ง
เร่งด่วน
ต้อง
ปรับ
ปรุง
พอใ
ช้
ดี
ดี
มา
ก
มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี √
มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์ √
มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง √
มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น √
มาตรฐานที่ 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน √
มาตรฐานที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ
√
มาตรฐานที่ 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา
สถานศึกษา
√
มาตรฐานที่ 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
และต้นสังกัด
√
มาตรฐานที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์
พันธกิจและวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา
√
มาตรฐานที่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อน
เป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
√
มาตรฐานที่ 11 ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาท
ของสถานศึกษา
√
มาตรฐานที่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับ
มาตรฐานรักษามาตรฐาน และพัฒนาสู้ความเป็นเลิศที่
สอดคล้องกับแนวการปฏิรูปการศึกษา
√
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามระดับ ปฐมวัย
ผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ ได้คะแนนตั้งแต่ 80 คะแนนขึ้นไป คือ ๘๗.๒๘
มีตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๐ ตัวบ่งชี้จาก ๑๒ ตัวบ่งชี้
ไม่มีตัวบ่งชี้ใดที่มีระดับคุณภาพต้องปรับปรุงหรือต้องปรับปรุงเร่งด่วน
ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ  รับรอง  ไม่รับรอง
กรณีที่ไม่ได้รับการรับรอง เนื่องจากมาตรฐานที่ 5 ได้ระดับคุณภาพ ปรับปรุง จึงไม้ได้รับรองมาตรฐาน
12
ข้อเสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพภายนอก
๑. ด้านผลการจัดการศึกษา
เด็กควรได้รับการพัฒนาให้มีสุขนิสัยที่ดีในการรักษาความสะอาดในช่องปาก การแปรงฟันที่ถูกวิธี
เพื่อรักษาสุขภาพปากและฟัน โดยครูโน้มน้าวเด็กให้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ งดเว้นขนม
ขบเคี้ยวหรือขนมกรุบกรอบ การบ้วนปากหรือแปรงฟันทุกครั้งหลังรับประทานอาหาร หรือขนม
หวาน เอาใจใส่ดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด พร้อมทั้งให้คาแนะนาในการแปรงฟันอย่างถูกวิธี ขณะที่เด็ก
ทากิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางว้น ขอความร่วมมือจากผู้ปกครองในการดูแลเด็กขณะอยู่ที่
บ้านและประสานงานกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลหนองม่วง ให้การรักษาเด็กในรายที่ฟันผุ
มากและมีอาการปวดฟัน
๒. ด้านการบริหารจัดการ
สถานศึกษาควรจัดให้มีที่พักสาหรับผู้ปกครองที่มารอรับเด็ก พร้อมทั้งจัดมุมการเรียนรู้สาหรับเด็ก
ปฐมวัยให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองให้มีความรู้ความเข้าใจใน
พัฒนาการของเด็กปฐมวัย
๓. ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ครูควรจัดทาโครงงานและฐานเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดแทรกเข้ากับแผนการจัดการเรียนรู้ ให้เด็ก
ได้ลงมือปฏิบัติจริง เหมาะสมกับบริบทของสังคม
๔. ด้านการประกันคุณภาพ
สถานศึกษาควรพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน โดยร่วมกับต้นสังกัดอย่างต่อเนื่อง
ประสานงานกับต้นสังกัด เพื่อพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน
เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก
ระดับคุณภาพ
ต้อง
ปรับปรุง
เร่งด่วน
ต้อง
ปรับปรุง
พอใช้ ดี ดีมาก
มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี √
มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์ √
มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง √
มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น √
มาตรฐานที่ 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน √
มาตรฐานที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ
√
มาตรฐานที่ 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา
สถานศึกษา
√
มาตรฐานที่ 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
และต้นสังกัด
√
มาตรฐานที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์
พันธกิจและวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา
√
13
มาตรฐานที่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อน
เป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
√
มาตรฐานที่ 11 ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาท
ของสถานศึกษา
√
มาตรฐานที่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับ
มาตรฐานรักษามาตรฐาน และพัฒนาสู้ความเป็นเลิศที่
สอดคล้องกับแนวการปฏิรูปการศึกษา
√
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามระดับ ขั้นพื้นฐาน
ผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ ได้คะแนนตั้งแต่ 80 คะแนนขึ้นไป คือ ๘๑.๔๓
มีตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๐ ตัวบ่งชี้จาก ๑๒ ตัวบ่งชี้
มีตัวบ่งชี้ที่มีระดับคุณภาพต้องปรับปรุง 1 ตัวบ่งชี้คือตัวบ่งชี้ที่5
ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ  รับรอง  ไม่รับรอง
ข้อเสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพภายนอก
๑. ด้านผลการจัดการศึกษา
๑) ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้โดยเฉพาะ
ในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์
๒) ครูควรใช้สื่อประกอบการจัดการเรียนการสอนอย่างหลากหลาย โดยเฉพาะสื่อเทคโนโลยี
๓) ผู้บริหารควรมีการจัดการนิเทศอย่างต่อเนื่อง
๒. ด้านการบริหารจัดการ
สถานศึกษาควรจัดระบบการพัฒนาบุคลากรและส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญอย่างหลากหลาย เน้นการปฏิบัติจริง ศึกษาค้นค้วาจากแหล่งเรียนรู้และสื่อ ICT อย่าง
ต่อเนื่อง
๓. ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
สถานศึกษาควรมีการประเมินแบบวัด แบบทดสอบของครูทุกคนอย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง ครู
ควรพัฒนาความเข้าใจในเรื่องการสอนให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิด มีทักษะในการคิด สามารถ
สรุปและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง และควรทาวิจัยในชั้นเรียนที่เกิดจากปัญหาขณะทากิจกรรม
เพื่อนาผลมาพัฒนาผู้เรียนอย่างเต็มศักยภาพ
๔. ด้านการประกันคุณภาพ
สถานศึกษาควรพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน โดยร่วมกับต้นสังกัดอย่างต่อเนื่อง
ประสานงานกับต้นสังกัด เพื่อพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
14
ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ระดับปฐมวัย 11 มาตรฐาน
มาตรฐานที่ 1 เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
จานวน
เด็ก/
ครู
ทั้งหม
ด
จานวน
นักเรีย
นระดับ
3
ขึ้นไป
ร้อยละ/
ระดับที่
ได้
ค่า
น้าห
นัก
คะแ
นน
ที่ได้
ระดับ
คุณภา
พ
แปล
คุณภา
พ
1.1 มีน้าหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์
มาตรฐาน
๔๑
๓๖ ๘๗.๕๐ ๑ ๐.๘๘ ๔ ดีเยี่ยม
1.2 มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย ๔๑ ๔๐ ๙๗.๕๐ ๑.๕ ๑.๔๖ ๕ ดีเยี่ยม
1.3 มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพ ๔๑ ๔๑ ๑๐๐ ๑.๕ ๑.๕๐ ๕ ดีเยี่ยม
1.4 หลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค ๔๑ ๔๑ ๑๐๐ ๑ ๑.๐๐ ๕ ดีเยี่ยม
สรุปมาตรฐาน ๕ ๔.๘๔ ๕ ดีเยี่ยม
ร่องรอย/หลักฐาน โครงการหรือกิจกรรมที่โรงเรียนได้ดาเนินการ ได้แก่
- โครงการพัฒนาศักยภาพระดับปฐมวัย
- โครงการอาหารกลางวัน
-โครงการอาหารเสริมนม
- โครงการส่งเสริมสุขภาพ
- กิจกรรมแข่งขันกีฬากลุ่ม
- บันทึกการชัง น้าหนัก-วัดส่วนสูง
- บันทึกพัฒนาการ
มาตรฐานที่ 2 เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
จานวน
เด็ก/
ครู
ทั้งหม
ด
จานวน
นักเรีย
นระดับ
3
ขึ้นไป
ร้อยละ/
ระดับที่
ได้
ค่า
น้าห
นัก
คะแ
นน
ที่ได้
ระดับ
คุณภา
พ
แปล
คุณภา
พ
2.1 ร่าเริงแจ่มใส มีความรู้สึกที่ดีต่อ
ตนเอง
๔๑ ๔๑ ๑๐๐ ๑ ๑.๐๐ ๕ ดีเยี่ยม
2.2 มีความมั่นใจและกล้าแสดงออก ๔๑ ๔๐ ๙๗.๕๐ ๑ ๐.๙๘ ๕ ดีเยี่ยม
2.3 ควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสม
กับวัย
๔๑ ๔๐ ๙๗.๕๐ ๑ ๐.๙๘
๕ ดีเยี่ยม
2.4 ชื่นชมศิลปะ ดนตรี การ
เคลื่อนไหว
และรักธรรมชาติ
๔๑ ๔๑ ๑๐๐ ๒ ๒.๐๐
๕ ดีเยี่ยม
สรุปมาตรฐาน ๕ ๔.๙๕ ๕ ดีเยี่ยม
15
ร่องรอย/หลักฐาน โครงการหรือกิจกรรมที่โรงเรียนได้ดาเนินการ ได้แก่
- โครงการพัฒนาศักยภาพระดับปฐมวัย
- โครงการอาหารกลางวัน
-โครงการอาหารเสริมนม
- โครงการส่งเสริมสุขภาพ
- กิจกรรมแข่งขันกีฬากลุ่ม
- บันทึกพัฒนาการ
มาตรฐานที่ 3 เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
จานวน
เด็ก/
ครู
ทั้งหม
ด
จานวน
นักเรีย
นระดับ
3
ขึ้นไป
ร้อยละ/
ระดับที่
ได้
ค่า
น้าห
นัก
คะแ
นน
ที่ได้
ระดับ
คุณภา
พ
แปล
คุณภา
พ
3.1 มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหา
ความรู้
ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้
และ
สื่อต่าง ๆ รอบตัว
๔๑ ๓๘ ๙๒.๗ ๒ ๑.๘๕ ๕ ดีเยี่ยม
3.2 มีทักษะในการอ่าน ฟัง พูด เขียน
และตั้งคาถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้
เพิ่มเติม
๔๑
๔๐ ๙๗.๖ ๑ ๐.๙๗ ๕ ดีเยี่ยม
3.3 เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม
แลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
๔๑
๓๙ ๙๕.๑ ๑ ๐.๙๕ ๕ ดีเยี่ยม
3.4 ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และ
นาเสนอผลงาน
๔๑
๔๐ ๙๗.๖ ๑ ๐.๙๗ ๕ ดีเยี่ยม
สรุปมาตรฐาน ๕ ๔.๗๔ ๕ ดีเยี่ยม
ร่องรอย/หลักฐาน โครงการหรือกิจกรรมที่โรงเรียนได้ดาเนินการ ได้แก่
- โครงการพัฒนาศักยภาพระดับปฐมวัย
- โครงการอาหารกลางวัน
-โครงการอาหารเสริมนม
- โครงการส่งเสริมสุขภาพ
- กิจกรรมแข่งขันกีฬากลุ่ม
- บันทึกพัฒนาการ
16
มาตรฐานที่ 4 เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
จานวน
เด็ก/
ครู
ทั้งหม
ด
จานวน
นักเรีย
นระดับ
3
ขึ้นไป
ร้อยละ/
ระดับที่
ได้
ค่า
น้าห
นัก
คะแ
นน
ที่ได้
ระดับ
คุณภา
พ
แปล
คุณภา
พ
4.1 สนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ซักถาม
อย่าง
ตั้งใจ และรักการเรียนรู้
๔๑ ๓๗ ๙๐.๐๐ 1 ๐.๙๐ 5 ดีเยี่ยม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
จานวน
เด็ก/
ครู
ทั้งหม
ด
จานวน
เด็ก/
ครูที่ได้
ระดับ
3 ขึ้น
ไป
ร้อยละ/
ระดับที่
ได้
ค่า
น้าห
นัก
คะแ
นน
ที่ได้
ระดับ
คุณภา
พ
แปล
คุณภา
พ
4.2 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่าง
ๆ
ที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้
๔๑
๓๘ ๙๒.๕๐ ๑ ๐.๙๓ 5 ดีเยี่ยม
4.3 มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย ๔๑ ๔๑ ๑๐๐ ๑ ๑.๐๐ 5 ดีเยี่ยม
4.4 มีทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
๔๑
๓๖ ๘๗.๕๐
๑
๐.๘๘ 5 ดีเยี่ยม
4.5 มีจินตนาการและความคิด
สร้างสรรค์
๔๑
๔๑ ๑๐๐
๑
๑.๐๐ 5 ดีเยี่ยม
สรุปมาตรฐาน ๔ ๓.๘๑ ๕ ดีเยี่ยม
ร่องรอย/หลักฐาน โครงการหรือกิจกรรมที่โรงเรียนได้ดาเนินการ ได้แก่
- โครงการพัฒนาศักยภาพระดับปฐมวัย
- โครงการอาหารกลางวัน
-โครงการอาหารเสริมนม
- โครงการส่งเสริมสุขภาพ
- กิจกรรมแข่งขันกีฬากลุ่ม
- บันทึกพัฒนาการ
17
มาตรฐานที่ 5 ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
จานวน
เด็ก/
ครู
ทั้งหม
ด
จานวน
นักเรีย
นระดับ
3
ขึ้นไป
ร้อยละ/
ระดับที่
ได้
ค่า
น้าห
นัก
คะแ
นน
ที่ได้
ระดับ
คุณภา
พ
แปล
คุณภา
พ
5.1 ครูเข้าใจปรัชญา หลักการ และ
ธรรมชาติของการจัดการศึกษาปฐมวัย
และสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการจัด
ประสบการณ์
๒ ๒ ๑๐๐ ๒ ๒ ๕ ดีเยี่ยม
5.2 ครูจัดทาแผนการจัดประสบการณ์ที่
สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
และสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่
หลากหลาย สอดคล้องกับความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล
๒ ๒ ๑๐๐ ๒ ๒ ๕ ดีเยี่ยม
5.3 ครูบริหารจัดการชั้นเรียนที่สร้างวินัย
เชิงบวก
๒ ๒ ๑๐๐ ๒ ๒ ๕ ดีเยี่ยม
5.4 ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก
๒ ๒ ๑๐๐ ๒ ๒ ๕ ดีเยี่ยม
5.5 ครูใช้เครื่องมือการวัดและประเมิน
พัฒนาการของเด็กอย่างหลากหลาย และ
สรุปรายงานผลพัฒนาการของเด็กแก่
ผู้ปกครอง
๒ ๒ ๑๐๐ ๒ ๒ ๕ ดีเยี่ยม
5.6 ครูวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่
ตนรับผิดชอบและใช้ผลในการปรับการจัด
ประสบการณ์
๒ ๒ ๑๐๐ ๒ ๒ ๕ ดีเยี่ยม
5.7 ครูจัดสิ่งแวดล้อมให้เกิดการเรียนรู้ได้
ตลอดเวลา
๒ ๒ ๑๐๐ ๒ ๒ ๕ ดีเยี่ยม
5.8 ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อเด็กและ
ผู้ปกครอง
๒ ๒ ๑๐๐ ๒ ๒ ๕ ดีเยี่ยม
5.9 ครูมีวุฒิและความรู้ความสามารถใน
ด้านการศึกษาปฐมวัย
๒ ๒ ๑๐๐ ๒ ๒ ๕ ดีเยี่ยม
5.10 ครูจัดทาสารนิทัศน์ ละนามา
ไตร่ตรองเพื่อประโยขน์ในการ
พัฒนาเด็ก
๒ ๒ ๑๐๐ ๒ ๒ ๕ ดีเยี่ยม
สรุปมาตรฐาน ๒๐ ๒๐ ๔๕ ดีเยี่ยม
18
ร่องรอย/หลักฐาน โครงการหรือกิจกรรมที่โรงเรียนได้ดาเนินการ ได้แก่
- โครงการพัฒนาศักยภาพระดับปฐมวัย
- โครงการอาหารกลางวัน
-โครงการอาหารเสริมนม
- โครงการส่งเสริมสุขภาพ
- กิจกรรมแข่งขันกีฬากลุ่ม
- บันทึกพัฒนาการ
มาตรฐานที่ 6 ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
จานวน
เด็ก/
ครู
ทั้งหม
ด
จานวน
นักเรีย
นระดับ
3
ขึ้นไป
ร้อยละ/
ระดับที่
ได้
ค่า
น้าห
นัก
คะแ
นน
ที่ได้
ระดับ
คุณภา
พ
แปล
คุณภา
พ
6.1 ผู้บริหารเข้าใจปรัชญาและหลักการ
จัดการศึกษาปฐมวัย
๑ ๑
๑๐๐ ๔ ๓ ๔ ดีมาก
6.2 ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นา และ
ความคิดริเริ่มที่เน้นการพัฒนาเด็กปฐมวัย
๑ ๑ ๑๐๐
๕ ๓ ๕ ดีเยี่ยม
6.3 ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมี
ส่วนร่วมและใช้ข้อมูลการประเมินผลหรือ
การวิจัยเป็นฐานคิดทั้งด้านวิชาการและการ
จัดการ
๑ ๑ ๑๐๐
๔ ๓ ๔ ดีมาก
6.4 ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการศึกษา
ให้บรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนาคุณภาพ
สถานศึกษา
๑ ๑ ๑๐๐
๔ ๓ ๔ ดีมาก
6.5 ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ
บุคลากรให้มีประสิทธิภาพ
๑ ๑ ๑๐๐
๔ ๓ ๕ ดีเยี่ยม
6.6 ผู้บริหารให้คาแนะนา คาปรึกษาทาง
วิชาการและเอาใจใส่การจัดการศึกษา
ปฐมวัยเต็มศักยภาพและเต็มเวลา
๑ ๑ ๑๐๐
๕ ๓ ๕ ดีเยี่ยม
6.7 เด็ก ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจ
ผลการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัย
๑ ๑ ๑๐๐
๔ ๒ ๕ ดีเยี่ยม
สรุปมาตรฐาน
๒๐
๑๘.๒
๐
๕ ดีเยี่ยม
ร่องรอย/หลักฐาน โครงการหรือกิจกรรมที่โรงเรียนได้ดาเนินการ ได้แก่
- โครงการพัฒนาศักยภาพระดับปฐมวัย
19
มาตรฐานที่ 7 แนวการจัดการศึกษา
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
จานวน
เด็ก/
ครู
ทั้งหม
ด
จานวน
นักเรีย
นระดับ
3
ขึ้นไป
ร้อยละ/
ระดับที่
ได้
ค่า
น้าห
นัก
คะแ
นน
ที่ได้
ระดับ
คุณภา
พ
แปล
คุณภา
พ
7.1 มีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของ
สถานศึกษาและนาสู่การปฏิบัติได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
๕ ๔ ๔ ๕ ดีเยี่ยม
7.2 มีระบบและกลไกให้ผู้มีส่วนร่วมทุก
ฝ่ายตระหนักและเข้าใจการจัดการศึกษา
ปฐมวัย
๔ ๔ ๓.๒ ๔ ดีมาก
7.3 จัดกิจกรรมเสริมสร้างความ
ตระหนัก
และเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัย
๓ ๔ ๒.๔ ๓ ดี
7.4 สร้างการมีส่วนร่วมและการ
แสวงหา
ความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และ
ท้องถิ่น
๔ ๔ ๓.๒ ๔ ดีมาก
7.5 จัดสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อ
พัฒนา
เด็กอย่างรอบด้าน
๔ ๔ ๓.๒ ๔ ดีเยี่ยม
สรุปมาตรฐาน ๒๐ ๑๖ ๔ ดีมาก
ร่องรอย/หลักฐาน โครงการหรือกิจกรรมที่โรงเรียนได้ดาเนินการ ได้แก่
- โครงการพัฒนาศักยภาพระดับปฐมวัย
20
มาตรฐานที่ 8 สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
จานวน
เด็ก/
ครู
ทั้งหม
ด
จานวน
นักเรีย
นระดับ
3
ขึ้นไป
ร้อยละ/
ระดับที่
ได้
ค่า
น้าห
นัก
คะแ
นน
ที่ได้
ระดับ
คุณภา
พ
แปล
คุณภา
พ
8.1 กาหนดมาตรฐานการศึกษา
ปฐมวัยของสถานศึกษา
๕ ๑ ๑ ๕ ดีเยี่ยม
8.2 จัดทาและดาเนินการตาม
แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษา
๔ ๑ ๐.๘ ๔ ดีมาก
8.3 จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้
สารสนเทศในการบริหารจัดการ
๓ ๑ ๐.๖ ๓ ดี
8.4 ติดตามตรวจสอบ และประเมินผล
การดาเนินงานคุณภาพภายในตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๔ ๐.๕ ๐.๔ ๔ ดีมาก
8.5 นาผลการประเมินคุณภาพทั้ง
ภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
๔ ๐.๕ ๐.๔ ๔ ดีมาก
8.6 จัดทารายงานประจาปีที่เป็น
รายงานการประเมินคุณภาพภายใน
๕ ๑ ๑ ๕ ดีเยี่ยม
สรุปมาตรฐาน ๕ ๔.๒ ๔ ดีมาก
ร่องรอย/หลักฐาน โครงการหรือกิจกรรมที่โรงเรียนได้ดาเนินการ ได้แก่
- โครงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
21
มาตรฐานที่ 9 สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
จานวน
เด็ก/
ครู
ทั้งหม
ด
จานวน
นักเรีย
นระดับ
3
ขึ้นไป
ร้อยละ/
ระดับที่
ได้
ค่า
น้าห
นัก
คะแ
นน
ที่ได้
ระดับ
คุณภา
พ
แปล
คุณภา
พ
9.1 เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาการ
เรียนรู้ของเด็กและบุคลากรในสถานศึกษา
๓ ๒.๕ ๑.๕ ๓
ดี
9.2 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
ภายในสถานศึกษาและระหว่างสถานศึกษา
กับครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่
เกี่ยวข้อง
๓ ๒.๕ ๑.๕ ๓ ดี
สรุปมาตรฐาน ๕ ๓ ๓ ดี
ร่องรอย/หลักฐาน โครงการหรือกิจกรรมที่โรงเรียนได้ดาเนินการ ได้แก่
- โครงการสัมพันธ์ชุมชน
- โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชีวิตเพื่อเสริมสร้างบุคคลแห่งการเรียนรู้
- โครงการส่งเสริมการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในละภายนอกโรงเรียน
- โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
มาตรฐานที่ 10 การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์ และจุดเน้นการจัดการศึกษา
ปฐมวัย
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
จานวน
เด็ก/
ครู
ทั้งหม
ด
จานวน
นักเรีย
นระดับ
3
ขึ้นไป
ร้อยละ/
ระดับที่
ได้
ค่า
น้าห
นัก
คะแ
นน
ที่ได้
ระดับ
คุณภา
พ
แปล
คุณภา
พ
10.1 จัดโครงการ กิจกรรมพัฒนาเด็ก
ให้บรรลุตามเป้าหมาย ปรัชญา
วิสัยทัศน์ และจุดเน้นการจัดการศึกษา
ของปฐมวัยของสถานศึกษา
๓ ๓ ๑.๘ ๓ ดี
10.2 ผลการดาเนินงานบรรลุตาม
เป้าหมาย
๓ ๒ ๑.๒ ๓ ดี
สรุปมาตรฐาน ๕ ๓ ๓ ดี
ร่องรอย/หลักฐาน โครงการหรือกิจกรรมที่โรงเรียนได้ดาเนินการ ได้แก่
- โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์
- โครงการพัฒนาบุคลากร
22
มาตรฐานที่ 11 การพัฒนาสถานศึกษาตามเป้านโยบาย และแนวทางปฏิรูปการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพให้
สูงขึ้น
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
จานวน
เด็ก/
ครู
ทั้งหม
ด
จานวน
นักเรีย
นระดับ
3
ขึ้นไป
ร้อยละ/
ระดับที่
ได้
ค่า
น้าห
นัก
คะแ
นน
ที่ได้
ระดับ
คุณภา
พ
แปล
คุณภา
พ
11.1 จัดโครงการ กิจกรรมส่งเสริม
สนับสนุนตามนโยบายเกี่ยวกับการจัด
การศึกษาปฐมวัย
๓ ๓ ๑.๘ ๓ ดี
11.2 ผลการดาเนินงานบรรลุตาม
เป้าหมาย
๓ ๒ ๑.๒ ๓ ดี
สรุปมาตรฐาน ๕ ๓ ๓ ดี
ร่องรอย/หลักฐาน โครงการหรือกิจกรรมที่โรงเรียนได้ดาเนินการ ได้แก่
- โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์
- โครงการพัฒนาบุคลากร
23
สรุปผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย โรงเรียน บ้านโคกสามัคคี ปีการศึกษา 255๙
มาตรฐานที่ น้าหนัก
ผลประเมิน
คะแนน
ที่ได้ ระดับคุณภาพ แปลความหมาย
1 5 4.84 5 ดีเยี่ยม
2 5 4.95 5 ดีเยี่ยม
3 5 4.95 5 ดีเยี่ยม
4 5 4.70 5 ดีเยี่ยม
รายด้าน 20.00 19.44 5 ดีเยี่ยม
5 20 18.00 5 ดีเยี่ยม
6 20 18.20 5 ดีเยี่ยม
7 20 16.00 4 ดีมาก
8 5 4.20 4 ดีมาก
รายด้าน 65.00 56.40 4 ดีมาก
9 5 3.00 3 ดี
รายด้าน 5 3.00 3 ดี
10 5 3.00 3 ดี
รายด้าน 5 3.00 3 ดี
11 5 3.00 3 ดี
รายด้าน 5 3.00 3 ดี
รวม 100.00 84.84 4 ดีมาก
สรุปผลภาพรวมของสถานศึกษา คะแนนที่ได้ 84.84 ดีมาก
24
ผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา
ระดับการศึกษาปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 1 ปีการศึกษา 2559
พัฒนาการด้าน จานวนนักเรียน ระดับคุณภาพ
ดี พอใช้ ปรับปรุง
ด้านร่ากาย ๑๘ ๑๘ ๐ ๐
ด้านอารมณ์ จิตใจ ๑๘ ๑๗ ๑ ๐
ด้านสังคม ๑๘ ๑๗ ๑ ๐
ด้านสติปัญญา ๑๘ ๑๖ ๒ ๐
ระดับการศึกษาปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ปีการศึกษา 2559
พัฒนาการด้าน จานวนนักเรียน ระดับคุณภาพ
ดี พอใช้ ปรับปรุง
ด้านร่ากาย ๒๓ ๒๓ ๐ ๐
ด้านอารมณ์ จิตใจ ๒๓ ๒๓ ๐ ๐
ด้านสังคม ๒๓ ๒๓ ๐ ๐
ด้านสติปัญญา ๒๓ ๒๐ ๑ ๒
จุดเด่น
๑. มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน (มาตรฐานที่ ๑-๔)
ผู้เรียนมีร่างกายเจริญเติบโตตามวัย มีน้าหนักส่วนสูงตามมาตรฐาน มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย สามารถ
ใช้กล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก ประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตาได้ตามวัย โดยทางโรงเรียนได้ส่งเสริม
การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะต่างๆเหล่านี้ เช่นการสร้างสนามเด็กเล่นเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ การจัด
กิจกรรมโครงการอาหารกลางวัน จัดหาสื่อในการพัฒนากล้ามเนื้อเล็ก เช่นสื่อการเรียนการสอนของมอน
เตสเซอรี่ ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีการส่งเสริมให้เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ รักษ์
ความเป็นไทย โดยให้เด็กใส่ชุดผ้าไทยในวันอังคาร จัดโครงการน้องไว้พี่ พี่ไหว้น้อง สนับสนุนให้เด็กปฐมวัย
เข้าร่วมกิจกรรมที่สาคัญในชุมชนเช่น การแห่เทียนพรรษา ฯลฯ
๒. มาตรฐานการการจัดการศึกษา (มาตรฐานที่ ๕-๘)
ครูมีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบและมีความถนัดมุ่งมั่นอุทิศตนในการ
จัดการเรียนการสอนอย่างเต็มความสามารถ มีการจัดการเรียนการสอนอย่างเต็ม
ความสามรถ มีการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ได้รับการยอมรับ
นับถือจากชุมชน โดยทางโรงเรียนได้มีมาตรการยกระดับความรู้ของครูผู้สอนปฐมวัย โดยการส่งไป
ฝึกอบรม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ศึกษาดูงานตามสถานที่ต่างๆ ที่มีการจัดอบรมเกี่ยวกับการจัดกิจกรรม/การ
เรียนการสอนปฐมวัย/การผลิตสื่อการเรียนการสอนฯลฯ เพื่อให้ครูผู้สอนมีความรู้ความสามารถมากยิ่งขึ้น
25
๓. มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ (มาตรฐานที่ ๙)
โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา แหล่งการเรียนรู้ภายในสถานศึกษา เช่นห้องสมุด
ห้องอาเซียน ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องคอมพิวเตอร์ ซึ่งเด็กและครูสามารถเข้าไปศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับเรื่อง
ต่างๆในสถานที่นั้นๆได้โดยง่าย ส่วนแหล่งเรียนรู้ภายนอกสถานศึกษาได้แก่บริเวณชุมชนโดยรอบโรงเรียน
อาทิ ร้านค้า ร้านสหกรณ์ในชุมชน วิทยากรจากภายนอกโรงเรียนเช่นผู้นาชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน
ผู้ปกครองที่มีความรู้ในเรื่องต่างๆฯลฯ ได้เข้ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับบุคลากรในโรงเรียนตลอดจนได้เชิญ
บุคคลเหล่านี้มาเป็นวิทยากรในการให้ความรู้แก่เด็กๆในเรื่องต่างๆเช่นการทานา การดูแลรักษาสุขภาพ
ปากและฟัน ฯลฯ
๔. มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา (มาตรฐานที่ ๑๐)
นักเรียนมีเงินฝากธนาคารทุกคน โดยทางโรงเรียนได้จัดกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนออมเงิน
กับโรงเรียนตั้งแต่ระดับอนุบาล โดยในทุกระดับชั้นได้ทาบันทึกการออมเงินไว้เป็นหลักฐาน เมื่อสิ้นเดือนจะ
มีการนาเงินออมของนักเรียนฝากกับธนาคารออมสิน ซึ่งทาให้นักเรียนมีเงินออมเก็บสะสมไว้ เมื่อจบปี
การศึกษาเพื่อใช้จ่าย/เป็นทุนการศึกษาในอนาคต
๕. มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม (มาตรฐานที่ ๑๑)
โรงเรียนมีการจัดโครงการ กิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนตามนโยบายเกี่ยวกับการจัดการศึกษาปฐมวัยอาทิเช่น
แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี โครงการปฐมวัย ข้อมูลจากการ
นิเทศติดตามผลการดาเนินงาน รายงานสรุปการประเมินโครงการหรือรายงานผลการปฏิบัติงาน รายงานการ
ประชุม บันทึกการประชุมงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษา
ให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
จุดที่ควรพัฒนา
๑. มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน (มาตรฐานที่ ๑-๔)
จัดกิจกรรมเพื่อให้เด็กมีทักษะทางภาษา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เหมาะสมตามวัย
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ คิดไต่ตรองและมีวิสัยทัศน์
และการพัฒนาในด้านการมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่าง
ต่อเนื่อง
๒. มาตรฐานการการจัดการศึกษา (มาตรฐานที่ ๕-๘)
การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญในด้านประสิทธิภาพ ในด้านการผลิตและการใช้สื่อการสอน
ให้เพิ่มมากขึ้น ส่งเสริมและพัฒนานาวัตกรรมด้านการวิจัยในชั้นเรียนให้สามารถส่งผลถึงการพัฒนาผู้เรียน
อย่างเป็นรูปธรรมและให้ครูได้ศึกษาดูงานการจัดการเรียนการสอนระดับปฐมวัยกับโรงเรียนต้นแบบ
๓. มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ (มาตรฐานที่ ๙)
ต้องการสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพียงพอเหมาะสมเด็กปฐมวัย และพัฒนาแหล่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
เนื่องจากแหล่งเรียนรู้บางอย่างมีความล้าสมัย เช่นห้องสมุดโรงเรียนควรมีการจัดสรรหนังสือสาหรับเด็ก
ปฐมวัยโดยเฉพาะ เพื่อความสะดวกในการเข้าใช้งานของเด็กและครู
๔. มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา (มาตรฐานที่ ๑๐)
ส่งเสริมนักเรียนมีความตระหนักและรู้จักเก็บออมให้มากขึ้น
26
๕. มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม (มาตรฐานที่ ๑๑)
ควรมีการส่งเสริมและสนับสนุนการยกระดับมาตรฐานการจัดการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษา โดย
สถานศึกษาประสานความร่วมมือกับ พ่อแม่ ผู้ปกครอง ชุมชนและสังคมให้เข้ามามีส่วนร่วมในการกาหนด
มาตรการส่งเสริมและนามาตรการเสริมไปบูรณาการกับการเรียนการสอน เช่นการจัดกิจกรรมพิเศษสาหรับ
เด็กปฐมวัย การจัดทาโครงการต่างๆเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างเป็นรูปธรรม
แนวทางการพัฒนาในอนาคต
๑. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นพัฒนาการผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้ชัดเจนมากขึ้น
๒. ส่งเสริมให้ครูเห็นความสาคัญของการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
๓. การพัฒนาบุคลากรโดยการส่งเข้าอบรม อย่างต่อเนื่อง
๔. การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
ความต้องการและความช่วยเหลือ
การพัฒนาครูผู้สอนในการจัดการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับพัฒนาการของผู้เรียน
ระดับศึกษาขั้นพื้นฐาน 4 มาตรฐาน
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม
1.กระบวนการพัฒนา
สถานศึกษามีการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ครูจัดการเรียนรู้ตามความสามารถของผู้เรียนและ
เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตรงตามตัวชี้วัดของหลักสูตร มีการออกแบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน
นอกจากนี้สถานศึกษายังเน้นเรื่องการอ่านออก เขียนได้ ของนักเรียนช่วงชั้นที่ ๑ ดดยเฉพาะนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ ๑ และใช้สื่อการเรียนการสอนในการจัดการเรียนการสอน สื่อทาง ICT ใช้แหล่งเรียนรู้ที่
หลากหลาย นอกจากนี้ยังจัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะชีวิต เน้นคุณธรรม จริยธรรม ที่เหมาะสมกับวัย ส่งเสริม
ความปลอดภัย ส่งเสริมสุขภาพ และส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ จกรรมส่งเสริมอาชีพ เพื่อการพัฒนาผู้เรียน
อย่างมีประสิทธิภาพและศักยภาพของแต่ละบุคคล เพื่อการดารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข
2.ผลการดาเนินงาน
จากผลการดาเนินงานส่งผลให้นักเรียนช่วงชั้นที่ ๑ สามารถอ่านออก เขียนได้ สื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
นักเรียนสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ดีตามหลักประชาธิปไตย ใช้เทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง สามารถเลือก
รับประทานอาหารที่สะอาด อาหารที่มีประโยชนื รักการออกกาลังกาย มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต
3.จุดเด่น
ผู้เรียนอ่านหนังสือออก และส่วนมากอ่านได้คล่อง และเขียนเพื่อการสื่อสารได้ สามารถใช้เทคโนโลยีในการ
แสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ขึ้นไปอย่างเหมาะสมกับวัย ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ของการ
สอบระดับชาติชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ มีคะแนนเฉลี่ยสูงขึ้นทั้ง ๓ ด้าน ผลสัมฤทธิ์ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ และ
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ก็มีพัฒนาการที่ดีขึ้นทุกกลุ่มสารการเรียนรู้ ผู้เรียนมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์ แข็งแรง มีน้าหนัก
และส่วนสูงตามเกณฑ์ ดาเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข
27
4, จุดควรพัฒนา
ผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ ยังต้องเร่งส่เสริมในด้านการกล้าแสดงออก ในเรื่องการนาเสนอ
การอภิปราย และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างเหมาะสม ในระดับมัธยมยังต้องส่งเสริมค่านิยมความเป็นไทย เพื่อให้
เห็นความสาคัญของความเป็นไทย เรียนรู้วัฒนธรรมไทยให้มากขึ้น
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของ
ผู้บริหารสถานศึกษา
ระดับคุณภาพ ดีมาก
1.กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนได้ดาเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาปีการศึกษาที่ผ่านมา ศึกษาข้อมูล
ประเมินการจัดการศ฿กษาตามนโยบาย และจัดประชุมครู ผู้ปกครองคณะกรรมการสถานศึกษาระดมความ
คิดเห็น เพื่อวางแผนร่วมกันในหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีการปรับ
แผนพัฒนาคุณภาพผู้เรียน แผนปฏิบัติการประจาปี ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการของชุมชน
และผู้เรียน พร้อมทั้งจัดหาทรัพยากร จัดหางบประมาณ และมอบหมายงานให้บุคลากรรับผิดชอบตาม
ความเหมาะสม เพื่อให้งานบรรลุตามเป้าหมาย
2.ผลการดาเนินงาน
๑. สถานศึกษามีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศนืและพัธกิจสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของ
สถานศึกษา ชุมชน ท้องถิ่น
๒. โรงเรียนมีแผนพัฒนาการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี สอดคล้องกับการจัดการศึกษาและ
ผู้เรียน
๓. ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการวางแผนการจัดการศึกษา
๔. สถานศึกษามีการนิเทศ กากับ ติดตาม ที่เหมาะสมเป็นระบบต่อเนื่อง
3.จุดเด่น
โรงเรียนบริหารงานอย่างเป็นระบบ มีการประชุมบุคลากรที่เกี่ยวข้อง มีการปรับแผนพัฒนาการจัด
การศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี ให้สอดคล้องกับ สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และเหมาะสมกับ
ผู้เรียน ชุมชน ที่เกี่ยวข้อง
4, จุดควรพัฒนา
สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆให้มากขึ้นเพื่อการพัฒนา และการขับเคลื่อนคุณภาพการจัด
การศึกษา
28
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม
1.กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนดาเนินการส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการปรับปรุงหลักสูตรและ
ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียนและมาตรฐานสากล เศรฐกิจพอเพียง และปรับ
โครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ มีการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน
ผู้เรียนลงมือปฏิบัติจริง จัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิด ครูใช้สื่อในการจัดการเรียนการสอน ครูทุกคนทา
วิจัยในชั้นเรียนปีการศึกษาละ ๑ เรื่อง เพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
2.ผลการดาเนินงาน
จากการดาเนิน การดาเนินกิจกรรม และโครงการที่เกี่ยวข้อง ทาให้ผลการประเมินมาตรฐานที่ ๓ อยู่ใน
เกณฑ์ ดีเยี่ยม
3.จุดเด่น
ครูมีความตั้งใจ มุงมั่นในการพัฒนาการเรียนการสอน โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยการคิด ได้ลง
มือปฏิบัติจริง มีการใช้แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย และส่งเสริมให้นักเรียนแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยเอง
อย่างต่อเนื่อง นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน
4, จุดควรพัฒนา
ควรนาภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน
มาตรฐานที่ 4 ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มี
ประสิทธิภาพ
ระดับคุณภาพ ดี
1.กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนดาเนินการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ๘ องค์ประกอบอย่างครบถ้วน โดยจัดประชุม
ครูและผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา และได้นาเสนอผลการจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษาที่ผ่านมาแก่
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อการพัฒนาที่ดีขึ้น มีการให้ความรู้ในเรื่องการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มีการ
แต่งตั้งคณะกรรมการในการติดตามตรวจสอบ และประเมินตนเอง สรุปผลการดาเนินงานเพื่อพัฒนาปรับปรุงตลอด
ปีการศึกษา มีการติดตามประเมินผลโครงการและกิจกรรม สรุปผลการดาเนินงานเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาของ
โรงเรียน
2..ผลการดาเนินงาน
โรงเรียนมีการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา อย่างเป็นระบบ มีผลการ
ประเมินในระดับคุณภาพดี
3.จุดเด่น
โรงเรียนให้ความสาคัญกับการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา เน้นด้านความเข้าใจและ
ให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษากับคณะครู บุคลากรทุกฝ่าย เน้นการมีส่วนร่วมกับบุคคลที่เกี่ยวข้องทุก
ระดับ
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ระเบียบการรับนักเรียน57
ระเบียบการรับนักเรียน57ระเบียบการรับนักเรียน57
ระเบียบการรับนักเรียน57
Vattana Lapanich
 
Report54 1-edit
Report54 1-editReport54 1-edit
Report54 1-edit
kruchaily
 
SAR ตูมพิทย์ 56
SAR ตูมพิทย์ 56SAR ตูมพิทย์ 56
SAR ตูมพิทย์ 56
Ekachai Duangjai
 
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรมบทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
sawed kodnara
 

La actualidad más candente (19)

Sar pakmaiwittayanukul-school-2559
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559Sar pakmaiwittayanukul-school-2559
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559
 
05 sar2556 251257
05 sar2556 25125705 sar2556 251257
05 sar2556 251257
 
O-NET ม.6-จำนวนจริง
O-NET ม.6-จำนวนจริงO-NET ม.6-จำนวนจริง
O-NET ม.6-จำนวนจริง
 
ระเบียบการรับนักเรียน57
ระเบียบการรับนักเรียน57ระเบียบการรับนักเรียน57
ระเบียบการรับนักเรียน57
 
จุดเน้น 1
จุดเน้น  1จุดเน้น  1
จุดเน้น 1
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 1
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 1ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 1
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 1
 
11
1111
11
 
1 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar571 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar57
 
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 1
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 1ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 1
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 1
 
ประกาศรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ประกาศรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4ประกาศรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ประกาศรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
 
Report54 1-edit
Report54 1-editReport54 1-edit
Report54 1-edit
 
SAR ตูมพิทย์ 56
SAR ตูมพิทย์ 56SAR ตูมพิทย์ 56
SAR ตูมพิทย์ 56
 
O net ลำดับเลขคณิต
O net ลำดับเลขคณิตO net ลำดับเลขคณิต
O net ลำดับเลขคณิต
 
O-NET ม.6- การให้เหตุผล
O-NET ม.6- การให้เหตุผลO-NET ม.6- การให้เหตุผล
O-NET ม.6- การให้เหตุผล
 
พาเวอร์พอยรายงาน ครูผู้ช่วย 8
พาเวอร์พอยรายงาน ครูผู้ช่วย 8 พาเวอร์พอยรายงาน ครูผู้ช่วย 8
พาเวอร์พอยรายงาน ครูผู้ช่วย 8
 
นำเสนอโรงเรียนวัดบ้านม่อน 2559
นำเสนอโรงเรียนวัดบ้านม่อน 2559นำเสนอโรงเรียนวัดบ้านม่อน 2559
นำเสนอโรงเรียนวัดบ้านม่อน 2559
 
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรมบทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 

Similar a เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี

คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
phornphan1111
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
phornphan1111
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
kruchaily
 
จุดเน้นการดำเนินงาน ที่ 1
จุดเน้นการดำเนินงาน   ที่ 1จุดเน้นการดำเนินงาน   ที่ 1
จุดเน้นการดำเนินงาน ที่ 1
kruchaily
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
kruchaily
 
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
Montree Jareeyanuwat
 

Similar a เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี (20)

สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558
 
ITA.pdf
ITA.pdfITA.pdf
ITA.pdf
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธย...
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธย...ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธย...
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธย...
 
แฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงานแฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงาน
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
ประกาศรับสมัครนักเรียนโรงเรียนนามนพิทยาคม
ประกาศรับสมัครนักเรียนโรงเรียนนามนพิทยาคมประกาศรับสมัครนักเรียนโรงเรียนนามนพิทยาคม
ประกาศรับสมัครนักเรียนโรงเรียนนามนพิทยาคม
 
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
 
นำเสนอประเมินรอบสาม
นำเสนอประเมินรอบสามนำเสนอประเมินรอบสาม
นำเสนอประเมินรอบสาม
 
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
 
จุดเน้นการดำเนินงาน ที่ 1
จุดเน้นการดำเนินงาน   ที่ 1จุดเน้นการดำเนินงาน   ที่ 1
จุดเน้นการดำเนินงาน ที่ 1
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
Post selt2
Post selt2Post selt2
Post selt2
 
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
 
Port peter
Port peterPort peter
Port peter
 
บทที่ 1 ใหม่
บทที่ 1 ใหม่บทที่ 1 ใหม่
บทที่ 1 ใหม่
 
Sar peter 60
Sar peter 60Sar peter 60
Sar peter 60
 
Port arom 2561
Port arom 2561Port arom 2561
Port arom 2561
 

Más de comed (6)

Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคีSar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
 
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคีSAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
 
Test
TestTest
Test
 
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยีหลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
 
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วยเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
 
มหัศจรรย์ความงามแห่งท้องทะเลไทย
มหัศจรรย์ความงามแห่งท้องทะเลไทยมหัศจรรย์ความงามแห่งท้องทะเลไทย
มหัศจรรย์ความงามแห่งท้องทะเลไทย
 

เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี

  • 1. 1 รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นปฐมวัยและขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา ๒๕๕๙ โรงเรียน บ้านโคกสามัคคี อาเภอโคกสูง จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแก้ว เขต ๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. 2 คานา รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาเป็นการสรุปผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่สะท้อนผล การพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ซึ่งเป็นผลสาเร็จจากการบริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานระดับ ปฐมวัยและระดับขั้นพื้นฐาน เพื่อเป็นการประกันคุณภาพภายในระดับปฐมวัย 11 มาตรฐาน และระดับขั้น พื้นฐาน 4 มาตรฐาน ผลการวิเคราะห์จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และระบุแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมา และเตรียมความพร้อมในการรับการ ประเมินคุณภาพภายนอกต่อไป โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
  • 3. 3 สารบัญ เรื่อง หน้า ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 1.1 ข้อมูลทั่วไป 1.2 ข้อมูลครูและบุคลากร 1.3 ข้อมูลนักเรียน 1.4 สรุปข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา 1.5 ผลการทดสอบระดับชาติของผู้เรียน 1.6 สรุปการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา 1.7 งบประมาณ ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2.1 ผลการดาเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพภายใน ของสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย (11 มาตรฐาน 51 ตัวบ่งชี้) 2.2 ผลการดาเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( 4 มาตรฐาน ) สาวนที่ 3 สรุปผล แนวทางการพัฒนาและความต้องการการช่วยเหลือ 3.1 จุดเด่นของสถานศึกษา 3.2 จุดที่ควรพัฒนาของสถานศึกษา 3.3 แนวทางการพัฒนาในอนาคต 3.4 ความต้องการการช่วยเหลือ ส่วนที่ 4 ภาคผนวก 4.1 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 4.2 ประกาศโรงเรียน เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 4.3 ประกาศโรงเรียน เรื่อง กาหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในขอ 1 1 2 3 4 4 6 6 11 11 23 26 28
  • 4. 4 ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา 1.1 ข้อมูลทั่วไป ชื่อโรงเรียน บ้านโคกสามัคคี ที่อยู่หมู่ ๖ บ้านโคกสามัคคี ตาบลหนองม่วง อาเภอโคกสูง จังหวัดสระแก้ว สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต ๒ เปิดสอนระดับชั้น อนุบาล ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ผู้บริหารสถานศึกษาชื่อ นางชาลี บุญญา วุฒิการศึกษา ปริญญาโท สาขาการบริการการศึกษา ดารงตาแหน่งนี้ที่โรงเรียนตั้งแต่๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ ถึงปัจจุบันพ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นเวลา๒๔ ปี ประวัติโรงเรียนโดยย่อ โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๕ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๙ ณ บ้านโคกสามัคคี หมู่ที่ ๖ ตาบลหนองม่วง เดิมเป็นอาเภอตาพระยา จังหวัดปราจีนบุรี ปัจจุบันสังกัดกิ่งอาเภอโคกสูง จังหวัดสระแก้ว โดย ความร่วมมือของชาวบ้าน ซึ่งมีนายชู จันทร์สว่าง ผู้ใหญ่บ้านสมัยนั้นเป็นผู้นา และได้อาศัยศาลาวัดเป็นอาคารเรียน ชั่วคราว ซึ่งมีหัวหน้าการศึกษาอาเภอตาพระยา ( นายประกอบ แก้วทอง) พร้อมด้วยประทานกลุ่มหนองแวง ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ ภายในกลุ่มหน่วยพัฒนาการเคลื่อนที่จังหวัดปราจีนบุรี และชาวบ้านได้ร่วมกันทาพิธีเปิด โรงเรียน การรับเด็กเข้าเรียน รับเด็กเข้าเรียนตั้งแต่อายุ ๗ ปี เข้าเรียนในระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ ตาม พระราชบัญญัติประถมศึกษาพุทธศักราช ๒๔๗๘ เริ่มเปิดสอนตั้งแต่ ป๑-ป๔ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๑ โรงเรียนได้ เปิดสอนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ และปี ๒๕๒๒ ได้เปิดสอนระดับประถมศึกษาปีที่ ๖ และในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ ได้เปิด สอนชั้นเด็กเล็ก ต่อมาในปัจจุบันนี้ ได้เปิดสอนตั้งแต่อนุบาล ๑ ถึงมัธยมศึกษาปีที่ ๓ การจัดการเรียนการสอน โรงเรียนเปิดสอนตั้งแต่ชั้น ป. ๑ –ป.๖ เดิมนั้นสอนประจาชั้น ต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๒๓ ได้เพิ่มชั่วโมงของหลักสูตรใหม่ จากวันละ ๕ เป็นวันละ ๖ ชั่วโมง เท่ากับชั้น ป.๕ ป.๖ เป็นสัปดาห์ละ ๓๐ ชั่วโมงและในปัจจุบันได้จัดการเรียนการสอนเป็นคาบๆละ ๕๐ นาที ตามชั้นมัธยมศึกษาและจัดให้ครูสอนหมุนเวียน อันเนื่องมาจากปัญหาการขาดแคลนครู การเปิดและปิดโรงเรียน ปฏิบัติตามคาสั่งสานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ(สปช) ความเคลื่อนไหวและเหตุการณ์ทางการศึกษาในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ ทางโรงเรียนและคณะกรรมการศึกษาของ โรงเรียนได้จัดหาที่จานวน ๑๓ ไร่ ๒ งาน ๘๐ ตารางวา สาหรับปลูกสร้างอาคารเรียนไว้เรียบร้อย โดยได้รับความ ร่วมมือจากหน่วยงานพัฒนาการเคลื่อนที่ปราจีนบุรี (น.พ.ค.) มาทาการปรับพื้นที่ให้อย่างดีและโรงเรียนได้รับ อุปกรณ์จากองค์การบริหารส่วนจังหวัด อาทิ โต๊ะ เก้าอี้ ๑๐๐ ชุด กระดานดา ๒ แผ่น แทงค์น้า ๒ ใบ โต๊ะครู ๒ ชุด และได้รับงบประมาณดังนี้ อาคารเรียน ๔ หลัง หลังที่ ๑ แบบ ป.๑ ข สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๐ งบประมาณ ๒๗๐,๐๐๐ บาท หลังที่ ๒ แบบ ป.๑ ก สร้งเมื่ พ.ศ. ๒๕๒๓ งบประมาณ ๒๔๐,๐๐๐ บาท หลังที่ ๓ แบบ ป.๑ ก สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๕ งบประมาณ ๒๕๐,๐๐๐ บาท หลังที่ ๔ แบบ สปช. สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๕ งบประมาณ ๑,๗๘๓,๐๐๐ บาท อาคารเอนกประสงค์ ๑ หลัง แบบกรมสามัญ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๓ งบประมาณ ๑๑๐,๐๐๐ บาท
  • 5. 5 บ้านพักครู ๓ หลัง หลังที่ ๑ แบบกรมสามัญ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๑ งบประมาณ ๕๐,๐๐๐ บาท หลังที่ ๒ แบบสามัญ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๑ งบประมาณ ๕๐,๐๐๐ บาท หลังที่ ๓ แบบ สปช. สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๐ งบประมาณ ๘๐,๐๐๐ บาท ส้วม ๓ หลัง หลังที่ ๑ แบบกรมสามัญ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๔ งบประมาณ ๕๐,๐๐๐ บาท หลังที่ ๒ แบบ สปช. ๖๐๑/๒๕ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๘ งบประมาณ ๘๐,๐๐๐ บาท หลังที่ ๓ แบบ สปช. ๖๐๔/๔๕ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๖ งบประมาณ ๑๖๑,๐๐๐ บาท สนามบาสเกตบอล สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๘ งบประมาณ ๑๒๘,๐๐๐ บาท ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม ๑) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะของชุมชนชนบทมีบ้านที่พักอาศัยอยู่ใกล้ชิดติดกันมี ประชากรประมาณ ๑,๖๐๐ คน บริเวณใกล้เคียง อาชีพหลักของชุมชน คือทาการเกษตรส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาพุทธ ๒) ผู้ปกครองส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับ ป.๖อาชีพหลักคือ ทาการเกษตรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉลี่ยต่อครอบครัวต่อปี ๓๐,๐๐๐ บาท 1.2 ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา 1) จานวนบุคลากร บุคลากร ผู้อานวยการ รอง ผู้อานวยการ ครูผู้สอน พนักงาน ราชการ ครูอัตราจ้าง เจ้าหน้าที่ อื่นๆ ปีการศึกษา 2559 ๑ - ๑๕ ๒ ๒ 2) วุฒิการศึกษาสูงสุดของบุคลากร วุฒิการศึกษา ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ประกาศนียบัตร บัณฑิต ปริญญาโท ปริญญาเอก ปีการศึกษา 2559 - - ๑๔ - ๒ - 3) วิทยฐานะ วิทยฐานะ ครูผู้ช่วย ครู คศ 1 ครู คศ. 2 ครูคศ. 3 ครู คศ. 4 ครู คศ.5 ปีการศึกษา 2559 ๕ ๓ ๓ ๔ - -
  • 6. 6 4) สาขาที่จบการศึกษาและภาระงานสอน สาชาวิชา จานวน ภาระงานสอนเฉลี่ยของครู 1 คน (ชม./สัปดาห์) ๑. คณิตศาสตร์ ๑ ๑๘ ๒. วิทยาศาสตร์ ๓ ๑๘ ๓. ภาษาไทย ๑ ๑๘ ๔. พลศึกษา ๑ ๑๘ ๕. สังคมศึกษา ๒ ๑๘ ๖. ประถมศึกษา ๔ ๑๘ ๗. อังกฤษ ๒ ๑๘ ๘. ปฐมวัย ๒ ๑๘ รวม 1.3 ข้อมูลนักเรียน จานวนนักเรียนปีการศึกษา 2559 รวม ๒๑๒ คน ระดับชั้น จานวนห้อง เพศ รวม เฉลี่ยต่อห้อง ชาย หญิง อ.1 ๑ ๑๐ ๘ ๑๘ ๑๘ อ.2 ๑ ๗ ๑๖ ๒๓ ๒๓ รวม ๒ ๑๗ ๒๔ ๔๑ ๔๑ ป.1 ๑ ๙ ๕ ๑๔ ๑๔ ป.2 ๑ ๗ ๗ ๑๔ ๑๔ ป.3 ๑ ๑๓ ๕ ๑๘ ๑๘ ป.4 ๑ ๑๐ ๘ ๑๘ ๑๘ ป.5 ๑ ๑๑ ๙ ๒๐ ๒๐ ป.๖ ๑ ๗ ๑๒ ๑๘ ๑๘ รวม ๖ ๕๗ ๔๖ ๑๐๓ ๑๐๓ ม.1 ๑ ๑๔ ๙ ๒๓ ๒๓ ม.2 ๑ ๑๓ ๙ ๒๒ ๒๒ ม.3 ๑ ๑๒ ๑๑ ๒๓ ๒๓ รวม ๓ ๓๙ ๒๙ ๖๘ ๖๘ รวมทั้งหมด ๑๑ ๑๑๓ ๙๕ ๒๑๒ ๒๑๒
  • 7. 7 1.4 ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา ร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ 3 ขึ้นไป ระดับประถมศึกษาปีที่ 1-มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา 2559 วิชา จานวนนักเรียนที่ได้ระดับ 3 ขึ้นไป ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 คิดเป็น ร้อยละ ภาษาไทย 12 10 12 16 14 16 15 11 16 71.35 คณิตศาสตร์ 11 11 12 12 11 13 9 7 10 56.14 วิทยาศาสตร์ 11 11 15 14 15 14 13 10 12 67.25 สังคมศึกษา 9 10 7 9 8 13 1 7 4 57.31 ประวัติศาสตร์ 4 7 5 8 11 17 3 4 5 37.43 ศิลปะ ดนตรี 13 13 15 14 20 17 19 17 22 87.72 การงานฯ 13 13 18 17 20 17 20 20 17 90.64 ภาษาอังกฤษ 9 10 12 10 14 17 7 3 5 50.88 รวมจานวน 82 85 96 100 113 124 87 79 91 1.5 ผลการทดสอบระดับชาติของผู้เรียน ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ(National Teat : NT ) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ประจาปีการศึกษา 2559 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ด้านภาษา ด้านคานวณ ด้านเหตุผล เฉลี่ยทั้ง 3 ด้าน ระดับโรงเรียน ๕๒.๓๐ ๔๓.๙๕ ๕๑.๔๒ ๔๙.๒๓ ระดับเขตพื้นที่ ๔๖.๘๙ ๓๕.๔๖ ๕๐.๘๔ ๔๔.๔๐ ระดับประเทศ ๕๑.๐๐ ๓๖.๙๙ ๕๓.๓๘ ๔๗.๑๓ เปรียบเทียบภาพรวมผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ(NT) และร้อยละของผลต่างระหว่างปีการศึกษา 2558 -2559 ความสามารถ ปีการศึกษา 2558 ปีการศึกษา 2559 ผลต่าง ด้านภาษา ๖๒.๒๙ ๕๒.๓๐ - ๙.๙๙ ด้านคานวณ ๕๙.๐๕ ๔๓.๙๕ - ๑๕.๑๐ ด้านเหตุผล ๖๒.๘๖ ๕๑.๔๒ - ๑๑.๔๔ รวมความสามารถทั้ง 3 ด้าน ๖๑.๔๐ ๔๙.๒๓ - ๑๒.๑๗
  • 8. 8 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน ( O – NET ) ประจาปีการศึกษา 2559 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับ/รายวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมฯ ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน 38.82 38.24 36.91 42.21 27.21 คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด 40.66 36.90 39.16 44.12 29.79 คะแนนเฉลี่ยสังกัด สพฐ ทั้งหมด 41.41 38.76 40.27 45.08 31.11 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ 42.25 40.47 41.22 46.68 34.59 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O-NET ) ปีการศึกษา 2558- 2559 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 รายวิชา ปี 2558 ปี 2559 ผลต่าง ภาษาไทย 46.81 38.82 - 7.99 คณิตศาสตร์ 46.67 38.24 - 8.43 วิทยาศาสตร์ 43.39 36.91 - 6.48 สังคมศึกษา 44.56 42.21 - 2.35 ภาษาอังกฤษ 29.86 27.21 - 2.65 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน ( O – NET ) ประจาปีการศึกษา 2559 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระดับ/รายวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมฯ ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน 42.45 26.28 33.30 45.60 26.40 คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด 44.31 26.09 33.38 47.40 28.78 คะแนนเฉลี่ยสังกัดสพฐ. ทั้งหมด 46.81 29.53 35.12 49.34 31.39 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ 46.36 29.31 34.99 49.00 31.80 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O-NET ) ปีการศึกษา 2558- 2559 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 รายวิชา ปี 2558 ปี 2559 ผลต่าง ภาษาไทย 42.00 42.45 + 0.45 คณิตศาสตร์ 29.92 26.28 - 3.64 วิทยาศาสตร์ 36.53 33.30 - 3.23 สังคมศึกษา 44.27 45.60 + 1.33 ภาษาอังกฤษ 26.80 26.40 - 0.40
  • 9. 9 1.6 ข้อมูลการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน ปีการศึกษา 2559 จานวนนักเรียนใช้แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน ปีการศึกษา 2559 แหล่งเรียนรู้ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ห้องสมุด ๑๔ ๑๔ ๑๘ ๑๘ ๒๐ ๑๗ ๒๓ ๒๐ ๒๐ ห้องปฏิบัติการ ๑๔ ๑๔ ๑๘ ๑๘ ๒๐ ๑๗ ๒๓ ๒๐ ๒๐ ห้องครัว ๑๔ ๑๔ ๑๘ ๑๘ ๒๐ ๑๗ ๒๓ ๒๐ ๒๐ ห้องสหกรณ์ ๑๔ ๑๔ ๑๘ ๑๘ ๒๐ ๑๗ ๒๓ ๒๐ ๒๐ จานวนนักเรียนใช้แหล่งเรียนรู้นอกโรงเรียน ปีการศึกษา 2559 แหล่งเรียนรู้ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ดรีมเวอร์ - - - ๑๘ ๒๐ ๑๗ ๒๓ ๒๐ ๒๐ วัด ๑๔ ๑๔ ๑๘ ๑๘ ๒๐ ๑๗ ๒๓ ๒๐ ๒๐ ร้านค้าชุมชน ๑๔ ๑๔ ๑๘ ๑๘ ๒๐ ๑๗ ๒๓ ๒๐ ๒๐ ศูนย์เรียนรู้ เศรษฐกิจ พอเพียง ๑๔ ๑๔ ๑๘ ๑๘ ๒๐ ๑๗ ๒๓ ๒๐ ๒๐ 1.7. ข้อมูลงบประมาณ งบประมาณเพื่อการบริหารจัดการสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ 2559 1) คานวณงบประมาณในการจัดทาแผนปฏิบัติการ 1.1) คิดจากรายหัวนักเรียน (ข้อมูล 10 มิถุนายน 2559) 1.1.1) ระดับก่อนประถมศึกษา จานวนนักเรียน.42..คน X 1,700 บาท/ปี เป็นเงิน....71,400.... บาท 1.1.2) ระดับประถมศึกษา จานวนนักเรียน..106..คน X 1,900 บาท/ปี เป็นเงิน..201,400..... บาท 1.1.3) ระดับมัธยมศึกษา จานวนนักเรียน..69...คน X 3,500 บาท/ปี เป็นเงิน......241,500....บาท รวมงบรายหัวเป็นเงิน...............514,300......................................บาท 1.2) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1.2.1) ระดับก่อนประถมศึกษา จานวนนักเรียน....42.....คน X 430 บาท/ปี เป็นเงิน.18,060... บาท 1.2.2) ระดับประถมศึกษา จานวนนักเรียน.....106...คน X 480 บาท/ปี เป็นเงิน.50,880.... บาท 1.2.3) ระดับมัธยมศึกษา จานวนนักเรียน....69.....คน X 880 บาท/ปี เป็นเงิน..60,720.. บาท รวมงบกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นเงิน...........129,660.......บาท 1) การจัดสรรงบประมาณในการจัดทาแผนปฏิบัติการ(คิดเฉพาะงบรายหัว ตามข้อ 1.1) ที่ การจัดสรรงบประมาณ จานวนเงิน (บาท) คิดเป็นร้อยละ หมายเหตุ 1 ด้านวิชาการ 308,580 60 2. ด้านบริหารงานบุคคล 51,430 10 3 ด้านบริหารงบประมาณ 25,715 5 4 ด้านงานบริหารทั่วไป 77,145 15 5 งบกลาง 51,430 10 รวม 514,300
  • 10. 10 จานวนงบประมาณที่นามาใช้จัดทาแผนปฏิบัติการ ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2 รายการ จานวนนักเรียน (คน) จานวนเงิน (บาท) หมายเหตุ อุดหนุนรายหัว 1) อนุบาล 1 19 32,300 2) อนุบาล 2 23 39,100 3) ประถมศึกษาปีที่ 1 16 30,400 4) ประถมศึกษาปีที่ 2 12 22,800 5) ประถมศึกษาปีที่ 3 18 34,200 6) ประถมศึกษาปีที่ 4 18 34,200 7) ประถมศึกษาปีที่ 5 21 39,900 8) ประถมศึกษาปีที่ 6 21 39,900 9) มัธยมศึกษาปีที่ 1 23 80,500 10) มัธยมศึกษาปีที่ 2 23 80,500 11) มัธยมศึกษาปีที่ 3 23 80,500 รวมเงินอุดหนุนรายหัว 217 514,300 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1) ก่อนประถมศึกษา 42 18,060 2) ประถมศึกษา 106 50,880 3) มัธยมศึกษาตอนต้น 69 60,720 รวม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 217 129,660 รวมทั้งสิ้น 217 643,960 ** จานวนนักเรียน ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2559
  • 11. 11 1.8. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับคุณภาพ ต้อง ปรับปรุ ง เร่งด่วน ต้อง ปรับ ปรุง พอใ ช้ ดี ดี มา ก มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี √ มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์ √ มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง √ มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น √ มาตรฐานที่ 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน √ มาตรฐานที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ √ มาตรฐานที่ 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา สถานศึกษา √ มาตรฐานที่ 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และต้นสังกัด √ มาตรฐานที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจและวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา √ มาตรฐานที่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อน เป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา √ มาตรฐานที่ 11 ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาท ของสถานศึกษา √ มาตรฐานที่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับ มาตรฐานรักษามาตรฐาน และพัฒนาสู้ความเป็นเลิศที่ สอดคล้องกับแนวการปฏิรูปการศึกษา √ สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามระดับ ปฐมวัย ผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ ได้คะแนนตั้งแต่ 80 คะแนนขึ้นไป คือ ๘๗.๒๘ มีตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๐ ตัวบ่งชี้จาก ๑๒ ตัวบ่งชี้ ไม่มีตัวบ่งชี้ใดที่มีระดับคุณภาพต้องปรับปรุงหรือต้องปรับปรุงเร่งด่วน ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ  รับรอง  ไม่รับรอง กรณีที่ไม่ได้รับการรับรอง เนื่องจากมาตรฐานที่ 5 ได้ระดับคุณภาพ ปรับปรุง จึงไม้ได้รับรองมาตรฐาน
  • 12. 12 ข้อเสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพภายนอก ๑. ด้านผลการจัดการศึกษา เด็กควรได้รับการพัฒนาให้มีสุขนิสัยที่ดีในการรักษาความสะอาดในช่องปาก การแปรงฟันที่ถูกวิธี เพื่อรักษาสุขภาพปากและฟัน โดยครูโน้มน้าวเด็กให้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ งดเว้นขนม ขบเคี้ยวหรือขนมกรุบกรอบ การบ้วนปากหรือแปรงฟันทุกครั้งหลังรับประทานอาหาร หรือขนม หวาน เอาใจใส่ดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด พร้อมทั้งให้คาแนะนาในการแปรงฟันอย่างถูกวิธี ขณะที่เด็ก ทากิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางว้น ขอความร่วมมือจากผู้ปกครองในการดูแลเด็กขณะอยู่ที่ บ้านและประสานงานกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลหนองม่วง ให้การรักษาเด็กในรายที่ฟันผุ มากและมีอาการปวดฟัน ๒. ด้านการบริหารจัดการ สถานศึกษาควรจัดให้มีที่พักสาหรับผู้ปกครองที่มารอรับเด็ก พร้อมทั้งจัดมุมการเรียนรู้สาหรับเด็ก ปฐมวัยให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองให้มีความรู้ความเข้าใจใน พัฒนาการของเด็กปฐมวัย ๓. ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ครูควรจัดทาโครงงานและฐานเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดแทรกเข้ากับแผนการจัดการเรียนรู้ ให้เด็ก ได้ลงมือปฏิบัติจริง เหมาะสมกับบริบทของสังคม ๔. ด้านการประกันคุณภาพ สถานศึกษาควรพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน โดยร่วมกับต้นสังกัดอย่างต่อเนื่อง ประสานงานกับต้นสังกัด เพื่อพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับคุณภาพ ต้อง ปรับปรุง เร่งด่วน ต้อง ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี √ มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์ √ มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง √ มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น √ มาตรฐานที่ 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน √ มาตรฐานที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ √ มาตรฐานที่ 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา สถานศึกษา √ มาตรฐานที่ 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และต้นสังกัด √ มาตรฐานที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจและวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา √
  • 13. 13 มาตรฐานที่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อน เป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา √ มาตรฐานที่ 11 ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาท ของสถานศึกษา √ มาตรฐานที่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับ มาตรฐานรักษามาตรฐาน และพัฒนาสู้ความเป็นเลิศที่ สอดคล้องกับแนวการปฏิรูปการศึกษา √ สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามระดับ ขั้นพื้นฐาน ผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ ได้คะแนนตั้งแต่ 80 คะแนนขึ้นไป คือ ๘๑.๔๓ มีตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๐ ตัวบ่งชี้จาก ๑๒ ตัวบ่งชี้ มีตัวบ่งชี้ที่มีระดับคุณภาพต้องปรับปรุง 1 ตัวบ่งชี้คือตัวบ่งชี้ที่5 ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ  รับรอง  ไม่รับรอง ข้อเสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพภายนอก ๑. ด้านผลการจัดการศึกษา ๑) ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้โดยเฉพาะ ในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ๒) ครูควรใช้สื่อประกอบการจัดการเรียนการสอนอย่างหลากหลาย โดยเฉพาะสื่อเทคโนโลยี ๓) ผู้บริหารควรมีการจัดการนิเทศอย่างต่อเนื่อง ๒. ด้านการบริหารจัดการ สถานศึกษาควรจัดระบบการพัฒนาบุคลากรและส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญอย่างหลากหลาย เน้นการปฏิบัติจริง ศึกษาค้นค้วาจากแหล่งเรียนรู้และสื่อ ICT อย่าง ต่อเนื่อง ๓. ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สถานศึกษาควรมีการประเมินแบบวัด แบบทดสอบของครูทุกคนอย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง ครู ควรพัฒนาความเข้าใจในเรื่องการสอนให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิด มีทักษะในการคิด สามารถ สรุปและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง และควรทาวิจัยในชั้นเรียนที่เกิดจากปัญหาขณะทากิจกรรม เพื่อนาผลมาพัฒนาผู้เรียนอย่างเต็มศักยภาพ ๔. ด้านการประกันคุณภาพ สถานศึกษาควรพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน โดยร่วมกับต้นสังกัดอย่างต่อเนื่อง ประสานงานกับต้นสังกัด เพื่อพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
  • 14. 14 ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย 11 มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ จานวน เด็ก/ ครู ทั้งหม ด จานวน นักเรีย นระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ/ ระดับที่ ได้ ค่า น้าห นัก คะแ นน ที่ได้ ระดับ คุณภา พ แปล คุณภา พ 1.1 มีน้าหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐาน ๔๑ ๓๖ ๘๗.๕๐ ๑ ๐.๘๘ ๔ ดีเยี่ยม 1.2 มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย ๔๑ ๔๐ ๙๗.๕๐ ๑.๕ ๑.๔๖ ๕ ดีเยี่ยม 1.3 มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพ ๔๑ ๔๑ ๑๐๐ ๑.๕ ๑.๕๐ ๕ ดีเยี่ยม 1.4 หลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค ๔๑ ๔๑ ๑๐๐ ๑ ๑.๐๐ ๕ ดีเยี่ยม สรุปมาตรฐาน ๕ ๔.๘๔ ๕ ดีเยี่ยม ร่องรอย/หลักฐาน โครงการหรือกิจกรรมที่โรงเรียนได้ดาเนินการ ได้แก่ - โครงการพัฒนาศักยภาพระดับปฐมวัย - โครงการอาหารกลางวัน -โครงการอาหารเสริมนม - โครงการส่งเสริมสุขภาพ - กิจกรรมแข่งขันกีฬากลุ่ม - บันทึกการชัง น้าหนัก-วัดส่วนสูง - บันทึกพัฒนาการ มาตรฐานที่ 2 เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ จานวน เด็ก/ ครู ทั้งหม ด จานวน นักเรีย นระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ/ ระดับที่ ได้ ค่า น้าห นัก คะแ นน ที่ได้ ระดับ คุณภา พ แปล คุณภา พ 2.1 ร่าเริงแจ่มใส มีความรู้สึกที่ดีต่อ ตนเอง ๔๑ ๔๑ ๑๐๐ ๑ ๑.๐๐ ๕ ดีเยี่ยม 2.2 มีความมั่นใจและกล้าแสดงออก ๔๑ ๔๐ ๙๗.๕๐ ๑ ๐.๙๘ ๕ ดีเยี่ยม 2.3 ควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสม กับวัย ๔๑ ๔๐ ๙๗.๕๐ ๑ ๐.๙๘ ๕ ดีเยี่ยม 2.4 ชื่นชมศิลปะ ดนตรี การ เคลื่อนไหว และรักธรรมชาติ ๔๑ ๔๑ ๑๐๐ ๒ ๒.๐๐ ๕ ดีเยี่ยม สรุปมาตรฐาน ๕ ๔.๙๕ ๕ ดีเยี่ยม
  • 15. 15 ร่องรอย/หลักฐาน โครงการหรือกิจกรรมที่โรงเรียนได้ดาเนินการ ได้แก่ - โครงการพัฒนาศักยภาพระดับปฐมวัย - โครงการอาหารกลางวัน -โครงการอาหารเสริมนม - โครงการส่งเสริมสุขภาพ - กิจกรรมแข่งขันกีฬากลุ่ม - บันทึกพัฒนาการ มาตรฐานที่ 3 เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ จานวน เด็ก/ ครู ทั้งหม ด จานวน นักเรีย นระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ/ ระดับที่ ได้ ค่า น้าห นัก คะแ นน ที่ได้ ระดับ คุณภา พ แปล คุณภา พ 3.1 มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหา ความรู้ ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ และ สื่อต่าง ๆ รอบตัว ๔๑ ๓๘ ๙๒.๗ ๒ ๑.๘๕ ๕ ดีเยี่ยม 3.2 มีทักษะในการอ่าน ฟัง พูด เขียน และตั้งคาถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้ เพิ่มเติม ๔๑ ๔๐ ๙๗.๖ ๑ ๐.๙๗ ๕ ดีเยี่ยม 3.3 เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน ๔๑ ๓๙ ๙๕.๑ ๑ ๐.๙๕ ๕ ดีเยี่ยม 3.4 ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และ นาเสนอผลงาน ๔๑ ๔๐ ๙๗.๖ ๑ ๐.๙๗ ๕ ดีเยี่ยม สรุปมาตรฐาน ๕ ๔.๗๔ ๕ ดีเยี่ยม ร่องรอย/หลักฐาน โครงการหรือกิจกรรมที่โรงเรียนได้ดาเนินการ ได้แก่ - โครงการพัฒนาศักยภาพระดับปฐมวัย - โครงการอาหารกลางวัน -โครงการอาหารเสริมนม - โครงการส่งเสริมสุขภาพ - กิจกรรมแข่งขันกีฬากลุ่ม - บันทึกพัฒนาการ
  • 16. 16 มาตรฐานที่ 4 เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ จานวน เด็ก/ ครู ทั้งหม ด จานวน นักเรีย นระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ/ ระดับที่ ได้ ค่า น้าห นัก คะแ นน ที่ได้ ระดับ คุณภา พ แปล คุณภา พ 4.1 สนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ซักถาม อย่าง ตั้งใจ และรักการเรียนรู้ ๔๑ ๓๗ ๙๐.๐๐ 1 ๐.๙๐ 5 ดีเยี่ยม มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา จานวน เด็ก/ ครู ทั้งหม ด จานวน เด็ก/ ครูที่ได้ ระดับ 3 ขึ้น ไป ร้อยละ/ ระดับที่ ได้ ค่า น้าห นัก คะแ นน ที่ได้ ระดับ คุณภา พ แปล คุณภา พ 4.2 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ ๔๑ ๓๘ ๙๒.๕๐ ๑ ๐.๙๓ 5 ดีเยี่ยม 4.3 มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย ๔๑ ๔๑ ๑๐๐ ๑ ๑.๐๐ 5 ดีเยี่ยม 4.4 มีทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ๔๑ ๓๖ ๘๗.๕๐ ๑ ๐.๘๘ 5 ดีเยี่ยม 4.5 มีจินตนาการและความคิด สร้างสรรค์ ๔๑ ๔๑ ๑๐๐ ๑ ๑.๐๐ 5 ดีเยี่ยม สรุปมาตรฐาน ๔ ๓.๘๑ ๕ ดีเยี่ยม ร่องรอย/หลักฐาน โครงการหรือกิจกรรมที่โรงเรียนได้ดาเนินการ ได้แก่ - โครงการพัฒนาศักยภาพระดับปฐมวัย - โครงการอาหารกลางวัน -โครงการอาหารเสริมนม - โครงการส่งเสริมสุขภาพ - กิจกรรมแข่งขันกีฬากลุ่ม - บันทึกพัฒนาการ
  • 17. 17 มาตรฐานที่ 5 ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ จานวน เด็ก/ ครู ทั้งหม ด จานวน นักเรีย นระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ/ ระดับที่ ได้ ค่า น้าห นัก คะแ นน ที่ได้ ระดับ คุณภา พ แปล คุณภา พ 5.1 ครูเข้าใจปรัชญา หลักการ และ ธรรมชาติของการจัดการศึกษาปฐมวัย และสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการจัด ประสบการณ์ ๒ ๒ ๑๐๐ ๒ ๒ ๕ ดีเยี่ยม 5.2 ครูจัดทาแผนการจัดประสบการณ์ที่ สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ หลากหลาย สอดคล้องกับความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ๒ ๒ ๑๐๐ ๒ ๒ ๕ ดีเยี่ยม 5.3 ครูบริหารจัดการชั้นเรียนที่สร้างวินัย เชิงบวก ๒ ๒ ๑๐๐ ๒ ๒ ๕ ดีเยี่ยม 5.4 ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก ๒ ๒ ๑๐๐ ๒ ๒ ๕ ดีเยี่ยม 5.5 ครูใช้เครื่องมือการวัดและประเมิน พัฒนาการของเด็กอย่างหลากหลาย และ สรุปรายงานผลพัฒนาการของเด็กแก่ ผู้ปกครอง ๒ ๒ ๑๐๐ ๒ ๒ ๕ ดีเยี่ยม 5.6 ครูวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่ ตนรับผิดชอบและใช้ผลในการปรับการจัด ประสบการณ์ ๒ ๒ ๑๐๐ ๒ ๒ ๕ ดีเยี่ยม 5.7 ครูจัดสิ่งแวดล้อมให้เกิดการเรียนรู้ได้ ตลอดเวลา ๒ ๒ ๑๐๐ ๒ ๒ ๕ ดีเยี่ยม 5.8 ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อเด็กและ ผู้ปกครอง ๒ ๒ ๑๐๐ ๒ ๒ ๕ ดีเยี่ยม 5.9 ครูมีวุฒิและความรู้ความสามารถใน ด้านการศึกษาปฐมวัย ๒ ๒ ๑๐๐ ๒ ๒ ๕ ดีเยี่ยม 5.10 ครูจัดทาสารนิทัศน์ ละนามา ไตร่ตรองเพื่อประโยขน์ในการ พัฒนาเด็ก ๒ ๒ ๑๐๐ ๒ ๒ ๕ ดีเยี่ยม สรุปมาตรฐาน ๒๐ ๒๐ ๔๕ ดีเยี่ยม
  • 18. 18 ร่องรอย/หลักฐาน โครงการหรือกิจกรรมที่โรงเรียนได้ดาเนินการ ได้แก่ - โครงการพัฒนาศักยภาพระดับปฐมวัย - โครงการอาหารกลางวัน -โครงการอาหารเสริมนม - โครงการส่งเสริมสุขภาพ - กิจกรรมแข่งขันกีฬากลุ่ม - บันทึกพัฒนาการ มาตรฐานที่ 6 ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ จานวน เด็ก/ ครู ทั้งหม ด จานวน นักเรีย นระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ/ ระดับที่ ได้ ค่า น้าห นัก คะแ นน ที่ได้ ระดับ คุณภา พ แปล คุณภา พ 6.1 ผู้บริหารเข้าใจปรัชญาและหลักการ จัดการศึกษาปฐมวัย ๑ ๑ ๑๐๐ ๔ ๓ ๔ ดีมาก 6.2 ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นา และ ความคิดริเริ่มที่เน้นการพัฒนาเด็กปฐมวัย ๑ ๑ ๑๐๐ ๕ ๓ ๕ ดีเยี่ยม 6.3 ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมี ส่วนร่วมและใช้ข้อมูลการประเมินผลหรือ การวิจัยเป็นฐานคิดทั้งด้านวิชาการและการ จัดการ ๑ ๑ ๑๐๐ ๔ ๓ ๔ ดีมาก 6.4 ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการศึกษา ให้บรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนาคุณภาพ สถานศึกษา ๑ ๑ ๑๐๐ ๔ ๓ ๔ ดีมาก 6.5 ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ บุคลากรให้มีประสิทธิภาพ ๑ ๑ ๑๐๐ ๔ ๓ ๕ ดีเยี่ยม 6.6 ผู้บริหารให้คาแนะนา คาปรึกษาทาง วิชาการและเอาใจใส่การจัดการศึกษา ปฐมวัยเต็มศักยภาพและเต็มเวลา ๑ ๑ ๑๐๐ ๕ ๓ ๕ ดีเยี่ยม 6.7 เด็ก ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจ ผลการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัย ๑ ๑ ๑๐๐ ๔ ๒ ๕ ดีเยี่ยม สรุปมาตรฐาน ๒๐ ๑๘.๒ ๐ ๕ ดีเยี่ยม ร่องรอย/หลักฐาน โครงการหรือกิจกรรมที่โรงเรียนได้ดาเนินการ ได้แก่ - โครงการพัฒนาศักยภาพระดับปฐมวัย
  • 19. 19 มาตรฐานที่ 7 แนวการจัดการศึกษา มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ จานวน เด็ก/ ครู ทั้งหม ด จานวน นักเรีย นระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ/ ระดับที่ ได้ ค่า น้าห นัก คะแ นน ที่ได้ ระดับ คุณภา พ แปล คุณภา พ 7.1 มีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของ สถานศึกษาและนาสู่การปฏิบัติได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ๕ ๔ ๔ ๕ ดีเยี่ยม 7.2 มีระบบและกลไกให้ผู้มีส่วนร่วมทุก ฝ่ายตระหนักและเข้าใจการจัดการศึกษา ปฐมวัย ๔ ๔ ๓.๒ ๔ ดีมาก 7.3 จัดกิจกรรมเสริมสร้างความ ตระหนัก และเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัย ๓ ๔ ๒.๔ ๓ ดี 7.4 สร้างการมีส่วนร่วมและการ แสวงหา ความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และ ท้องถิ่น ๔ ๔ ๓.๒ ๔ ดีมาก 7.5 จัดสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อ พัฒนา เด็กอย่างรอบด้าน ๔ ๔ ๓.๒ ๔ ดีเยี่ยม สรุปมาตรฐาน ๒๐ ๑๖ ๔ ดีมาก ร่องรอย/หลักฐาน โครงการหรือกิจกรรมที่โรงเรียนได้ดาเนินการ ได้แก่ - โครงการพัฒนาศักยภาพระดับปฐมวัย
  • 20. 20 มาตรฐานที่ 8 สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ จานวน เด็ก/ ครู ทั้งหม ด จานวน นักเรีย นระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ/ ระดับที่ ได้ ค่า น้าห นัก คะแ นน ที่ได้ ระดับ คุณภา พ แปล คุณภา พ 8.1 กาหนดมาตรฐานการศึกษา ปฐมวัยของสถานศึกษา ๕ ๑ ๑ ๕ ดีเยี่ยม 8.2 จัดทาและดาเนินการตาม แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษา ๔ ๑ ๐.๘ ๔ ดีมาก 8.3 จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้ สารสนเทศในการบริหารจัดการ ๓ ๑ ๐.๖ ๓ ดี 8.4 ติดตามตรวจสอบ และประเมินผล การดาเนินงานคุณภาพภายในตาม มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๔ ๐.๕ ๐.๔ ๔ ดีมาก 8.5 นาผลการประเมินคุณภาพทั้ง ภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ๔ ๐.๕ ๐.๔ ๔ ดีมาก 8.6 จัดทารายงานประจาปีที่เป็น รายงานการประเมินคุณภาพภายใน ๕ ๑ ๑ ๕ ดีเยี่ยม สรุปมาตรฐาน ๕ ๔.๒ ๔ ดีมาก ร่องรอย/หลักฐาน โครงการหรือกิจกรรมที่โรงเรียนได้ดาเนินการ ได้แก่ - โครงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
  • 21. 21 มาตรฐานที่ 9 สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ จานวน เด็ก/ ครู ทั้งหม ด จานวน นักเรีย นระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ/ ระดับที่ ได้ ค่า น้าห นัก คะแ นน ที่ได้ ระดับ คุณภา พ แปล คุณภา พ 9.1 เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาการ เรียนรู้ของเด็กและบุคลากรในสถานศึกษา ๓ ๒.๕ ๑.๕ ๓ ดี 9.2 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ภายในสถานศึกษาและระหว่างสถานศึกษา กับครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่ เกี่ยวข้อง ๓ ๒.๕ ๑.๕ ๓ ดี สรุปมาตรฐาน ๕ ๓ ๓ ดี ร่องรอย/หลักฐาน โครงการหรือกิจกรรมที่โรงเรียนได้ดาเนินการ ได้แก่ - โครงการสัมพันธ์ชุมชน - โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชีวิตเพื่อเสริมสร้างบุคคลแห่งการเรียนรู้ - โครงการส่งเสริมการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในละภายนอกโรงเรียน - โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน มาตรฐานที่ 10 การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์ และจุดเน้นการจัดการศึกษา ปฐมวัย มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ จานวน เด็ก/ ครู ทั้งหม ด จานวน นักเรีย นระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ/ ระดับที่ ได้ ค่า น้าห นัก คะแ นน ที่ได้ ระดับ คุณภา พ แปล คุณภา พ 10.1 จัดโครงการ กิจกรรมพัฒนาเด็ก ให้บรรลุตามเป้าหมาย ปรัชญา วิสัยทัศน์ และจุดเน้นการจัดการศึกษา ของปฐมวัยของสถานศึกษา ๓ ๓ ๑.๘ ๓ ดี 10.2 ผลการดาเนินงานบรรลุตาม เป้าหมาย ๓ ๒ ๑.๒ ๓ ดี สรุปมาตรฐาน ๕ ๓ ๓ ดี ร่องรอย/หลักฐาน โครงการหรือกิจกรรมที่โรงเรียนได้ดาเนินการ ได้แก่ - โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ - โครงการพัฒนาบุคลากร
  • 22. 22 มาตรฐานที่ 11 การพัฒนาสถานศึกษาตามเป้านโยบาย และแนวทางปฏิรูปการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพให้ สูงขึ้น มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ จานวน เด็ก/ ครู ทั้งหม ด จานวน นักเรีย นระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ/ ระดับที่ ได้ ค่า น้าห นัก คะแ นน ที่ได้ ระดับ คุณภา พ แปล คุณภา พ 11.1 จัดโครงการ กิจกรรมส่งเสริม สนับสนุนตามนโยบายเกี่ยวกับการจัด การศึกษาปฐมวัย ๓ ๓ ๑.๘ ๓ ดี 11.2 ผลการดาเนินงานบรรลุตาม เป้าหมาย ๓ ๒ ๑.๒ ๓ ดี สรุปมาตรฐาน ๕ ๓ ๓ ดี ร่องรอย/หลักฐาน โครงการหรือกิจกรรมที่โรงเรียนได้ดาเนินการ ได้แก่ - โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ - โครงการพัฒนาบุคลากร
  • 23. 23 สรุปผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย โรงเรียน บ้านโคกสามัคคี ปีการศึกษา 255๙ มาตรฐานที่ น้าหนัก ผลประเมิน คะแนน ที่ได้ ระดับคุณภาพ แปลความหมาย 1 5 4.84 5 ดีเยี่ยม 2 5 4.95 5 ดีเยี่ยม 3 5 4.95 5 ดีเยี่ยม 4 5 4.70 5 ดีเยี่ยม รายด้าน 20.00 19.44 5 ดีเยี่ยม 5 20 18.00 5 ดีเยี่ยม 6 20 18.20 5 ดีเยี่ยม 7 20 16.00 4 ดีมาก 8 5 4.20 4 ดีมาก รายด้าน 65.00 56.40 4 ดีมาก 9 5 3.00 3 ดี รายด้าน 5 3.00 3 ดี 10 5 3.00 3 ดี รายด้าน 5 3.00 3 ดี 11 5 3.00 3 ดี รายด้าน 5 3.00 3 ดี รวม 100.00 84.84 4 ดีมาก สรุปผลภาพรวมของสถานศึกษา คะแนนที่ได้ 84.84 ดีมาก
  • 24. 24 ผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 1 ปีการศึกษา 2559 พัฒนาการด้าน จานวนนักเรียน ระดับคุณภาพ ดี พอใช้ ปรับปรุง ด้านร่ากาย ๑๘ ๑๘ ๐ ๐ ด้านอารมณ์ จิตใจ ๑๘ ๑๗ ๑ ๐ ด้านสังคม ๑๘ ๑๗ ๑ ๐ ด้านสติปัญญา ๑๘ ๑๖ ๒ ๐ ระดับการศึกษาปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ปีการศึกษา 2559 พัฒนาการด้าน จานวนนักเรียน ระดับคุณภาพ ดี พอใช้ ปรับปรุง ด้านร่ากาย ๒๓ ๒๓ ๐ ๐ ด้านอารมณ์ จิตใจ ๒๓ ๒๓ ๐ ๐ ด้านสังคม ๒๓ ๒๓ ๐ ๐ ด้านสติปัญญา ๒๓ ๒๐ ๑ ๒ จุดเด่น ๑. มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน (มาตรฐานที่ ๑-๔) ผู้เรียนมีร่างกายเจริญเติบโตตามวัย มีน้าหนักส่วนสูงตามมาตรฐาน มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย สามารถ ใช้กล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก ประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตาได้ตามวัย โดยทางโรงเรียนได้ส่งเสริม การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะต่างๆเหล่านี้ เช่นการสร้างสนามเด็กเล่นเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ การจัด กิจกรรมโครงการอาหารกลางวัน จัดหาสื่อในการพัฒนากล้ามเนื้อเล็ก เช่นสื่อการเรียนการสอนของมอน เตสเซอรี่ ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีการส่งเสริมให้เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ รักษ์ ความเป็นไทย โดยให้เด็กใส่ชุดผ้าไทยในวันอังคาร จัดโครงการน้องไว้พี่ พี่ไหว้น้อง สนับสนุนให้เด็กปฐมวัย เข้าร่วมกิจกรรมที่สาคัญในชุมชนเช่น การแห่เทียนพรรษา ฯลฯ ๒. มาตรฐานการการจัดการศึกษา (มาตรฐานที่ ๕-๘) ครูมีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบและมีความถนัดมุ่งมั่นอุทิศตนในการ จัดการเรียนการสอนอย่างเต็มความสามารถ มีการจัดการเรียนการสอนอย่างเต็ม ความสามรถ มีการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ได้รับการยอมรับ นับถือจากชุมชน โดยทางโรงเรียนได้มีมาตรการยกระดับความรู้ของครูผู้สอนปฐมวัย โดยการส่งไป ฝึกอบรม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ศึกษาดูงานตามสถานที่ต่างๆ ที่มีการจัดอบรมเกี่ยวกับการจัดกิจกรรม/การ เรียนการสอนปฐมวัย/การผลิตสื่อการเรียนการสอนฯลฯ เพื่อให้ครูผู้สอนมีความรู้ความสามารถมากยิ่งขึ้น
  • 25. 25 ๓. มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ (มาตรฐานที่ ๙) โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา แหล่งการเรียนรู้ภายในสถานศึกษา เช่นห้องสมุด ห้องอาเซียน ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องคอมพิวเตอร์ ซึ่งเด็กและครูสามารถเข้าไปศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ต่างๆในสถานที่นั้นๆได้โดยง่าย ส่วนแหล่งเรียนรู้ภายนอกสถานศึกษาได้แก่บริเวณชุมชนโดยรอบโรงเรียน อาทิ ร้านค้า ร้านสหกรณ์ในชุมชน วิทยากรจากภายนอกโรงเรียนเช่นผู้นาชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ปกครองที่มีความรู้ในเรื่องต่างๆฯลฯ ได้เข้ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับบุคลากรในโรงเรียนตลอดจนได้เชิญ บุคคลเหล่านี้มาเป็นวิทยากรในการให้ความรู้แก่เด็กๆในเรื่องต่างๆเช่นการทานา การดูแลรักษาสุขภาพ ปากและฟัน ฯลฯ ๔. มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา (มาตรฐานที่ ๑๐) นักเรียนมีเงินฝากธนาคารทุกคน โดยทางโรงเรียนได้จัดกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนออมเงิน กับโรงเรียนตั้งแต่ระดับอนุบาล โดยในทุกระดับชั้นได้ทาบันทึกการออมเงินไว้เป็นหลักฐาน เมื่อสิ้นเดือนจะ มีการนาเงินออมของนักเรียนฝากกับธนาคารออมสิน ซึ่งทาให้นักเรียนมีเงินออมเก็บสะสมไว้ เมื่อจบปี การศึกษาเพื่อใช้จ่าย/เป็นทุนการศึกษาในอนาคต ๕. มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม (มาตรฐานที่ ๑๑) โรงเรียนมีการจัดโครงการ กิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนตามนโยบายเกี่ยวกับการจัดการศึกษาปฐมวัยอาทิเช่น แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี โครงการปฐมวัย ข้อมูลจากการ นิเทศติดตามผลการดาเนินงาน รายงานสรุปการประเมินโครงการหรือรายงานผลการปฏิบัติงาน รายงานการ ประชุม บันทึกการประชุมงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษา ให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น จุดที่ควรพัฒนา ๑. มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน (มาตรฐานที่ ๑-๔) จัดกิจกรรมเพื่อให้เด็กมีทักษะทางภาษา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เหมาะสมตามวัย ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ คิดไต่ตรองและมีวิสัยทัศน์ และการพัฒนาในด้านการมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่อง ๒. มาตรฐานการการจัดการศึกษา (มาตรฐานที่ ๕-๘) การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญในด้านประสิทธิภาพ ในด้านการผลิตและการใช้สื่อการสอน ให้เพิ่มมากขึ้น ส่งเสริมและพัฒนานาวัตกรรมด้านการวิจัยในชั้นเรียนให้สามารถส่งผลถึงการพัฒนาผู้เรียน อย่างเป็นรูปธรรมและให้ครูได้ศึกษาดูงานการจัดการเรียนการสอนระดับปฐมวัยกับโรงเรียนต้นแบบ ๓. มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ (มาตรฐานที่ ๙) ต้องการสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพียงพอเหมาะสมเด็กปฐมวัย และพัฒนาแหล่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากแหล่งเรียนรู้บางอย่างมีความล้าสมัย เช่นห้องสมุดโรงเรียนควรมีการจัดสรรหนังสือสาหรับเด็ก ปฐมวัยโดยเฉพาะ เพื่อความสะดวกในการเข้าใช้งานของเด็กและครู ๔. มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา (มาตรฐานที่ ๑๐) ส่งเสริมนักเรียนมีความตระหนักและรู้จักเก็บออมให้มากขึ้น
  • 26. 26 ๕. มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม (มาตรฐานที่ ๑๑) ควรมีการส่งเสริมและสนับสนุนการยกระดับมาตรฐานการจัดการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษา โดย สถานศึกษาประสานความร่วมมือกับ พ่อแม่ ผู้ปกครอง ชุมชนและสังคมให้เข้ามามีส่วนร่วมในการกาหนด มาตรการส่งเสริมและนามาตรการเสริมไปบูรณาการกับการเรียนการสอน เช่นการจัดกิจกรรมพิเศษสาหรับ เด็กปฐมวัย การจัดทาโครงการต่างๆเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างเป็นรูปธรรม แนวทางการพัฒนาในอนาคต ๑. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นพัฒนาการผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้ชัดเจนมากขึ้น ๒. ส่งเสริมให้ครูเห็นความสาคัญของการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ๓. การพัฒนาบุคลากรโดยการส่งเข้าอบรม อย่างต่อเนื่อง ๔. การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ความต้องการและความช่วยเหลือ การพัฒนาครูผู้สอนในการจัดการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับพัฒนาการของผู้เรียน ระดับศึกษาขั้นพื้นฐาน 4 มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม 1.กระบวนการพัฒนา สถานศึกษามีการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ครูจัดการเรียนรู้ตามความสามารถของผู้เรียนและ เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตรงตามตัวชี้วัดของหลักสูตร มีการออกแบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน นอกจากนี้สถานศึกษายังเน้นเรื่องการอ่านออก เขียนได้ ของนักเรียนช่วงชั้นที่ ๑ ดดยเฉพาะนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๑ และใช้สื่อการเรียนการสอนในการจัดการเรียนการสอน สื่อทาง ICT ใช้แหล่งเรียนรู้ที่ หลากหลาย นอกจากนี้ยังจัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะชีวิต เน้นคุณธรรม จริยธรรม ที่เหมาะสมกับวัย ส่งเสริม ความปลอดภัย ส่งเสริมสุขภาพ และส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ จกรรมส่งเสริมอาชีพ เพื่อการพัฒนาผู้เรียน อย่างมีประสิทธิภาพและศักยภาพของแต่ละบุคคล เพื่อการดารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข 2.ผลการดาเนินงาน จากผลการดาเนินงานส่งผลให้นักเรียนช่วงชั้นที่ ๑ สามารถอ่านออก เขียนได้ สื่อสารได้เหมาะสมกับวัย นักเรียนสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ดีตามหลักประชาธิปไตย ใช้เทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง สามารถเลือก รับประทานอาหารที่สะอาด อาหารที่มีประโยชนื รักการออกกาลังกาย มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต 3.จุดเด่น ผู้เรียนอ่านหนังสือออก และส่วนมากอ่านได้คล่อง และเขียนเพื่อการสื่อสารได้ สามารถใช้เทคโนโลยีในการ แสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ขึ้นไปอย่างเหมาะสมกับวัย ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ของการ สอบระดับชาติชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ มีคะแนนเฉลี่ยสูงขึ้นทั้ง ๓ ด้าน ผลสัมฤทธิ์ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ และ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ก็มีพัฒนาการที่ดีขึ้นทุกกลุ่มสารการเรียนรู้ ผู้เรียนมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์ แข็งแรง มีน้าหนัก และส่วนสูงตามเกณฑ์ ดาเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข
  • 27. 27 4, จุดควรพัฒนา ผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ ยังต้องเร่งส่เสริมในด้านการกล้าแสดงออก ในเรื่องการนาเสนอ การอภิปราย และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างเหมาะสม ในระดับมัธยมยังต้องส่งเสริมค่านิยมความเป็นไทย เพื่อให้ เห็นความสาคัญของความเป็นไทย เรียนรู้วัฒนธรรมไทยให้มากขึ้น มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของ ผู้บริหารสถานศึกษา ระดับคุณภาพ ดีมาก 1.กระบวนการพัฒนา โรงเรียนได้ดาเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาปีการศึกษาที่ผ่านมา ศึกษาข้อมูล ประเมินการจัดการศ฿กษาตามนโยบาย และจัดประชุมครู ผู้ปกครองคณะกรรมการสถานศึกษาระดมความ คิดเห็น เพื่อวางแผนร่วมกันในหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีการปรับ แผนพัฒนาคุณภาพผู้เรียน แผนปฏิบัติการประจาปี ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการของชุมชน และผู้เรียน พร้อมทั้งจัดหาทรัพยากร จัดหางบประมาณ และมอบหมายงานให้บุคลากรรับผิดชอบตาม ความเหมาะสม เพื่อให้งานบรรลุตามเป้าหมาย 2.ผลการดาเนินงาน ๑. สถานศึกษามีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศนืและพัธกิจสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของ สถานศึกษา ชุมชน ท้องถิ่น ๒. โรงเรียนมีแผนพัฒนาการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี สอดคล้องกับการจัดการศึกษาและ ผู้เรียน ๓. ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการวางแผนการจัดการศึกษา ๔. สถานศึกษามีการนิเทศ กากับ ติดตาม ที่เหมาะสมเป็นระบบต่อเนื่อง 3.จุดเด่น โรงเรียนบริหารงานอย่างเป็นระบบ มีการประชุมบุคลากรที่เกี่ยวข้อง มีการปรับแผนพัฒนาการจัด การศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี ให้สอดคล้องกับ สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และเหมาะสมกับ ผู้เรียน ชุมชน ที่เกี่ยวข้อง 4, จุดควรพัฒนา สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆให้มากขึ้นเพื่อการพัฒนา และการขับเคลื่อนคุณภาพการจัด การศึกษา
  • 28. 28 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม 1.กระบวนการพัฒนา โรงเรียนดาเนินการส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการปรับปรุงหลักสูตรและ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียนและมาตรฐานสากล เศรฐกิจพอเพียง และปรับ โครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ มีการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน ผู้เรียนลงมือปฏิบัติจริง จัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิด ครูใช้สื่อในการจัดการเรียนการสอน ครูทุกคนทา วิจัยในชั้นเรียนปีการศึกษาละ ๑ เรื่อง เพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน 2.ผลการดาเนินงาน จากการดาเนิน การดาเนินกิจกรรม และโครงการที่เกี่ยวข้อง ทาให้ผลการประเมินมาตรฐานที่ ๓ อยู่ใน เกณฑ์ ดีเยี่ยม 3.จุดเด่น ครูมีความตั้งใจ มุงมั่นในการพัฒนาการเรียนการสอน โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยการคิด ได้ลง มือปฏิบัติจริง มีการใช้แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย และส่งเสริมให้นักเรียนแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยเอง อย่างต่อเนื่อง นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน 4, จุดควรพัฒนา ควรนาภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน มาตรฐานที่ 4 ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มี ประสิทธิภาพ ระดับคุณภาพ ดี 1.กระบวนการพัฒนา โรงเรียนดาเนินการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ๘ องค์ประกอบอย่างครบถ้วน โดยจัดประชุม ครูและผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา และได้นาเสนอผลการจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษาที่ผ่านมาแก่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อการพัฒนาที่ดีขึ้น มีการให้ความรู้ในเรื่องการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มีการ แต่งตั้งคณะกรรมการในการติดตามตรวจสอบ และประเมินตนเอง สรุปผลการดาเนินงานเพื่อพัฒนาปรับปรุงตลอด ปีการศึกษา มีการติดตามประเมินผลโครงการและกิจกรรม สรุปผลการดาเนินงานเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาของ โรงเรียน 2..ผลการดาเนินงาน โรงเรียนมีการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา อย่างเป็นระบบ มีผลการ ประเมินในระดับคุณภาพดี 3.จุดเด่น โรงเรียนให้ความสาคัญกับการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา เน้นด้านความเข้าใจและ ให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษากับคณะครู บุคลากรทุกฝ่าย เน้นการมีส่วนร่วมกับบุคคลที่เกี่ยวข้องทุก ระดับ