SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 11
Descargar para leer sin conexión
สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ

        เนื่องจากราง พรบ.คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... มีประเด็นความเห็น
ที่แตกตางบางประเด็น กระทรวงสาธารณสุขจึงไดมการประชุมเพื่อปรึกษาหารือหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ
                                                     ี
เพื่อรวบรวมประเด็นความเห็น/ขอเสนอแนะตอราง พรบ.ดังกลาว ซึงมีขอสรุปเปนประเด็นความเห็นทั้งหมด
                                                                   ่
12 ประเด็น
        ดังนั้น กระทรวงสาธารณสุข จึงขอเชิญทานรวมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ทีเกี่ยวกับราง พรบ.
                                                                                     ่
คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข โดยทานมีความเห็นอยางไรกับ 12 ประเด็นดังกลาว และ
เห็นดวย หรือไมเห็นดวย อยางไร ทั้งนี้ เพื่อเปนประโยชนตอการพิจารณาราง พรบ.คุมครองผูเสียหายตอไป
โดยทานรวมแสดงความคิดเห็น
        1. กรอกแบบสอบถามผานเว็บไซต
             http://www.lawamendment.go.th/moph/DialogFirst.asp?Mode=1&ID=865
        2. กรอกแบบสอบถามสงทางไปรษณียมาที่ สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ
            กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทรสาร 02-590-1332
            หรือทาง e-mail : arreewan_p@hotmail.com

            ขอสรุปประเด็นความเห็น/ขอเสนอแนะตอราง พรบ.คุมครองผูเสียหายฯ
         ตามความเห็นรวมของทีประชุม วันที่ 12 ตุลาคม 2553 และ วันที่ 15 ตุลาคม 2553
                             ่

ประเด็นที่ 1 ชื่อรางพระราชบัญญัติ
       เสนอชื่อเปน 1. “รางพระราชบัญญัติคุมครองผูไดรับผลกระทบจากการรับบริการสาธารณสุข”
                    2. “รางพระราชบัญญัตคุมครองผูรับบริการและผูใหบริการที่ไดรบความเสียหายจากการ
                                        ิ                                       ั
บริการสาธารณสุข”

         เหตุผล :    เนื่องจากคําวา “ผูไดรับผลกระทบ” มีความหมายรวมถึงผูใหบริการและผูรับบริการ
ซึ่งมีความหมายกวางขวางกวาคําวา “ผูเสียหาย” และเปนการคุมครองทั้งผูรับบริการและผูใหบริการ
สาธารณสุข

ประเด็นที่ 2 หลักการ
       แกไขเปน “ใหมีกฎหมายวาดวยการคุมครองผูไดรับผลกระทบจากการรับบริการสาธารณสุข”

       เหตุผล :        เพื่อใหสอดคลองกับชื่อพระราชบัญญัติ

ประเด็นที่ 3 คํานิยาม
       คําวา “ผูเสียหาย” ในหลักการควรคุมครองเฉพาะประชาชนชาวไทย เนื่องจากเปนสิทธิขั้นพื้นฐาน
ของประชาชนชาวไทยที่ควรจะไดรับความคุมครอง
       ขอสังเกต : ควรครอบคลุมถึงแรงงานตางดาวดวยหรือไม
สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ


        เหตุผล :     เนื่องจากมีบางหนวยงานไดเสนอวาควรมีการกําหนดคํานิยามคําวา “ผูเสียหาย”
ใหชัดเจนวามีความหมายครอบคลุมถึงใครบาง และรวมถึงแรงงานตางดาวดวยหรือไม

ประเด็นที่ 4 การคุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
       แกไขมาตรา 6 โดยตัดคําวา “มาตรฐาน” ออก เปนดังนี้
              “มาตรา 6 บทบัญญัติในมาตรา 5 มิใหใชบังคับในกรณีดังตอไปนี้
              (1) ความเสียหายที่เกิดขึ้นตามปกติธรรมดาของโรคนั้น
              (2) ความเสียหายซึ่งหลีกเลี่ยงมิไดจากการใหบริการสาธารณสุข
              (3) ความเสียหายที่ไมมีผลกระทบตอการดํารงชีวิตตามปกติ”

         เหตุผล :       เนื่องจากตามมาตรา 6 (1) และ (2) เดิมไดมีการกําหนดเรื่องมาตรฐานเขามา
เกี่ยวของ อาจเปนการทําใหตองมีการพิสูจนถกผิด ซึ่งเปนการขัดแยงกับมาตรา 5 จึงไดมีการตัดคําวา
                                            ู
“มาตรฐานวิชาชีพ” ออก

ประเด็นที่ 5 คณะกรรมการเสริมสรางความสมานฉันท
        แกไของคประกอบคณะกรรมการในมาตรา 7 (2) , (3) , (4) และ (5) เปนดังนี้
                 มาตรา 7 (2) ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวง
การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ(ผูแทนคณะแพทยศาสตร) และ
ปลัดกระทรวงกลาโหม (ผูแทนกรมแพทย) อธิบดีกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ เลขาธิการคณะกรรมการ
คุมครองผูบริโภค และผูอํานวยการสํานักงบประมาณ
                 มาตรา 7 (3) ผูแทนผูประกอบวิชาชีพ จํานวน 4 คน และผูแทนสถานพยาบาล
จํานวน 2 คน
                 มาตรา 7 (4) ผูแทนองคกรพัฒนาเอกชนที่ทางานดานคุมครองสิทธิผูบริโภค
                                                         ํ
ดานบริการสุขภาพ จํานวนหกคน
                 มาตรา 7 (5) ผูทรงคุณวุฒจํานวนหกคน ซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งจากผูท่มีความเชียวชาญ
                                          ิ                                      ี       ่
ดานการแพทยและสาธารณสุข และดานสังคมศาสตร ดานละสามคน

          เหตุผล :     เนื่องจากหนวยงานสวนใหญเสนอใหมีผูแทนสภาวิชาชีพรวมเปนกรรมการ ที่ประชุม
จึงมีความเห็นรวมกันในหลักการวาองคประกอบของคณะกรรมการควรมีสัดสวนที่เหมาะสมและเปนธรรมแก
ทั้ง 2 ฝาย
สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ


ประเด็นที่ 6 สํานักงานเลขานุการ
       ใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เปนสํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการ

       เหตุผล :           เนื่องจากมีขอเสนอคือ
                          1. ควรเปนหนวยงานใหมที่มีสถานะเปนหนวยงานของรัฐ หรือให สปสช.เปน
                          สํานักงาน
                              เลขานุการ
                          2. เสนอใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพเปนสํานักงานเลขานุการ
        ขอสรุปที่ประชุม ที่ประชุมมีความเห็นรวม ใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
 เปนสํานักงานเลขานุการ เนื่องจากกระทรวงสาธารณสุขมีความพรอมในดานบทบาทภารกิจ เพราะมีภารกิจ
โดยตรงเกี่ยวกับการสนับสนุนการดําเนินงานของหนวยบริการสุขภาพทั้งภาครัฐ และเอกชน โดยมีการ
พัฒนาระบบและกลไกที่เอื้อตอการจัดบริการสุขภาพ เพื่อใหประชาชนไดรับบริการจากหนวยบริการที่มี
คุณภาพและไดมาตรฐาน , มีความพรอมในดานโครงสรางการบริหารจัดการและบุคลากร เนื่องจากมีหลาย
หนวยงานที่มีพนธกิจเกี่ยวของกับการสงเสริมพัฒนาระบบบริการสุขภาพโดยมีเครือขายทั้งในสวนกลางและ
                ั
สวนภูมิภาค ซึ่งสามารถทํางานรวมกับหนวยงานอื่นๆ ที่มีศักยภาพ ประสบการณ หรือโครงสรางการทํางาน
ที่สอดคลองกันอยูแลวทั้งภายในและภายนอกกระทรวงสาธารณสุข นอกจากนี้ยังมีเครือขายสถานบริการอยู
ทั่วประเทศ ทําใหมีการรับคํารองและมีระบบการสงตอที่มีประสิทธิภาพ สามารถเขาถึงไดงาย และเปน
                                                                                    
ประโยชนตอการใหการชวยเหลือเยียวยาผูเสียหาย

ประเด็นที่ 7 กองทุนสรางเสริมความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข
        ที่ประชุมเห็นรวมกันในหลักการเรื่องการจายเงินสมทบนั้นควรมีความเทาเทียมกัน
        1.เงินที่มาจากกองทุนประกันสังคม , กองทุนตามมาตรา 41 แหง พรบ.หลักประกันสุขภาพ และ
กองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาลของขาราชการ โดยการจายเงินสมทบใหมสัดสวนที่เทาเทียมกันทั้ง 3
                                                                     ี
กองทุน
        2. โรงพยาบาลเอกชน ใหจายเงินสมทบในอัตราที่ใกลเคียงกับ 3 กองทุน
        3. คลินิก ใหกําหนดเปนบทเฉพาะกาลโดยใหเขาสูระบบภายหลัง และการจายเงินสมทบของคลินิก
จะเรียกเก็บเปนคาธรรมเนียมรายป

       เหตุผล :        เนื่องจากประเด็นที่เปนปญหาคือ มาตรา 22 แหลงที่มาของกองทุน ไดมีการเสนอวา
                       1. บางหนวยงานเห็นวาไมเห็นดวยที่จะบังคับใหโรงพยาบาลเอกชนตองจายเงินสมทบ
                       2. ควรเปนเงินอุดหนุนจากรัฐบาลโดยตรงเพื่อจะไมเปนการเพิ่มภาระใหกบสถานพยาบาล
                                                                                          ั
                       3. หลักเกณฑการจายเงินสมทบควรมีการกําหนดใหชัดเจน
      ที่ประชุมจึงมีขอสรุปในหลักการรวมกันวา การจายเงินสมทบเขากองทุนควรมีสดสวนที่เทาเทียมกัน
                                                                                    ั
โดยแหลงที่มาของกองทุนควรมาจาก 1) 3 กองทุนหลักคือ กองทุนประกันสังคม , กองทุนตามมาตรา 41 แหง
พรบ.หลักประกันสุขภาพ และกองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาลของขาราชการ 2)โรงพยาลบาลเอกชน สําหรับ
สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ

คลินิกซึ่งเปนสถานพยาบาลขนาดเล็ก ใหกําหนดเปนบทเฉพาะกาลใหเขาสูระบบนี้ภายหลัง ทั้งนี้ เพื่อเปน
การชวยเหลือเยียวยาผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุขไดครอบคลุมทุกกลุมไมวาจะเปนกลุม
                      
ผูประกันตน กลุมหลักประกันสุขภาพ กลุมขาราชการ และกลุมโรงพยาบาลเอกชน

ประเด็นที่ 8 การพิจารณาจายเงินชวยเหลือเบื้องตนและเงินชดเชย
         1. การพิจารณาจายเงินชวยเหลือเบื้องตน จะมีคณะอนุกรรมการพิจารณาจายเงินชวยเหลือเบืองตน
                                                                                             ้
ซึ่งมีสดสวนเทากันระหวางผูประกอบวิชาชีพและผูเสียหาย
       ั
         2. สําหรับการพิจารณาจายเงินชดเชย จะมีคณะอนุกรรมการพิจารณาจายเงินชดเชย ซึ่งมีสดสวน
                                                                                          ั
เทากันระหวางผูประกอบวิชาชีพและผูเสียหาย และมีผูทรงคุณวุฒิดานกฎหมายเพื่อชวยพิจารณาประเด็นขอ
                                    
กฎหมาย
         โดยใชมาตรา 41 มาเปนแบบอยาง
         3. ใหแกไขขอความในมาตรา 33 ในเรื่องการทําสัญญาประนีประนอมยอมความเมื่อรับเงินชดเชย
ไปแลว “เปนการทําสัญญาประนีประนอมยอมความเพื่อยุติการดําเนินคดี” โดยในสัญญาประนีประนอมยอม
ความดังกลาวควรมีเนื้อหาที่กาหนดใหผูเสียหายยินดีที่จะยุติการฟองคดีทางแพงและอาญา
                              ํ

        เหตุผล :         เนื่องจากบางหนวยงานมีความกังวลวา เมื่อรับเงินจากกองทุนไปแลวยังสามารถ
ฟองคดีทางแพงและอาญาตอไปไดอีก จึงเสนอในหลักการวา หากผูเสียหายรับเงินจากกองทุนนี้ไปแลว
จะตองยุติการฟองคดีทางแพงและอาญา ซึ่งที่ประชุมมีความเห็นรวมกันในหลักการวา ฝายผูประกอบวิชาชีพ
และฝายภาคประชาชนมีเจตนารมณเดียวกันคือเมื่อผูเสียหายรับเงินจากกองทุนไปแลวก็จะไมมีการฟองคดี
ตอไปอีก ดังนั้น จึงไดเสนอใหมีการกําหนดไวในกฎหมายเรื่องการทําสัญญาประนีประนอมยอมความตาม
มาตรา 33 เปนการทําสัญญาประนีประนอมยอมความเพื่อเปนการยุติการดําเนินคดี ซึ่งหากในทางกฎหมาย
ไมสามารถระบุไวในตัวบทกฎหมายได อาจไปกําหนดไวในรูปแบบรายละเอียดของเนื้อหาสัญญา
ประนีประนอมฯ

ประเด็นที่ 9 การฟองคดีอาญาและบทกําหนดโทษ
        ที่ประชุมมีความเห็นรวมกันในหลักการที่เมื่อรับเงินไปแลวควรยุตการฟองคดีทางแพงและอาญา
                                                                      ิ
และเพื่อคลายความกังวลใจของทั้ง 2 ฝาย ในสัญญาประนีประนอมยอมความควรกําหนดวา เมื่อรับเงิน
ชวยเหลือไปแลวก็จะไมมีการฟองคดีทางแพงและอาญาตอไปอีก
        แตอยางไรก็ตามในทางกฎหมายจะยุติไดเฉพาะคดีแพง แตทางอาญาก็จะไดประโยชนในการ
พิจารณาคดีในชั้นศาล จึงใหคงมาตรา 45 ไวตามเดิม

          เหตุผล :        เนื่องจากมีบางหนวยงานเสนอใหตัดมาตรา 45 ออก เนื่องจากในประมวลกฎหมาย
อาญาไดบัญญัติไวอยูแลว การบัญญัตตามาตรา 45 นี้เปนการทําใหบุคลากรทางสาธารณสุขตองไปสํานึกผิด
                                       ิ
ทั้งที่ตนเองไมไดผิด แตจะตองจายเงินชวยเหลือและรับผิดไวกอนเพราะถาถูกฟองในศาลอาญาจะไดเปน
                                                             
ชองทางบรรเทาผลรายแหงคดี และนอกจากนี้อาจเปนการขัดตอหลักการของกฎหมายฉบับนี้ที่ไมหาคนผิด
หรือไมเพงโทษ
สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ

           ที่ประชุมมีความเห็นรวมกันวา ฝายผูประกอบวิชาชีพและฝายภาคประชาชนมีเจตนารมณเดียวกันคือ
เมื่อผูเสียหายรับเงินจากกองทุนไปแลวก็จะไมมีการฟองคดีแพงและคดีอาญาดีตอไปอีก แตเนื่องจากการตัด
สิทธิไมใหฟองคดีอาญา ในหลักการไมสามารถกระทําไดเนื่องจากขัดตอหลักกฎหมายทั่วไป

ประเด็นที่ 10 การแตงตั้งกรรมการในบทเฉพาะกาล
         ที่ประชุมเห็นรวมกันใหใชกรรมการโดยตําแหนงตามมาตรา 7(1) และ (2) ในการดําเนินการใน
เบื้องตน

       เหตุผล :       เนื่องจากกรรมการตามมาตรา 50 สวนใหญเปนเครือขายภาคประชาชน จึงไดมีการ
เสนอใหมีผูแทนจากสภาวิชาชีพรวมเปนกรรมการดวย
       ที่ประชุมมีความเห็นรวมกันวา เพื่อไมใหเกิดปญหาในการคัดเลือกกรรมการชั่วคราว จึงเห็นควรให
กรรมการโดยตําแหนงตามมาตรา 7 (1) และ (2) ทําหนาที่ดาเนินการในเบื้องตนไปพลางกอน
                                                         ํ

ประเด็นที่ 11 การไกลเกลียและการสรางเสริมความสัมพันธท่ดีในระบบบริการสาธารณสุข
                         ่                              ี
       ใหตัดหมวดการไกลเกลี่ยและการสรางเสริมความสัมพันธที่ดในระบบบริการสาธารณสุข ออก
                                                              ี

     เหตุผล :          เนื่องจากกลไกการไกลเกลียมีอยูในโรงพยาบาลอยูแลว จึงไมจาเปนตองกําหนดไว
                                               ่                                 ํ
ในกฎหมาย

ประเด็นที่ 12 การพัฒนาระบบความปลอดภัยและปองกันความเสียหาย
        1. ที่ประชุมเห็นรวมกันวา การพัฒนาระบบความปลอดภัยและปองกันความเสียหายเปนหลักการ
สําคัญของกฎหมายฉบับนี้ จึงขอใหมีการกําหนดเรื่องนี้และใหสถานพยาบาลสงรายงานเพื่อปรับปรุงแกไข
และในขณะเดียวกันใหมีการแจงหนวยงานที่รับผิดชอบ เพื่อทําแผนเรื่องการพัฒนาระบบความปลอดภัยและ
ปองกันความเสียหาย เพื่อเปนประโยชนตอผูปวย
         2. เสนอใหตดมาตรา 42 วรรคสอง และมาตรา 44 ออก
                     ั

       เหตุผล :          เนื่องจากมาตรา 42 วรรคสอง และมาตรา 44 เปนเรื่องของการใชมาตรการทาง
การเงินมาบังคับใช ซึ่งอาจไมเหมาะสมจึงไมควรกําหนดไวในกฎหมาย เนื่องจากเรื่องดังกลาวเปนเรื่องของ
การบริหารจัดการซึ่งสามารถไปกําหนดไวในกฎระเบียบไดภายหลัง
สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ

                                 แบบสอบถามการสํารวจความคิดเห็น
                    เกี่ยวกับขอสรุปประเด็นความเห็น/ขอเสนอแนะ 12 ประเด็น
          ตอรางพระราชบัญญัติคมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. .....
                                   ุ
                                      ******************************
สวนที่ 1      ขอมูลทั่วไป
1.1 อาชีพ
                        1) ขาราชการ                     2) รัฐวิสาหกิจ

                          2) นักศึกษา                                 4) คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว

                  5) อื่นๆ ...............................................
1.2 สถานภาพในการแสดงความคิดเห็น
                  1. วิชาชีพ
                           1.1 แพทย                                       1.2 ทันตแพทย

                                     1.2 พยาบาล                                  1.4 เภสัชกร

                                     1.5 นักกายภาพบําบัด                         1.6 นักเทคนิคการแพทย

                                 1.7 อื่นๆ ..................................................................
                          2. ประชาชน

สวนที่ 2       ความเห็นเกียวกับขอสรุปความเห็น/ขอเสนอแนะของคณะกรรมการเสริมสราง
                           ่
ความสมานฉันทในระบบบริการสาธารณสุข 12 ประเด็น
                ตามที่คณะกรรมการเสริมสรางความสมานฉันทในระบบบริการสาธารณสุข ไดมีการประชุม
เพื่อปรึกษาหารือ และรวบรวมประเด็นความเห็นและขอเสนอแนะเกียวกับรางพระราชบัญญัติคมครอง
                                                               ่                      ุ
ผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... โดยไดขอสรุปที่เปนความเห็นรวมกัน 12 ประเด็นตอไปนี้
ทานเห็นดวยหรือไม

2.1 ประเด็นที่ 1        เรื่องชื่อรางพระราชบัญญัติ
       เสนอชื่อเปน 1. “รางพระราชบัญญัติคุมครองผูไดรับผลกระทบจากการรับบริการสาธารณสุข”
                    2. “รางพระราชบัญญัตคุมครองผูรับบริการและผูใหบริการที่ไดรบความเสียหายจากการ
                                             ิ                                  ั
บริการสาธารณสุข”
                        1) เห็นดวยกับชื่อที่แกไข (ชื่อที่ 1)       2) เห็นดวยกับชื่อที่แกไข (ชื่อที่ 2)
สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ


                                  3) ไมเห็นดวยกับชื่อที่แกไข ควรแกไขเปน..............................................................
                                  ..............................................................................................................................
                                  4) เห็นดวยกับชื่อเดิม

2.2 ประเด็นที่ 2                  หลักการของพระราชบัญญัติ
       ขอเสนอ                    : ใหมีกฎหมายวาดวยการคุมครองผูไดรับผลกระทบจากการรับบริการสาธารณสุข
                                  1) เห็นดวยกับหลักการที่เสนอ                 2) เห็นดวยกับหลักการเดิม

                                  3) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน..................................................................................
                                  ..............................................................................................................................

2.3 ประเด็นที่ 3       เรื่องคํานิยาม (มาตรา 3) คําวา “ผูเสียหาย”
         ขอเสนอ       : คําวา “ผูเสียหาย” ในหลักการควรคุมครองเฉพาะประชาชนชาวไทย เนื่องจากเปน
สิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนชาวไทยทีควรจะไดรับความคุมครอง
                                         ่
                       1) เห็นดวยกับขอเสนอ                     2) เห็นดวยกับรางเดิม

                                  3) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน..................................................................................
                                  ..............................................................................................................................

2.4 ประเด็นที่ 4         เรื่องการคุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข กรณีขอยกเวนที่ผูเสียหาย
ไมมีสิทธิไดรบเงินชวยเหลือเบื้องตนและเงินชดเชย (มาตรา 6)
              ั
         ขอเสนอ         : มาตรา 6 เสนอใหตดคําวา “มาตรฐาน” ออก โดยแกไขเปนดังนี้
                                               ั
                         “มาตรา 6 บทบัญญัติในมาตรา 5 มิใหใชบังคับในกรณีดงตอไปนี้
                                                                              ั
                         (1) ความเสียหายที่เกิดขึ้นตามปกติธรรมดาของโรคนั้น
                         (2) ความเสียหายซึ่งหลีกเลี่ยงมิไดจากการใหบริการสาธารณสุข
                         (3) ความเสียหายที่ไมมีผลกระทบตอการดํารงชีวิตตามปกติ”
                         1) เห็นดวยกับขอเสนอ                  2) เห็นดวยกับรางเดิม

                       3) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน..................................................................................
                       ..............................................................................................................................
2.5 ประเด็นที่ 5       เรื่องคณะกรรมการเสริมสรางความสมานฉันท (หมวด 2)
       ขอเสนอ         : แกไของคประกอบคณะกรรมการในมาตรา 7 (2) , (3) , (4) และ (5) เปนดังนี้
                “มาตรา 7 (2) ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวง
สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ

การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ(ผูแทนคณะแพทยศาสตร) และ
ปลัดกระทรวงกลาโหม (ผูแทนกรมแพทย) อธิบดีกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ เลขาธิการคณะกรรมการ
คุมครองผูบริโภค และผูอํานวยการสํานักงบประมาณ
                 มาตรา 7 (3) ผูแทนผูประกอบวิชาชีพ จํานวน 4 คน และผูแทนสถานพยาบาล จํานวน
2 คน
                 มาตรา 7 (4) ผูแทนองคกรพัฒนาเอกชนที่ทางานดานคุมครองสิทธิผูบริโภค
                                                         ํ
ดานบริการสุขภาพ จํานวนหกคน
                 มาตรา 7 (5) ผูทรงคุณวุฒจํานวนหกคน ซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งจากผูที่มีความเชียวชาญ
                                           ิ                                              ่
ดานการแพทยและสาธารณสุข และดานสังคมศาสตร ดานละสามคน”

                     1) เห็นดวยกับขอเสนอ                                         2) เห็นดวยกับรางเดิม

                     3) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน..................................................................................
                     ..............................................................................................................................

2.6 ประเด็นที่ 6     เรื่องสํานักงานเลขานุการ
       ขอเสนอ       : ใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เปนสํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการ
                     1) เห็นดวยกับขอเสนอ

                     2) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน..................................................................................
                     ..............................................................................................................................

2.7 ประเด็นที่ 7    เรื่องกองทุนสรางเสริมความสัมพันธที่ดในระบบบริการสาธารณสุข (หมวด 3)
                                                          ี
         ขอเสนอ    : หลักการเรื่องการจายเงินสมทบควรมีความเทาเทียมกัน โดยแหลงที่มาของ
เงินกองทุน ควรมาจาก
                    1.เงินที่มาจากกองทุนประกันสังคม , กองทุนตามมาตรา 41 แหง พรบ.หลักประกัน
สุขภาพ และกองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาลของขาราชการ โดยการจายเงินสมทบใหมีสัดสวนที่เทาเทียมกัน
ทั้ง 3 กองทุน
                    2. โรงพยาบาลเอกชน ใหจายเงินสมทบในอัตราที่ใกลเคียงกับ 3 กองทุน
                    3. คลินิก ใหกําหนดเปนบทเฉพาะกาลโดยใหเขาสูระบบภายหลัง และการจายเงิน
สมทบของคลินกจะเรียกเก็บเปนคาธรรมเนียมรายป
               ิ
                     1) เห็นดวยกับขอเสนอ                  2) เห็นดวยกับรางเดิม

                     3) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน..................................................................................
                     ..............................................................................................................................
สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ

2.8 ประเด็นที่ 8           เรื่องการพิจารณาจายเงินชวยเหลือเบื้องตนและเงินชดเชย (หมวด 4)
       ขอเสนอ             : 1. การพิจารณาจายเงินชวยเหลือเบื้องตน ควรมีคณะอนุกรรมการพิจารณาจายเงิน
ชวยเหลือเบื้องตน ซึ่งมีสัดสวนเทากันระหวางผูประกอบวิชาชีพและผูเสียหาย
                           1) เห็นดวยกับขอเสนอ                   2) เห็นดวยกับรางเดิม

                       3) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน..................................................................................
                       ..............................................................................................................................

                         2. การพิจารณาจายเงินชดเชย ควรมีคณะอนุกรรมการพิจารณาจายเงินชดเชย ซึ่งมี
สัดสวนเทากันระหวางผูประกอบวิชาชีพและผูเสียหาย และมีผูทรงคุณวุฒิดานกฎหมายเพื่อชวยพิจารณา
ประเด็นขอกฎหมาย
                         1) เห็นดวยกับขอเสนอ                2) เห็นดวยกับรางเดิม

                       3) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน..................................................................................
                       ..............................................................................................................................

                        3. ใหแกไขขอความในมาตรา 33 ในเรื่องการทําสัญญาประนีประนอมยอมความ
เมื่อรับเงินชดเชยไปแลว “เปนการทําสัญญาประนีประนอมยอมความเพื่อยุติการดําเนินคดี” โดยในสัญญา
ประนีประนอมยอมความดังกลาวควรมีเนื้อหาที่กําหนดใหผูเสียหายยินดีที่จะยุติการฟองคดีทางแพงและ
อาญา
                        1) เห็นดวยกับขอเสนอ                2) เห็นดวยกับรางเดิม

                       3) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน..................................................................................
                       ..............................................................................................................................

2.9 ประเด็นที่ 9      เรื่องการฟองคดีอาญาและบทกําหนดโทษ (หมวด 7)
        ขอเสนอ       : 1. ในหลักการเมื่อรับเงินไปแลวควรยุตการฟองคดีทางแพงและอาญา และเพื่อ
                                                            ิ
คลายความกังวลใจของทั้ง 2 ฝาย ในสัญญาประนีประนอมยอมความควรกําหนดวา เมื่อรับเงินชวยเหลือไป
แลวก็จะไมมการฟองคดีทางแพงและอาญาตอไปอีก
            ี
                      1) เห็นดวยกับขอเสนอ

                       2) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน..................................................................................
                       ..............................................................................................................................
สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ

                     2. เนื่องจากในทางกฎหมายจะยุติไดเฉพาะคดีแพง แตทางอาญาผูใหบริการ
สาธารณสุขจะไดประโยชนในการพิจารณาคดีในชั้นศาล จึงใหคงมาตรา 45 ไวตามเดิม
                    1) เห็นดวยกับขอเสนอ

                     2) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน..................................................................................
                     ..............................................................................................................................

2.10 ประเด็นที่ 10   เรื่องการแตงตั้งกรรมการในบทเฉพาะกาล (มาตรา 50)
        ขอเสนอ      : ใหใชกรรมการโดยตําแหนงตามมาตรา 7(1) และ (2) ในการดําเนินการ
ในเบื้องตน
                     1) เห็นดวยกับขอเสนอ                                         2) เห็นดวยกับรางเดิม

                     3) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน..................................................................................
                     ..............................................................................................................................

2.11 ประเด็นที่ 11   เรื่องการไกลเกลี่ยและการสรางเสริมความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข
(หมวด 5)
       ขอเสนอ       : ใหตัดหมวดการไกลเกลียและการสรางเสริมความสัมพันธที่ดในระบบบริการ
                                            ่                                ี
สาธารณสุข ออก
                                 1) เห็นดวยกับขอเสนอ                                         2) เห็นดวยกับรางเดิม

                     3) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน..................................................................................
                     ..............................................................................................................................

2.12 ประเด็นที่ 12 เรื่องการพัฒนาระบบความปลอดภัยและปองกันความเสียหาย (หมวด 6)
       ขอเสนอ        : 1. การพัฒนาระบบความปลอดภัยและปองกันความเสียหายเปนหลักการสําคัญ
ของกฎหมายฉบับนี้ จึงขอใหมีการกําหนดเรื่องนี้และใหสถานพยาบาลสงรายงานเพื่อปรับปรุงแกไข และใน
ขณะเดียวกันใหมีการแจงหนวยงานที่รับผิดชอบ เพื่อทําแผนเรื่องการพัฒนาระบบความปลอดภัย
และปองกันความเสียหาย เพื่อเปนประโยชนตอผูปวย
                      1) เห็นดวยกับขอเสนอ

                     2) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน..................................................................................
                     ..............................................................................................................................
สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ

 2. เสนอใหตดมาตรา 42 วรรคสอง และมาตรา 44 ออก
              ั
1) เห็นดวยกับขอเสนอ

2) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน..................................................................................
..............................................................................................................................

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
taem
 
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
หมอปอ ขจีรัตน์
 
ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..
ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..
ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..
ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
taem
 
Loadแนวข้อสอบ นักทัศนมาตร กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหาราชินี
 Loadแนวข้อสอบ นักทัศนมาตร กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหาราชินี Loadแนวข้อสอบ นักทัศนมาตร กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหาราชินี
Loadแนวข้อสอบ นักทัศนมาตร กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหาราชินี
nawaporn khamseanwong
 
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล  ลิ้มสถิตย์การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล  ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
taem
 

La actualidad más candente (19)

พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้านพรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
 
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
พระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558
พระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558พระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558
พระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558
 
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
 
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
 
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
 
22 medical guide_government officer_cgd_2553
22 medical guide_government officer_cgd_255322 medical guide_government officer_cgd_2553
22 medical guide_government officer_cgd_2553
 
Ethics in Emergency Medicine
Ethics in Emergency MedicineEthics in Emergency Medicine
Ethics in Emergency Medicine
 
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุรินพยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
 
ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..
ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..
ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..
 
ระบบสุขภาพกับสังคมไทยไม่ทิ้งกัน
ระบบสุขภาพกับสังคมไทยไม่ทิ้งกันระบบสุขภาพกับสังคมไทยไม่ทิ้งกัน
ระบบสุขภาพกับสังคมไทยไม่ทิ้งกัน
 
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
 
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
 
ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.
ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.
ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.
 
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
Loadแนวข้อสอบ นักทัศนมาตร กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหาราชินี
 Loadแนวข้อสอบ นักทัศนมาตร กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหาราชินี Loadแนวข้อสอบ นักทัศนมาตร กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหาราชินี
Loadแนวข้อสอบ นักทัศนมาตร กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหาราชินี
 
กฎหมาย2552
กฎหมาย2552กฎหมาย2552
กฎหมาย2552
 
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล  ลิ้มสถิตย์การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล  ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตาย
 

Destacado (9)

Ancient Egypt
Ancient EgyptAncient Egypt
Ancient Egypt
 
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักวัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
 
Presen india
Presen indiaPresen india
Presen india
 
Biblia.de.access.2007 e book
Biblia.de.access.2007 e bookBiblia.de.access.2007 e book
Biblia.de.access.2007 e book
 
Cisco routers for the small business a practical guide for it professionals...
Cisco routers for the small business   a practical guide for it professionals...Cisco routers for the small business   a practical guide for it professionals...
Cisco routers for the small business a practical guide for it professionals...
 
Chaipattana tsunami
Chaipattana tsunamiChaipattana tsunami
Chaipattana tsunami
 
Varisco’s ppp
Varisco’s pppVarisco’s ppp
Varisco’s ppp
 
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in ThailandRational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
 
Guia de València
Guia de ValènciaGuia de València
Guia de València
 

Similar a ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697

ทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
ทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุขทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
ทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
อ แสวง เขียนมาดีมาก
อ แสวง เขียนมาดีมากอ แสวง เขียนมาดีมาก
อ แสวง เขียนมาดีมาก
Supat Hasuwankit
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
weeraboon wisartsakul
 
10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”
10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”  10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”
10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”
Peerasak C.
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
Nithimar Or
 

Similar a ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697 (20)

8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
 
ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)
ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)
ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)
 
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
 
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการเหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
 
ผลการประชาพิจารณ์
ผลการประชาพิจารณ์ผลการประชาพิจารณ์
ผลการประชาพิจารณ์
 
ทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
ทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุขทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
ทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
 
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2
 
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
Financing for Emergency patients
Financing for Emergency patientsFinancing for Emergency patients
Financing for Emergency patients
 
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
อ แสวง เขียนมาดีมาก
อ แสวง เขียนมาดีมากอ แสวง เขียนมาดีมาก
อ แสวง เขียนมาดีมาก
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
 
10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”
10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”  10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”
10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”
 
ตัวอย่างวินัย5 52
ตัวอย่างวินัย5 52ตัวอย่างวินัย5 52
ตัวอย่างวินัย5 52
 
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
 

Más de dentyomaraj

Ortho price list 2012
Ortho price list 2012Ortho price list 2012
Ortho price list 2012
dentyomaraj
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
dentyomaraj
 
การพูดที่อบอุ่น Warm Speech
การพูดที่อบอุ่น Warm Speechการพูดที่อบอุ่น Warm Speech
การพูดที่อบอุ่น Warm Speech
dentyomaraj
 

Más de dentyomaraj (20)

ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 Pค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
 
Competition brochure snake game 55
Competition brochure snake game 55Competition brochure snake game 55
Competition brochure snake game 55
 
Kid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languageKid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai language
 
Ortho price list 2012
Ortho price list 2012Ortho price list 2012
Ortho price list 2012
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
 
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
 
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมาสามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
 
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpubEndodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpub
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
 
โยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะโยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะ
 
การพูดที่อบอุ่น Warm Speech
การพูดที่อบอุ่น Warm Speechการพูดที่อบอุ่น Warm Speech
การพูดที่อบอุ่น Warm Speech
 
หลวงตาบัว
หลวงตาบัวหลวงตาบัว
หลวงตาบัว
 
Poster preprosthetic surgery
Poster preprosthetic surgeryPoster preprosthetic surgery
Poster preprosthetic surgery
 
Poster ฟันเทียมถอดได้ rooj
Poster ฟันเทียมถอดได้  roojPoster ฟันเทียมถอดได้  rooj
Poster ฟันเทียมถอดได้ rooj
 

ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697

  • 1. สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ เนื่องจากราง พรบ.คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... มีประเด็นความเห็น ที่แตกตางบางประเด็น กระทรวงสาธารณสุขจึงไดมการประชุมเพื่อปรึกษาหารือหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ ี เพื่อรวบรวมประเด็นความเห็น/ขอเสนอแนะตอราง พรบ.ดังกลาว ซึงมีขอสรุปเปนประเด็นความเห็นทั้งหมด ่ 12 ประเด็น ดังนั้น กระทรวงสาธารณสุข จึงขอเชิญทานรวมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ทีเกี่ยวกับราง พรบ. ่ คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข โดยทานมีความเห็นอยางไรกับ 12 ประเด็นดังกลาว และ เห็นดวย หรือไมเห็นดวย อยางไร ทั้งนี้ เพื่อเปนประโยชนตอการพิจารณาราง พรบ.คุมครองผูเสียหายตอไป โดยทานรวมแสดงความคิดเห็น 1. กรอกแบบสอบถามผานเว็บไซต http://www.lawamendment.go.th/moph/DialogFirst.asp?Mode=1&ID=865 2. กรอกแบบสอบถามสงทางไปรษณียมาที่ สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทรสาร 02-590-1332 หรือทาง e-mail : arreewan_p@hotmail.com ขอสรุปประเด็นความเห็น/ขอเสนอแนะตอราง พรบ.คุมครองผูเสียหายฯ ตามความเห็นรวมของทีประชุม วันที่ 12 ตุลาคม 2553 และ วันที่ 15 ตุลาคม 2553 ่ ประเด็นที่ 1 ชื่อรางพระราชบัญญัติ เสนอชื่อเปน 1. “รางพระราชบัญญัติคุมครองผูไดรับผลกระทบจากการรับบริการสาธารณสุข” 2. “รางพระราชบัญญัตคุมครองผูรับบริการและผูใหบริการที่ไดรบความเสียหายจากการ ิ  ั บริการสาธารณสุข” เหตุผล : เนื่องจากคําวา “ผูไดรับผลกระทบ” มีความหมายรวมถึงผูใหบริการและผูรับบริการ ซึ่งมีความหมายกวางขวางกวาคําวา “ผูเสียหาย” และเปนการคุมครองทั้งผูรับบริการและผูใหบริการ สาธารณสุข ประเด็นที่ 2 หลักการ แกไขเปน “ใหมีกฎหมายวาดวยการคุมครองผูไดรับผลกระทบจากการรับบริการสาธารณสุข” เหตุผล : เพื่อใหสอดคลองกับชื่อพระราชบัญญัติ ประเด็นที่ 3 คํานิยาม คําวา “ผูเสียหาย” ในหลักการควรคุมครองเฉพาะประชาชนชาวไทย เนื่องจากเปนสิทธิขั้นพื้นฐาน ของประชาชนชาวไทยที่ควรจะไดรับความคุมครอง ขอสังเกต : ควรครอบคลุมถึงแรงงานตางดาวดวยหรือไม
  • 2. สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ เหตุผล : เนื่องจากมีบางหนวยงานไดเสนอวาควรมีการกําหนดคํานิยามคําวา “ผูเสียหาย” ใหชัดเจนวามีความหมายครอบคลุมถึงใครบาง และรวมถึงแรงงานตางดาวดวยหรือไม ประเด็นที่ 4 การคุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข แกไขมาตรา 6 โดยตัดคําวา “มาตรฐาน” ออก เปนดังนี้ “มาตรา 6 บทบัญญัติในมาตรา 5 มิใหใชบังคับในกรณีดังตอไปนี้ (1) ความเสียหายที่เกิดขึ้นตามปกติธรรมดาของโรคนั้น (2) ความเสียหายซึ่งหลีกเลี่ยงมิไดจากการใหบริการสาธารณสุข (3) ความเสียหายที่ไมมีผลกระทบตอการดํารงชีวิตตามปกติ” เหตุผล : เนื่องจากตามมาตรา 6 (1) และ (2) เดิมไดมีการกําหนดเรื่องมาตรฐานเขามา เกี่ยวของ อาจเปนการทําใหตองมีการพิสูจนถกผิด ซึ่งเปนการขัดแยงกับมาตรา 5 จึงไดมีการตัดคําวา ู “มาตรฐานวิชาชีพ” ออก ประเด็นที่ 5 คณะกรรมการเสริมสรางความสมานฉันท แกไของคประกอบคณะกรรมการในมาตรา 7 (2) , (3) , (4) และ (5) เปนดังนี้ มาตรา 7 (2) ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ(ผูแทนคณะแพทยศาสตร) และ ปลัดกระทรวงกลาโหม (ผูแทนกรมแพทย) อธิบดีกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ เลขาธิการคณะกรรมการ คุมครองผูบริโภค และผูอํานวยการสํานักงบประมาณ มาตรา 7 (3) ผูแทนผูประกอบวิชาชีพ จํานวน 4 คน และผูแทนสถานพยาบาล จํานวน 2 คน มาตรา 7 (4) ผูแทนองคกรพัฒนาเอกชนที่ทางานดานคุมครองสิทธิผูบริโภค ํ ดานบริการสุขภาพ จํานวนหกคน มาตรา 7 (5) ผูทรงคุณวุฒจํานวนหกคน ซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งจากผูท่มีความเชียวชาญ ิ ี ่ ดานการแพทยและสาธารณสุข และดานสังคมศาสตร ดานละสามคน เหตุผล : เนื่องจากหนวยงานสวนใหญเสนอใหมีผูแทนสภาวิชาชีพรวมเปนกรรมการ ที่ประชุม จึงมีความเห็นรวมกันในหลักการวาองคประกอบของคณะกรรมการควรมีสัดสวนที่เหมาะสมและเปนธรรมแก ทั้ง 2 ฝาย
  • 3. สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ ประเด็นที่ 6 สํานักงานเลขานุการ ใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เปนสํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการ เหตุผล : เนื่องจากมีขอเสนอคือ 1. ควรเปนหนวยงานใหมที่มีสถานะเปนหนวยงานของรัฐ หรือให สปสช.เปน สํานักงาน เลขานุการ 2. เสนอใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพเปนสํานักงานเลขานุการ ขอสรุปที่ประชุม ที่ประชุมมีความเห็นรวม ใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข เปนสํานักงานเลขานุการ เนื่องจากกระทรวงสาธารณสุขมีความพรอมในดานบทบาทภารกิจ เพราะมีภารกิจ โดยตรงเกี่ยวกับการสนับสนุนการดําเนินงานของหนวยบริการสุขภาพทั้งภาครัฐ และเอกชน โดยมีการ พัฒนาระบบและกลไกที่เอื้อตอการจัดบริการสุขภาพ เพื่อใหประชาชนไดรับบริการจากหนวยบริการที่มี คุณภาพและไดมาตรฐาน , มีความพรอมในดานโครงสรางการบริหารจัดการและบุคลากร เนื่องจากมีหลาย หนวยงานที่มีพนธกิจเกี่ยวของกับการสงเสริมพัฒนาระบบบริการสุขภาพโดยมีเครือขายทั้งในสวนกลางและ ั สวนภูมิภาค ซึ่งสามารถทํางานรวมกับหนวยงานอื่นๆ ที่มีศักยภาพ ประสบการณ หรือโครงสรางการทํางาน ที่สอดคลองกันอยูแลวทั้งภายในและภายนอกกระทรวงสาธารณสุข นอกจากนี้ยังมีเครือขายสถานบริการอยู ทั่วประเทศ ทําใหมีการรับคํารองและมีระบบการสงตอที่มีประสิทธิภาพ สามารถเขาถึงไดงาย และเปน  ประโยชนตอการใหการชวยเหลือเยียวยาผูเสียหาย ประเด็นที่ 7 กองทุนสรางเสริมความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข ที่ประชุมเห็นรวมกันในหลักการเรื่องการจายเงินสมทบนั้นควรมีความเทาเทียมกัน 1.เงินที่มาจากกองทุนประกันสังคม , กองทุนตามมาตรา 41 แหง พรบ.หลักประกันสุขภาพ และ กองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาลของขาราชการ โดยการจายเงินสมทบใหมสัดสวนที่เทาเทียมกันทั้ง 3 ี กองทุน 2. โรงพยาบาลเอกชน ใหจายเงินสมทบในอัตราที่ใกลเคียงกับ 3 กองทุน 3. คลินิก ใหกําหนดเปนบทเฉพาะกาลโดยใหเขาสูระบบภายหลัง และการจายเงินสมทบของคลินิก จะเรียกเก็บเปนคาธรรมเนียมรายป เหตุผล : เนื่องจากประเด็นที่เปนปญหาคือ มาตรา 22 แหลงที่มาของกองทุน ไดมีการเสนอวา 1. บางหนวยงานเห็นวาไมเห็นดวยที่จะบังคับใหโรงพยาบาลเอกชนตองจายเงินสมทบ 2. ควรเปนเงินอุดหนุนจากรัฐบาลโดยตรงเพื่อจะไมเปนการเพิ่มภาระใหกบสถานพยาบาล ั 3. หลักเกณฑการจายเงินสมทบควรมีการกําหนดใหชัดเจน ที่ประชุมจึงมีขอสรุปในหลักการรวมกันวา การจายเงินสมทบเขากองทุนควรมีสดสวนที่เทาเทียมกัน ั โดยแหลงที่มาของกองทุนควรมาจาก 1) 3 กองทุนหลักคือ กองทุนประกันสังคม , กองทุนตามมาตรา 41 แหง พรบ.หลักประกันสุขภาพ และกองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาลของขาราชการ 2)โรงพยาลบาลเอกชน สําหรับ
  • 4. สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ คลินิกซึ่งเปนสถานพยาบาลขนาดเล็ก ใหกําหนดเปนบทเฉพาะกาลใหเขาสูระบบนี้ภายหลัง ทั้งนี้ เพื่อเปน การชวยเหลือเยียวยาผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุขไดครอบคลุมทุกกลุมไมวาจะเปนกลุม  ผูประกันตน กลุมหลักประกันสุขภาพ กลุมขาราชการ และกลุมโรงพยาบาลเอกชน ประเด็นที่ 8 การพิจารณาจายเงินชวยเหลือเบื้องตนและเงินชดเชย 1. การพิจารณาจายเงินชวยเหลือเบื้องตน จะมีคณะอนุกรรมการพิจารณาจายเงินชวยเหลือเบืองตน ้ ซึ่งมีสดสวนเทากันระหวางผูประกอบวิชาชีพและผูเสียหาย ั 2. สําหรับการพิจารณาจายเงินชดเชย จะมีคณะอนุกรรมการพิจารณาจายเงินชดเชย ซึ่งมีสดสวน ั เทากันระหวางผูประกอบวิชาชีพและผูเสียหาย และมีผูทรงคุณวุฒิดานกฎหมายเพื่อชวยพิจารณาประเด็นขอ  กฎหมาย โดยใชมาตรา 41 มาเปนแบบอยาง 3. ใหแกไขขอความในมาตรา 33 ในเรื่องการทําสัญญาประนีประนอมยอมความเมื่อรับเงินชดเชย ไปแลว “เปนการทําสัญญาประนีประนอมยอมความเพื่อยุติการดําเนินคดี” โดยในสัญญาประนีประนอมยอม ความดังกลาวควรมีเนื้อหาที่กาหนดใหผูเสียหายยินดีที่จะยุติการฟองคดีทางแพงและอาญา ํ เหตุผล : เนื่องจากบางหนวยงานมีความกังวลวา เมื่อรับเงินจากกองทุนไปแลวยังสามารถ ฟองคดีทางแพงและอาญาตอไปไดอีก จึงเสนอในหลักการวา หากผูเสียหายรับเงินจากกองทุนนี้ไปแลว จะตองยุติการฟองคดีทางแพงและอาญา ซึ่งที่ประชุมมีความเห็นรวมกันในหลักการวา ฝายผูประกอบวิชาชีพ และฝายภาคประชาชนมีเจตนารมณเดียวกันคือเมื่อผูเสียหายรับเงินจากกองทุนไปแลวก็จะไมมีการฟองคดี ตอไปอีก ดังนั้น จึงไดเสนอใหมีการกําหนดไวในกฎหมายเรื่องการทําสัญญาประนีประนอมยอมความตาม มาตรา 33 เปนการทําสัญญาประนีประนอมยอมความเพื่อเปนการยุติการดําเนินคดี ซึ่งหากในทางกฎหมาย ไมสามารถระบุไวในตัวบทกฎหมายได อาจไปกําหนดไวในรูปแบบรายละเอียดของเนื้อหาสัญญา ประนีประนอมฯ ประเด็นที่ 9 การฟองคดีอาญาและบทกําหนดโทษ ที่ประชุมมีความเห็นรวมกันในหลักการที่เมื่อรับเงินไปแลวควรยุตการฟองคดีทางแพงและอาญา ิ และเพื่อคลายความกังวลใจของทั้ง 2 ฝาย ในสัญญาประนีประนอมยอมความควรกําหนดวา เมื่อรับเงิน ชวยเหลือไปแลวก็จะไมมีการฟองคดีทางแพงและอาญาตอไปอีก แตอยางไรก็ตามในทางกฎหมายจะยุติไดเฉพาะคดีแพง แตทางอาญาก็จะไดประโยชนในการ พิจารณาคดีในชั้นศาล จึงใหคงมาตรา 45 ไวตามเดิม เหตุผล : เนื่องจากมีบางหนวยงานเสนอใหตัดมาตรา 45 ออก เนื่องจากในประมวลกฎหมาย อาญาไดบัญญัติไวอยูแลว การบัญญัตตามาตรา 45 นี้เปนการทําใหบุคลากรทางสาธารณสุขตองไปสํานึกผิด ิ ทั้งที่ตนเองไมไดผิด แตจะตองจายเงินชวยเหลือและรับผิดไวกอนเพราะถาถูกฟองในศาลอาญาจะไดเปน  ชองทางบรรเทาผลรายแหงคดี และนอกจากนี้อาจเปนการขัดตอหลักการของกฎหมายฉบับนี้ที่ไมหาคนผิด หรือไมเพงโทษ
  • 5. สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ ที่ประชุมมีความเห็นรวมกันวา ฝายผูประกอบวิชาชีพและฝายภาคประชาชนมีเจตนารมณเดียวกันคือ เมื่อผูเสียหายรับเงินจากกองทุนไปแลวก็จะไมมีการฟองคดีแพงและคดีอาญาดีตอไปอีก แตเนื่องจากการตัด สิทธิไมใหฟองคดีอาญา ในหลักการไมสามารถกระทําไดเนื่องจากขัดตอหลักกฎหมายทั่วไป ประเด็นที่ 10 การแตงตั้งกรรมการในบทเฉพาะกาล ที่ประชุมเห็นรวมกันใหใชกรรมการโดยตําแหนงตามมาตรา 7(1) และ (2) ในการดําเนินการใน เบื้องตน เหตุผล : เนื่องจากกรรมการตามมาตรา 50 สวนใหญเปนเครือขายภาคประชาชน จึงไดมีการ เสนอใหมีผูแทนจากสภาวิชาชีพรวมเปนกรรมการดวย ที่ประชุมมีความเห็นรวมกันวา เพื่อไมใหเกิดปญหาในการคัดเลือกกรรมการชั่วคราว จึงเห็นควรให กรรมการโดยตําแหนงตามมาตรา 7 (1) และ (2) ทําหนาที่ดาเนินการในเบื้องตนไปพลางกอน ํ ประเด็นที่ 11 การไกลเกลียและการสรางเสริมความสัมพันธท่ดีในระบบบริการสาธารณสุข ่ ี ใหตัดหมวดการไกลเกลี่ยและการสรางเสริมความสัมพันธที่ดในระบบบริการสาธารณสุข ออก ี เหตุผล : เนื่องจากกลไกการไกลเกลียมีอยูในโรงพยาบาลอยูแลว จึงไมจาเปนตองกําหนดไว ่ ํ ในกฎหมาย ประเด็นที่ 12 การพัฒนาระบบความปลอดภัยและปองกันความเสียหาย 1. ที่ประชุมเห็นรวมกันวา การพัฒนาระบบความปลอดภัยและปองกันความเสียหายเปนหลักการ สําคัญของกฎหมายฉบับนี้ จึงขอใหมีการกําหนดเรื่องนี้และใหสถานพยาบาลสงรายงานเพื่อปรับปรุงแกไข และในขณะเดียวกันใหมีการแจงหนวยงานที่รับผิดชอบ เพื่อทําแผนเรื่องการพัฒนาระบบความปลอดภัยและ ปองกันความเสียหาย เพื่อเปนประโยชนตอผูปวย 2. เสนอใหตดมาตรา 42 วรรคสอง และมาตรา 44 ออก ั เหตุผล : เนื่องจากมาตรา 42 วรรคสอง และมาตรา 44 เปนเรื่องของการใชมาตรการทาง การเงินมาบังคับใช ซึ่งอาจไมเหมาะสมจึงไมควรกําหนดไวในกฎหมาย เนื่องจากเรื่องดังกลาวเปนเรื่องของ การบริหารจัดการซึ่งสามารถไปกําหนดไวในกฎระเบียบไดภายหลัง
  • 6. สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ แบบสอบถามการสํารวจความคิดเห็น เกี่ยวกับขอสรุปประเด็นความเห็น/ขอเสนอแนะ 12 ประเด็น ตอรางพระราชบัญญัติคมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..... ุ ****************************** สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไป 1.1 อาชีพ 1) ขาราชการ 2) รัฐวิสาหกิจ 2) นักศึกษา 4) คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 5) อื่นๆ ............................................... 1.2 สถานภาพในการแสดงความคิดเห็น 1. วิชาชีพ 1.1 แพทย 1.2 ทันตแพทย 1.2 พยาบาล 1.4 เภสัชกร 1.5 นักกายภาพบําบัด 1.6 นักเทคนิคการแพทย 1.7 อื่นๆ .................................................................. 2. ประชาชน สวนที่ 2 ความเห็นเกียวกับขอสรุปความเห็น/ขอเสนอแนะของคณะกรรมการเสริมสราง ่ ความสมานฉันทในระบบบริการสาธารณสุข 12 ประเด็น ตามที่คณะกรรมการเสริมสรางความสมานฉันทในระบบบริการสาธารณสุข ไดมีการประชุม เพื่อปรึกษาหารือ และรวบรวมประเด็นความเห็นและขอเสนอแนะเกียวกับรางพระราชบัญญัติคมครอง ่ ุ ผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... โดยไดขอสรุปที่เปนความเห็นรวมกัน 12 ประเด็นตอไปนี้ ทานเห็นดวยหรือไม 2.1 ประเด็นที่ 1 เรื่องชื่อรางพระราชบัญญัติ เสนอชื่อเปน 1. “รางพระราชบัญญัติคุมครองผูไดรับผลกระทบจากการรับบริการสาธารณสุข” 2. “รางพระราชบัญญัตคุมครองผูรับบริการและผูใหบริการที่ไดรบความเสียหายจากการ ิ  ั บริการสาธารณสุข” 1) เห็นดวยกับชื่อที่แกไข (ชื่อที่ 1) 2) เห็นดวยกับชื่อที่แกไข (ชื่อที่ 2)
  • 7. สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ 3) ไมเห็นดวยกับชื่อที่แกไข ควรแกไขเปน.............................................................. .............................................................................................................................. 4) เห็นดวยกับชื่อเดิม 2.2 ประเด็นที่ 2 หลักการของพระราชบัญญัติ ขอเสนอ : ใหมีกฎหมายวาดวยการคุมครองผูไดรับผลกระทบจากการรับบริการสาธารณสุข 1) เห็นดวยกับหลักการที่เสนอ 2) เห็นดวยกับหลักการเดิม 3) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน.................................................................................. .............................................................................................................................. 2.3 ประเด็นที่ 3 เรื่องคํานิยาม (มาตรา 3) คําวา “ผูเสียหาย” ขอเสนอ : คําวา “ผูเสียหาย” ในหลักการควรคุมครองเฉพาะประชาชนชาวไทย เนื่องจากเปน สิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนชาวไทยทีควรจะไดรับความคุมครอง ่ 1) เห็นดวยกับขอเสนอ 2) เห็นดวยกับรางเดิม 3) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน.................................................................................. .............................................................................................................................. 2.4 ประเด็นที่ 4 เรื่องการคุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข กรณีขอยกเวนที่ผูเสียหาย ไมมีสิทธิไดรบเงินชวยเหลือเบื้องตนและเงินชดเชย (มาตรา 6) ั ขอเสนอ : มาตรา 6 เสนอใหตดคําวา “มาตรฐาน” ออก โดยแกไขเปนดังนี้ ั “มาตรา 6 บทบัญญัติในมาตรา 5 มิใหใชบังคับในกรณีดงตอไปนี้ ั (1) ความเสียหายที่เกิดขึ้นตามปกติธรรมดาของโรคนั้น (2) ความเสียหายซึ่งหลีกเลี่ยงมิไดจากการใหบริการสาธารณสุข (3) ความเสียหายที่ไมมีผลกระทบตอการดํารงชีวิตตามปกติ” 1) เห็นดวยกับขอเสนอ 2) เห็นดวยกับรางเดิม 3) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน.................................................................................. .............................................................................................................................. 2.5 ประเด็นที่ 5 เรื่องคณะกรรมการเสริมสรางความสมานฉันท (หมวด 2) ขอเสนอ : แกไของคประกอบคณะกรรมการในมาตรา 7 (2) , (3) , (4) และ (5) เปนดังนี้ “มาตรา 7 (2) ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวง
  • 8. สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ(ผูแทนคณะแพทยศาสตร) และ ปลัดกระทรวงกลาโหม (ผูแทนกรมแพทย) อธิบดีกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ เลขาธิการคณะกรรมการ คุมครองผูบริโภค และผูอํานวยการสํานักงบประมาณ มาตรา 7 (3) ผูแทนผูประกอบวิชาชีพ จํานวน 4 คน และผูแทนสถานพยาบาล จํานวน 2 คน มาตรา 7 (4) ผูแทนองคกรพัฒนาเอกชนที่ทางานดานคุมครองสิทธิผูบริโภค ํ ดานบริการสุขภาพ จํานวนหกคน มาตรา 7 (5) ผูทรงคุณวุฒจํานวนหกคน ซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งจากผูที่มีความเชียวชาญ ิ ่ ดานการแพทยและสาธารณสุข และดานสังคมศาสตร ดานละสามคน” 1) เห็นดวยกับขอเสนอ 2) เห็นดวยกับรางเดิม 3) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน.................................................................................. .............................................................................................................................. 2.6 ประเด็นที่ 6 เรื่องสํานักงานเลขานุการ ขอเสนอ : ใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เปนสํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการ 1) เห็นดวยกับขอเสนอ 2) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน.................................................................................. .............................................................................................................................. 2.7 ประเด็นที่ 7 เรื่องกองทุนสรางเสริมความสัมพันธที่ดในระบบบริการสาธารณสุข (หมวด 3) ี ขอเสนอ : หลักการเรื่องการจายเงินสมทบควรมีความเทาเทียมกัน โดยแหลงที่มาของ เงินกองทุน ควรมาจาก 1.เงินที่มาจากกองทุนประกันสังคม , กองทุนตามมาตรา 41 แหง พรบ.หลักประกัน สุขภาพ และกองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาลของขาราชการ โดยการจายเงินสมทบใหมีสัดสวนที่เทาเทียมกัน ทั้ง 3 กองทุน 2. โรงพยาบาลเอกชน ใหจายเงินสมทบในอัตราที่ใกลเคียงกับ 3 กองทุน 3. คลินิก ใหกําหนดเปนบทเฉพาะกาลโดยใหเขาสูระบบภายหลัง และการจายเงิน สมทบของคลินกจะเรียกเก็บเปนคาธรรมเนียมรายป ิ 1) เห็นดวยกับขอเสนอ 2) เห็นดวยกับรางเดิม 3) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน.................................................................................. ..............................................................................................................................
  • 9. สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ 2.8 ประเด็นที่ 8 เรื่องการพิจารณาจายเงินชวยเหลือเบื้องตนและเงินชดเชย (หมวด 4) ขอเสนอ : 1. การพิจารณาจายเงินชวยเหลือเบื้องตน ควรมีคณะอนุกรรมการพิจารณาจายเงิน ชวยเหลือเบื้องตน ซึ่งมีสัดสวนเทากันระหวางผูประกอบวิชาชีพและผูเสียหาย 1) เห็นดวยกับขอเสนอ 2) เห็นดวยกับรางเดิม 3) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน.................................................................................. .............................................................................................................................. 2. การพิจารณาจายเงินชดเชย ควรมีคณะอนุกรรมการพิจารณาจายเงินชดเชย ซึ่งมี สัดสวนเทากันระหวางผูประกอบวิชาชีพและผูเสียหาย และมีผูทรงคุณวุฒิดานกฎหมายเพื่อชวยพิจารณา ประเด็นขอกฎหมาย 1) เห็นดวยกับขอเสนอ 2) เห็นดวยกับรางเดิม 3) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน.................................................................................. .............................................................................................................................. 3. ใหแกไขขอความในมาตรา 33 ในเรื่องการทําสัญญาประนีประนอมยอมความ เมื่อรับเงินชดเชยไปแลว “เปนการทําสัญญาประนีประนอมยอมความเพื่อยุติการดําเนินคดี” โดยในสัญญา ประนีประนอมยอมความดังกลาวควรมีเนื้อหาที่กําหนดใหผูเสียหายยินดีที่จะยุติการฟองคดีทางแพงและ อาญา 1) เห็นดวยกับขอเสนอ 2) เห็นดวยกับรางเดิม 3) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน.................................................................................. .............................................................................................................................. 2.9 ประเด็นที่ 9 เรื่องการฟองคดีอาญาและบทกําหนดโทษ (หมวด 7) ขอเสนอ : 1. ในหลักการเมื่อรับเงินไปแลวควรยุตการฟองคดีทางแพงและอาญา และเพื่อ ิ คลายความกังวลใจของทั้ง 2 ฝาย ในสัญญาประนีประนอมยอมความควรกําหนดวา เมื่อรับเงินชวยเหลือไป แลวก็จะไมมการฟองคดีทางแพงและอาญาตอไปอีก ี 1) เห็นดวยกับขอเสนอ 2) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน.................................................................................. ..............................................................................................................................
  • 10. สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ 2. เนื่องจากในทางกฎหมายจะยุติไดเฉพาะคดีแพง แตทางอาญาผูใหบริการ สาธารณสุขจะไดประโยชนในการพิจารณาคดีในชั้นศาล จึงใหคงมาตรา 45 ไวตามเดิม 1) เห็นดวยกับขอเสนอ 2) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน.................................................................................. .............................................................................................................................. 2.10 ประเด็นที่ 10 เรื่องการแตงตั้งกรรมการในบทเฉพาะกาล (มาตรา 50) ขอเสนอ : ใหใชกรรมการโดยตําแหนงตามมาตรา 7(1) และ (2) ในการดําเนินการ ในเบื้องตน 1) เห็นดวยกับขอเสนอ 2) เห็นดวยกับรางเดิม 3) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน.................................................................................. .............................................................................................................................. 2.11 ประเด็นที่ 11 เรื่องการไกลเกลี่ยและการสรางเสริมความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข (หมวด 5) ขอเสนอ : ใหตัดหมวดการไกลเกลียและการสรางเสริมความสัมพันธที่ดในระบบบริการ ่ ี สาธารณสุข ออก 1) เห็นดวยกับขอเสนอ 2) เห็นดวยกับรางเดิม 3) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน.................................................................................. .............................................................................................................................. 2.12 ประเด็นที่ 12 เรื่องการพัฒนาระบบความปลอดภัยและปองกันความเสียหาย (หมวด 6) ขอเสนอ : 1. การพัฒนาระบบความปลอดภัยและปองกันความเสียหายเปนหลักการสําคัญ ของกฎหมายฉบับนี้ จึงขอใหมีการกําหนดเรื่องนี้และใหสถานพยาบาลสงรายงานเพื่อปรับปรุงแกไข และใน ขณะเดียวกันใหมีการแจงหนวยงานที่รับผิดชอบ เพื่อทําแผนเรื่องการพัฒนาระบบความปลอดภัย และปองกันความเสียหาย เพื่อเปนประโยชนตอผูปวย 1) เห็นดวยกับขอเสนอ 2) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน.................................................................................. ..............................................................................................................................
  • 11. สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ 2. เสนอใหตดมาตรา 42 วรรคสอง และมาตรา 44 ออก ั 1) เห็นดวยกับขอเสนอ 2) ไมเห็นดวย ควรแกไขเปน.................................................................................. ..............................................................................................................................