SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 10
Descargar para leer sin conexión
ใบความรู้ ที 1.1
                                     เรือง กล้ องจุลทรรศน์

           ในปั จจุบนกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงได้รับการพัฒนาให้มีประสิ ทธิ ภาพดียงขึนกว่าในอดีต
                    ั                                                         ิ
                                          ํ
กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงทีดีในปั จจุบน มีกาลังขยายประมาณ 2,000 เท่า เป็ นกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง
                                    ั
แบบเชิงประกอบในทีนีจะกล่าวถึงกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงเพียง 2 ชนิด คือ
           1. กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบเชิงประกอบ (compound light microscope) เป็ นกล้อง
                                            ํ
จุลทรรศน์ชนิดทีใช้เลนส์หลายอันและมีกาลังขยายต่างๆ กันจะเห็นภาพวัตถุได้โดยมีการสะท้อนแสง
จากวัตถุเข้าสู่ เลนส์ ประกอบด้วย เลนส์ 2 ชุด คือ เลนส์ใกล้วตถุ (objective lens) และเลนส์ใกล้
                                                           ั
                                                                                       ั ั
ตา (ocular lens หรื อ eyepiece) กําลังขยายของภาพคือ ผลคูณของกําลังขยายของเลนส์ใกล้วตถุกบ
กําลังขยายของเลนส์ใกล้ตา ความสามารถในการแจกแจงรายละเอียดของภาพของกล้องจุลทรรศน์
       ่ ั
ขึนอยูกบคุณสมบัติของเลนส์ และแสงต้นกําเนิด




                     ภาพกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบเชิงประกอบชนิ ดต่างๆ
                             ทีมา : http://www.ponpe.com/index
ํ
        2. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนเป็ นกล้องจุลทรรศน์ทีมีกาลังขยายสู งมาก เพราะใช้ลาแสง
                                                                                    ํ
อิเล็กตรอนแทนแสงปกติ และใช้สนามแม่เหล็กไฟฟ้ าแทนเลนส์แก้ว เป็ นกล้องทีใช้ศึกษาโครงสร้าง
และส่ วนประกอบของเซลล์ได้อย่างละเอียด แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
            2.1 กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่ องผ่าน (transmission electron microscope หรื อ
TEM) กล้องจุลทรรศน์ชนิดนีมีราคาแพงมาก และการใช้งานจะซับซ้อนมากกว่ากล้องจุลทรรศน์ที
                                                           ่
กล่าวมาข้างต้น โดยใช้อิเล็กตรอนเป็ นแหล่งกําเนิ ดแสงและให้ผานตัวอย่างทีมีขนาดบางมาก ๆ ใช้แผ่น
แม่เหล็กแทนเลนส์แก้ว สามารถขยายภาพได้ 200,000 ถึง 500,000 เป็ นภาพ 2 มิติ (two dimensional
image) สามารถดูรายละเอียดภายในได้เช่นเดียวกับกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบเชิงประกอบ




        ภาพกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่ องผ่าน (transmission electron microscope)

        2.2 กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่ องกราด (Scanning electron microscope หรื อ
SEM) กล้องจุลทรรศน์ชนิ ดนีลําแสงอิเล็กตรอนจะตกกระทบเฉพาะผิวด้านนอกของวัตถุ ภาพทีเห็น
จะเห็นได้เฉพาะผิวนอก เป็ น 3 มิติ กล้องชนิดนีแม้วาจะมีความสามารถในการเห็นภาพตํากว่ากล้อง
จุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่ องผ่านและสามารถเห็นเฉพาะผิวนอกของวัตถุก็ตามแต่ภาพทีเห็นจะได้
รายละเอียดมากกว่าและชัดเจน ซึ งเป็ นประโยชน์อย่างยิงสําหรับนักชีววิทยาทีจะศึกษาโครงสร้าง
ของสิ งมีชีวตได้ดียงขึน
            ิ      ิ
ภาพกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่ องกราด (scanning electron microscope)

ส่ วนประกอบของกล้ องจุลทรรศน์
         ส่ วนทีเป็ นตัวกล้ อง ประกอบด้ วย
         1. ลํากล้อง (body tube) เป็ นส่ วนทีเชือมต่อระหว่างเลนส์ ใกล้ตากับเลนส์ใกล้วตถุ มีหน้าที
                                                                                      ั
ป้ องกันไม่ให้แสงจากภายนอกรบกวน
         2. แขน (arm) เป็ นส่ วนทีทําหน้าทียึดระหว่างลํากล้องและฐานกล้องเป็ นตําแหน่งทีใช้จบ ั
กล้องในขณะเคลือนย้ายกล้องจุลทรรศน์
         3. แท่นวางสไลด์ (stage) เป็ นแท่นทีใช้วางสไลด์ (slide) ตัวอย่างทีต้องการศึกษาทีตรงกลาง
แท่นวางสไลด์จะมีช่องให้แสงส่ องทะลุจากเลนส์รวมแสงไปยังเลนส์ใกล้วตถุและเลนส์ใกล้ตา
                                                                          ั
                                                                                  ่ ั
         4. ทีหนีบสไลด์ (stage clips) เป็ นแผ่นโลหะใช้จบหรื อหนีบสไลด์ให้ติดอยูกบแท่นวาง
                                                         ั
สไลด์ ป้ องกันไม่ให้แผ่นสไลด์เลือนหลุดจากแท่นวางสไลด์ แต่กล้องรุ่ นใหม่มกมีทียึดสไลด์ชนิดใช้
                                                                             ั
มือหมุนเลือนแผ่นสไลด์ (mechanical stage) แทนทีหนีบสไลด์ เพือควบคุมการเลือนสไลด์ไป
ทางด้านบน ด้านล่าง ด้านขวา หรื อด้านซ้าย
         5. ฐาน (base) เป็ นส่ วนล่างสุ ดของกล้องจุลทรรศน์ ทําหน้าทีรับนําหนักตัวกล้องทังหมด
         6. แป้ นหมุนเลนส์ (revolving nosepiece) เป็ นแป้ นกลมหมุนได้ซึงมีเลนส์ใกล้วตถุติดอยูทา
                                                                                        ั      ่ ํ
หน้าทีหมุนเปลียนกําลังขยายของเลนส์ใกล้วตถุตามทีต้องการ
                                              ั
สไลด์ (Slide) สไลด์ทวไปมีขนาด 7.5 cm X 2.5cm. หนาประมาณ 1-2 mm.
                               ั
             สไลด์ทาด้วยแก้วเพือทีเราจะสามารถใช้แสงจากทังด้านล่างและด้านบน
                     ํ
                                 ในการศึกษาได้อย่างสะดวก

                                    ภาพสไลด์แบบต่างๆ

วิธีการใช้ กล้ องจุลทรรศน์ ใช้ แสงแบบเชิ งประกอบ
         1. การเคลือนย้ ายกล้ องจุลทรรศน์
การเคลือนย้ายกล้องจุลทรรศน์ ทําได้โดยใช้มือข้างหนึงจับทีแขนกล้อง มืออีกข้างหนึงรอง
                                         ่
ใต้ฐานกล้อง รักษาระดับให้กล้องอยูในสภาพตังตรงตลอดการเคลือนย้าย เพือป้ องกันการลืนหลุดของ
เลนส์ใกล้ตา ไม่เคลือนย้ายกล้องจุลทรรศน์โดยการลากไปบนพืนโต๊ะ แรงกระเทือนอาจมีผลต่อระบบ
เลนส์ได้วางกล้องจุลทรรศน์ให้ห่างจากขอบโต๊ะปฏิบติการพอสมควรทีจะทํางานได้สะดวก
                                                         ั
           2. ก่ อนเริมใช้ กล้ องจุลทรรศน์ ให้ ตรวจสอบกล้ องจุลทรรศน์ ดังต่ อไปนี
                                             ่ ั
         - สายไฟถูกพับเก็บหรื อพันอยูกบฐานของกล้อง
                                                       ่
         - สวิตซ์เปิ ดปิ ดหลอดไฟทีฐานกล้องอยูในตําแหน่ง “ปิ ด”
                                                 ่ ํ
         - สวิตซ์เพิมความเข้มของแสงอยูตาแหน่งตําสุ ด ในกรณี ทีเป็ นกล้องจุลทรรศน์แบบใช้กระจก
                          ่
เงา กระจกต้องปรับอยูในแนวตังฉากเพือลดการเกาะของฝุ่ นในอากาศ
                                           ่
         - แท่นวางสไลด์ถูกเลือนอยูในตําแหน่งตําสุ ด ในกรณี ทีแท่นวางสไลด์มีตวเลือนสไลด์ตอง
                                                                                  ั      ้
ปรับตําแหน่งให้แกนของตัวเลือนสไลด์ยนออกมาจากแท่นวางสไลด์ให้นอยทีสุ ด
                                               ื                         ้
                                       ่
         - เลนส์รวมแสงถูกเลือนอยูในตําแหน่งตําสุ ด
                                 ํ                   ่
         - เลนส์ใกล้วตถุทีมีกาลังขยายตําสุ ดอยูในแนวเดียวกับเลนส์รวมแสง
                        ั
         - หากเป็ นกล้องจุลทรรศน์ทีสามารถปรับระยะห่างระหว่างตาและปรับแก้สายตาเอียงได้ ต้อง
                                    ั                                           ่
เลือนเลนส์ใกล้ตาให้เข้ามาใกล้กนมากทีสุ ดและหมุนให้ตวปรับแก้สายตาเอียงอยูในตําแหน่ง “ 0 ”
                                                           ั
ใบความรู้ ที 1.2
                                  เซลล์ และการค้ นพบเซลล์

      การค้ นพบเซลล์




                       อันตน ฟัน เลเวนฮุก (Anton Van Leewenhock)

        นักวิทยาศาสตร์ ชาวดัทซ์ เป็ นผูประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์เป็ นคนแรกคือ อันตน ฟัน
                                       ้
เลเวนฮุก (Anton Van Leewenhock) เขาใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องดูหยดนํา ทําให้คนพบสิ งมีชีวต
                                                                           ้         ิ
ทีไม่สามารถมองเห็นได้ดวยตาเปล่าเป็ นครังแรก
                        ้
รอเบิรต์ฮุก (Robert Hooke)

         พ.ศ. 2208 รอเบิรต์ ฮุก (Robert Hooke) นักพฤกษศาสตร์ ชาวอังกฤษได้ประดิษฐ์กล้อง
               ํ
จุลทรรศน์ทีมีกาลังขยายสู งประมาณ 270 เท่า มาใช้ศึกษาชินไม้คอร์ กทีผ่านเป็ นแผ่นบาง ๆ พบว่าชิน
ไม้คอร์ กประกอบไปด้วยช่องขนาดเล็กมากมายเรี ยงติดกัน ช่องเหล่านีมีลกษณะเป็ นรู ปสี เหลียมเกือบ
                                                                     ั
กลม เขาเรี ยกแต่ละช่องนันว่า เซลล์ (cell) ซึ งแปลว่า ห้องว่าง
ดิวโทรเชท์ (Dutrochet)

       พ.ศ. 2367 ดิวโทรเชท์ (Dutrochet) นักพฤกษศาสตร์ ชาวฝรังเศสได้ศึกษาเนือเยือพืช
และสัตว์พบว่าประกอบไปด้วยเซลล์
รอเบิรต์ บราวน์ ( Robert Brown)

      พ.ศ. 2374 รอเบิรต์ บราวน์ (Robert Brown) นักพฤกษศาสตร์ ชาวอังกฤษศึกษาเซลล์
                   ่
พบก้อนกลมเล็ก ๆ อยูตรงกลางเซลล์พืช เรี ยกก้อนกลมนันว่า นิวเคลียส
มัดทิอส ยาคบ ชไลเดน (Matthias Jakob Schleiden)
                           ั

       พ.ศ. 2381 มัดทิอส ยาคบ ชไลเดน (Matthias Jakob Schleiden) นักพฤกษศาสตร์
                       ั
ชาวเยอรมันค้นพบว่า เนือเยือพืชทุกชนิดประกอบไปด้วยเซลล์
เทโอดอร์ ชวานน์ (Theoder Schwann)

          พ.ศ. 2382 เทโอดอร์ ชวานน์ (Theoder Schwann) นักสัตวศาสตร์ ชาวเยอรมันพบว่าเนือเยือ
สั ตว์ ทุกชนิดประกอบด้วยเซลล์

      ชวานน์และชไลเดน จึงรวมกันตังทฤษฏีเซลล์ขึนมาซึ งมีใจความสําคัญว่า “สิ งมีชีวตทังหลาย
                                                                                 ิ
ประกอบด้ วยเซลล์ และเซลล์ คือหน่ วยพืนฐานของสิ งมีชีวิตทุกชนิด”

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
Aomiko Wipaporn
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
Sumarin Sanguanwong
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
Aomiko Wipaporn
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
medfai
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
Wichai Likitponrak
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
Ngamsiri Prasertkul
 
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
dnavaroj
 

La actualidad más candente (20)

เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
 
แผนBioม.6 1
แผนBioม.6 1แผนBioม.6 1
แผนBioม.6 1
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 

Destacado

ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
aonzaza123
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
Namkang Patchar
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
N'apple Naja
 
ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
Kittiya GenEnjoy
 
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
Kittiya GenEnjoy
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
Tatthep Deesukon
 
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
gasine092
 
บทที่ 3 ตอนที่ 4
บทที่ 3  ตอนที่ 4บทที่ 3  ตอนที่ 4
บทที่ 3 ตอนที่ 4
gasine092
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
pongrawee
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากร
Wan Ngamwongwan
 
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
sudsanguan
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
maleela
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
Tatthep Deesukon
 

Destacado (20)

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
 
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
 
การศึกษาระบบนิเวศ111
การศึกษาระบบนิเวศ111 การศึกษาระบบนิเวศ111
การศึกษาระบบนิเวศ111
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
บทที่ 3 ตอนที่ 4
บทที่ 3  ตอนที่ 4บทที่ 3  ตอนที่ 4
บทที่ 3 ตอนที่ 4
 
Biohmes55
Biohmes55Biohmes55
Biohmes55
 
การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร(TH)
การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร(TH) การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร(TH)
การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร(TH)
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
1403271111115157 14092117175445
1403271111115157 140921171754451403271111115157 14092117175445
1403271111115157 14092117175445
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากร
 
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
 

Similar a กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์

กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
Mew' Cifer
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
Mew' Cifer
 
ประวัติกล้อง
ประวัติกล้องประวัติกล้อง
ประวัติกล้อง
Kru_sawang
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
netzad
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
ssuser9219af
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
พัน พัน
 
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
parinya
 

Similar a กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์ (20)

Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
ประวัติกล้อง
ประวัติกล้องประวัติกล้อง
ประวัติกล้อง
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
Eyepresent
EyepresentEyepresent
Eyepresent
 
Eyepresent
EyepresentEyepresent
Eyepresent
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phography
 
9789740330196
97897403301969789740330196
9789740330196
 
แฟลช
แฟลชแฟลช
แฟลช
 
1
 1  1
1
 
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
 
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
 

Más de dnavaroj

บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
dnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 

Más de dnavaroj (20)

เอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisเอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysis
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
 
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
 
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2
 
Science.m.3.1
Science.m.3.1Science.m.3.1
Science.m.3.1
 
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
 
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 

กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์

  • 1. ใบความรู้ ที 1.1 เรือง กล้ องจุลทรรศน์ ในปั จจุบนกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงได้รับการพัฒนาให้มีประสิ ทธิ ภาพดียงขึนกว่าในอดีต ั ิ ํ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงทีดีในปั จจุบน มีกาลังขยายประมาณ 2,000 เท่า เป็ นกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง ั แบบเชิงประกอบในทีนีจะกล่าวถึงกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงเพียง 2 ชนิด คือ 1. กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบเชิงประกอบ (compound light microscope) เป็ นกล้อง ํ จุลทรรศน์ชนิดทีใช้เลนส์หลายอันและมีกาลังขยายต่างๆ กันจะเห็นภาพวัตถุได้โดยมีการสะท้อนแสง จากวัตถุเข้าสู่ เลนส์ ประกอบด้วย เลนส์ 2 ชุด คือ เลนส์ใกล้วตถุ (objective lens) และเลนส์ใกล้ ั ั ั ตา (ocular lens หรื อ eyepiece) กําลังขยายของภาพคือ ผลคูณของกําลังขยายของเลนส์ใกล้วตถุกบ กําลังขยายของเลนส์ใกล้ตา ความสามารถในการแจกแจงรายละเอียดของภาพของกล้องจุลทรรศน์ ่ ั ขึนอยูกบคุณสมบัติของเลนส์ และแสงต้นกําเนิด ภาพกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบเชิงประกอบชนิ ดต่างๆ ทีมา : http://www.ponpe.com/index
  • 2. 2. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนเป็ นกล้องจุลทรรศน์ทีมีกาลังขยายสู งมาก เพราะใช้ลาแสง ํ อิเล็กตรอนแทนแสงปกติ และใช้สนามแม่เหล็กไฟฟ้ าแทนเลนส์แก้ว เป็ นกล้องทีใช้ศึกษาโครงสร้าง และส่ วนประกอบของเซลล์ได้อย่างละเอียด แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท 2.1 กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่ องผ่าน (transmission electron microscope หรื อ TEM) กล้องจุลทรรศน์ชนิดนีมีราคาแพงมาก และการใช้งานจะซับซ้อนมากกว่ากล้องจุลทรรศน์ที ่ กล่าวมาข้างต้น โดยใช้อิเล็กตรอนเป็ นแหล่งกําเนิ ดแสงและให้ผานตัวอย่างทีมีขนาดบางมาก ๆ ใช้แผ่น แม่เหล็กแทนเลนส์แก้ว สามารถขยายภาพได้ 200,000 ถึง 500,000 เป็ นภาพ 2 มิติ (two dimensional image) สามารถดูรายละเอียดภายในได้เช่นเดียวกับกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบเชิงประกอบ ภาพกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่ องผ่าน (transmission electron microscope) 2.2 กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่ องกราด (Scanning electron microscope หรื อ SEM) กล้องจุลทรรศน์ชนิ ดนีลําแสงอิเล็กตรอนจะตกกระทบเฉพาะผิวด้านนอกของวัตถุ ภาพทีเห็น จะเห็นได้เฉพาะผิวนอก เป็ น 3 มิติ กล้องชนิดนีแม้วาจะมีความสามารถในการเห็นภาพตํากว่ากล้อง จุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่ องผ่านและสามารถเห็นเฉพาะผิวนอกของวัตถุก็ตามแต่ภาพทีเห็นจะได้ รายละเอียดมากกว่าและชัดเจน ซึ งเป็ นประโยชน์อย่างยิงสําหรับนักชีววิทยาทีจะศึกษาโครงสร้าง ของสิ งมีชีวตได้ดียงขึน ิ ิ
  • 3. ภาพกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่ องกราด (scanning electron microscope) ส่ วนประกอบของกล้ องจุลทรรศน์ ส่ วนทีเป็ นตัวกล้ อง ประกอบด้ วย 1. ลํากล้อง (body tube) เป็ นส่ วนทีเชือมต่อระหว่างเลนส์ ใกล้ตากับเลนส์ใกล้วตถุ มีหน้าที ั ป้ องกันไม่ให้แสงจากภายนอกรบกวน 2. แขน (arm) เป็ นส่ วนทีทําหน้าทียึดระหว่างลํากล้องและฐานกล้องเป็ นตําแหน่งทีใช้จบ ั กล้องในขณะเคลือนย้ายกล้องจุลทรรศน์ 3. แท่นวางสไลด์ (stage) เป็ นแท่นทีใช้วางสไลด์ (slide) ตัวอย่างทีต้องการศึกษาทีตรงกลาง แท่นวางสไลด์จะมีช่องให้แสงส่ องทะลุจากเลนส์รวมแสงไปยังเลนส์ใกล้วตถุและเลนส์ใกล้ตา ั ่ ั 4. ทีหนีบสไลด์ (stage clips) เป็ นแผ่นโลหะใช้จบหรื อหนีบสไลด์ให้ติดอยูกบแท่นวาง ั สไลด์ ป้ องกันไม่ให้แผ่นสไลด์เลือนหลุดจากแท่นวางสไลด์ แต่กล้องรุ่ นใหม่มกมีทียึดสไลด์ชนิดใช้ ั มือหมุนเลือนแผ่นสไลด์ (mechanical stage) แทนทีหนีบสไลด์ เพือควบคุมการเลือนสไลด์ไป ทางด้านบน ด้านล่าง ด้านขวา หรื อด้านซ้าย 5. ฐาน (base) เป็ นส่ วนล่างสุ ดของกล้องจุลทรรศน์ ทําหน้าทีรับนําหนักตัวกล้องทังหมด 6. แป้ นหมุนเลนส์ (revolving nosepiece) เป็ นแป้ นกลมหมุนได้ซึงมีเลนส์ใกล้วตถุติดอยูทา ั ่ ํ หน้าทีหมุนเปลียนกําลังขยายของเลนส์ใกล้วตถุตามทีต้องการ ั
  • 4. สไลด์ (Slide) สไลด์ทวไปมีขนาด 7.5 cm X 2.5cm. หนาประมาณ 1-2 mm. ั สไลด์ทาด้วยแก้วเพือทีเราจะสามารถใช้แสงจากทังด้านล่างและด้านบน ํ ในการศึกษาได้อย่างสะดวก ภาพสไลด์แบบต่างๆ วิธีการใช้ กล้ องจุลทรรศน์ ใช้ แสงแบบเชิ งประกอบ 1. การเคลือนย้ ายกล้ องจุลทรรศน์ การเคลือนย้ายกล้องจุลทรรศน์ ทําได้โดยใช้มือข้างหนึงจับทีแขนกล้อง มืออีกข้างหนึงรอง ่ ใต้ฐานกล้อง รักษาระดับให้กล้องอยูในสภาพตังตรงตลอดการเคลือนย้าย เพือป้ องกันการลืนหลุดของ เลนส์ใกล้ตา ไม่เคลือนย้ายกล้องจุลทรรศน์โดยการลากไปบนพืนโต๊ะ แรงกระเทือนอาจมีผลต่อระบบ เลนส์ได้วางกล้องจุลทรรศน์ให้ห่างจากขอบโต๊ะปฏิบติการพอสมควรทีจะทํางานได้สะดวก ั 2. ก่ อนเริมใช้ กล้ องจุลทรรศน์ ให้ ตรวจสอบกล้ องจุลทรรศน์ ดังต่ อไปนี ่ ั - สายไฟถูกพับเก็บหรื อพันอยูกบฐานของกล้อง ่ - สวิตซ์เปิ ดปิ ดหลอดไฟทีฐานกล้องอยูในตําแหน่ง “ปิ ด” ่ ํ - สวิตซ์เพิมความเข้มของแสงอยูตาแหน่งตําสุ ด ในกรณี ทีเป็ นกล้องจุลทรรศน์แบบใช้กระจก ่ เงา กระจกต้องปรับอยูในแนวตังฉากเพือลดการเกาะของฝุ่ นในอากาศ ่ - แท่นวางสไลด์ถูกเลือนอยูในตําแหน่งตําสุ ด ในกรณี ทีแท่นวางสไลด์มีตวเลือนสไลด์ตอง ั ้ ปรับตําแหน่งให้แกนของตัวเลือนสไลด์ยนออกมาจากแท่นวางสไลด์ให้นอยทีสุ ด ื ้ ่ - เลนส์รวมแสงถูกเลือนอยูในตําแหน่งตําสุ ด ํ ่ - เลนส์ใกล้วตถุทีมีกาลังขยายตําสุ ดอยูในแนวเดียวกับเลนส์รวมแสง ั - หากเป็ นกล้องจุลทรรศน์ทีสามารถปรับระยะห่างระหว่างตาและปรับแก้สายตาเอียงได้ ต้อง ั ่ เลือนเลนส์ใกล้ตาให้เข้ามาใกล้กนมากทีสุ ดและหมุนให้ตวปรับแก้สายตาเอียงอยูในตําแหน่ง “ 0 ” ั
  • 5. ใบความรู้ ที 1.2 เซลล์ และการค้ นพบเซลล์ การค้ นพบเซลล์ อันตน ฟัน เลเวนฮุก (Anton Van Leewenhock) นักวิทยาศาสตร์ ชาวดัทซ์ เป็ นผูประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์เป็ นคนแรกคือ อันตน ฟัน ้ เลเวนฮุก (Anton Van Leewenhock) เขาใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องดูหยดนํา ทําให้คนพบสิ งมีชีวต ้ ิ ทีไม่สามารถมองเห็นได้ดวยตาเปล่าเป็ นครังแรก ้
  • 6. รอเบิรต์ฮุก (Robert Hooke) พ.ศ. 2208 รอเบิรต์ ฮุก (Robert Hooke) นักพฤกษศาสตร์ ชาวอังกฤษได้ประดิษฐ์กล้อง ํ จุลทรรศน์ทีมีกาลังขยายสู งประมาณ 270 เท่า มาใช้ศึกษาชินไม้คอร์ กทีผ่านเป็ นแผ่นบาง ๆ พบว่าชิน ไม้คอร์ กประกอบไปด้วยช่องขนาดเล็กมากมายเรี ยงติดกัน ช่องเหล่านีมีลกษณะเป็ นรู ปสี เหลียมเกือบ ั กลม เขาเรี ยกแต่ละช่องนันว่า เซลล์ (cell) ซึ งแปลว่า ห้องว่าง
  • 7. ดิวโทรเชท์ (Dutrochet) พ.ศ. 2367 ดิวโทรเชท์ (Dutrochet) นักพฤกษศาสตร์ ชาวฝรังเศสได้ศึกษาเนือเยือพืช และสัตว์พบว่าประกอบไปด้วยเซลล์
  • 8. รอเบิรต์ บราวน์ ( Robert Brown) พ.ศ. 2374 รอเบิรต์ บราวน์ (Robert Brown) นักพฤกษศาสตร์ ชาวอังกฤษศึกษาเซลล์ ่ พบก้อนกลมเล็ก ๆ อยูตรงกลางเซลล์พืช เรี ยกก้อนกลมนันว่า นิวเคลียส
  • 9. มัดทิอส ยาคบ ชไลเดน (Matthias Jakob Schleiden) ั พ.ศ. 2381 มัดทิอส ยาคบ ชไลเดน (Matthias Jakob Schleiden) นักพฤกษศาสตร์ ั ชาวเยอรมันค้นพบว่า เนือเยือพืชทุกชนิดประกอบไปด้วยเซลล์
  • 10. เทโอดอร์ ชวานน์ (Theoder Schwann) พ.ศ. 2382 เทโอดอร์ ชวานน์ (Theoder Schwann) นักสัตวศาสตร์ ชาวเยอรมันพบว่าเนือเยือ สั ตว์ ทุกชนิดประกอบด้วยเซลล์ ชวานน์และชไลเดน จึงรวมกันตังทฤษฏีเซลล์ขึนมาซึ งมีใจความสําคัญว่า “สิ งมีชีวตทังหลาย ิ ประกอบด้ วยเซลล์ และเซลล์ คือหน่ วยพืนฐานของสิ งมีชีวิตทุกชนิด”