SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 58
Descargar para leer sin conexión
การส่ งตรวจทางรังสี วนิจฉัยในรู ปแบบใหม่
                     ิ
การส่ งตรวจทางรังสี วนิจฉัยในรูปแบบใหม่
                     ิ
   ระบบการตรวจทางรังสี วนิจฉัย ได้ พฒนาการบริการในรู ปแบบ
                             ิ        ั
    ดิจิตอลแทนการใช้ ฟิล์ ม การตรวจทุกอย่ างทีให้ บริการยังเหมือนเดิม
                                              ่
    แต่ เปลียนการดูภาพผ่ านจอคอมพิวเตอร์
            ่
การบริการ                               จานวนผู้ป่วย
เอกซเรย์ ทวไป (Conventional radiograph )
           ั่                                     ไม่ จากัด
เอกซเรย์ เคลือนที่ (Mobile x-ray )
              ่
    เอกซเรย์ ส่องตรวจ (Fluoroscopy )              5-6 ราย/วัน
เอกซเรย์ เต้ านม (Digital Mammography )
งานด้ านคลืนเสี ยงความถี่สูง ( Ultrasound )
           ่                                      30 part/เช้ า
                                                  5 part/บ่ าย
    เอกซเรย์ คอมพิวเตอร์ (Computed                ไม่ จากัด กรณีพร้ อม
    tomographic scan )/MRI
งานหัตถการพิเศษ-รังสี ร่วมรักษา (Intervention )   Biopsy 3 ราย/วัน
                                                  PTBD อังคาร,พุธ บ่ าย
                                                  Stereo breast
                                                  biopsy จันทร์ ,พฤหัส
   นางสมานลักษ์ วิรุณพันธ์
    นักรังสี การแพทย์ ชานาญการ
    กลุ่มงานรังสี วนิจฉัยฯ
                   ิ
    โรงพยาบาลมะเร็งอุดรธานี
รังสี วนิจฉัย (Diagnostic imaging )
           ิ


     งานด้ านรังสี เอกซ์
     •   เอกซเรย์ ทั่วไป (Conventional radiograph )
     •   เอกซเรย์ ภาพเคลือนไหว (Fluoroscopy )
                           ่
     •   เอกซเรย์ เคลือนที่ (Mobile x-ray )
                       ่
     •   เอกซเรย์ คอมพิวเตอร์ (Computed tomographic scan )
     •   เอกซเรย์ เต้ านม (Digital Mammography )
รังสี วนิจฉัย (Diagnostic imaging )
           ิ


     งานด้ านคลืนเสี ยงความถี่สูง ( Ultrasound )
                   ่
     งานด้ านคลืนแม่ เหล็กไฟฟ้ า ( Magnetic
                 ่
      resonance imaging)
     งานหัตถการพิเศษ-รังสี ร่วมรักษา (Intervention )
งานด้ านรังสี เอกซ์
งานด้ านรังสี เอกซ์
   เอกซเรย์ทวไป (Conventional radiograph )
              ั่
   ส่ งภาพเข้าระบบ PACS(ระบบการจัดเก็บภาพทางการแพทย์)
เอกซเรย์ทวไป (Conventional radiograph )
         ั่


    Skull ,
    mandible,
    paranasal sinus ,
    nasal bone ฯลฯ
เอกซเรย์ทวไป (Conventional radiograph )
         ั่

   Spine:
     c- spine ,
     T-spine ,
     L-spine ,
     L-S spine ,
     Sacral spine
     coccyx spine
เอกซเรย์ทวไป (Conventional radiograph )
         ั่

   Plain abdomen supine, upright,
   KUB
เอกซเรย์ทวไป (Conventional radiograph )
         ่ั

Upper Extremities
     hand ,
     forearm ,
     elbow jt. ,
     humurus ,
     shoulder
เอกซเรย์ทวไป (Conventional radiograph )
         ั่

   Lower Extremities
   • Foot ,
   • ankle jt. ,
   • leg ,
   • knee jt.
   • Femur
ขั้นตอนการส่ งตรวจ
 แพทย์ เขียนใบ request สี เหลือง โดยต้ องระบุ ชื่ อ – สกุล ,
     HN. ,อายุ , ส่ วนที่ตรวจ ,ประวัติสาคัญ(ติดสติ๊กเกอร์ )
 ส่ ง pt. มาที่แผนกรังสี วนิจฉัย
                            ิ
การเตรียมตัวก่อนตรวจ
   ผู้ป่วยต้ องไม่ ต้งครรภ์ ถ้ าตั้งครรภ์ ต้อง
                       ั
    แจ้ งเจ้ าหน้ าที่ทราบก่ อนตรวจ
   ใส่ ชุดโรงพยาบาลที่เตรียมไว้ ถอดเสื้อ-
    ชุ ดชั้นในที่มส่วนของโลหะ(เช่ นตะขอ
                   ี
    ,มุก) ออก
   ถอดอุปกรณ์ หรือเครื่องประดับออกจาก
    บริเวณที่จะถ่ ายภาพเอกซเรย์
1.2 เอกซเรย์ ภาพเคลือนไหว (Fluoroscopy)
                    ่
   เป็ นการตรวจพิเศษ ผู้ป่วยอาจจะได้ กน สวน หรือฉีด สารทึบรังสี เพือจะดู
                                          ิ                         ่
    อวัยวะต่ างๆ ได้ แก่
               • ระบบทางเดินอาหาร
               • ระบบปัสสาวะ
               • ดูอวัยวะทีเ่ ป็ นโพรง รู เป็ นต้น
การตรวจระบบทางเดินอาหาร
จะแบ่ งการตรวจออกเป็ นดังนี้
 Esophagogram

 Barium swallowing

 Upper GI.

 Long GI.

 Ba. Enema
1.2 เอกซเรย์ ภาพเคลือนไหว (Fluoroscopy)
                    ่

 ใบ Request สี เหลือง
 นัดตรวจทีห้องเบอร์ 6 รั งสี วนิจฉัย(ไม่ เกิน 2 สั ปดาห์ )
           ่                   ิ
การเตรียมตัวก่อนตรวจ
    Ba. Enema
    ผูป่วยต้องไม่ต้ งครรภ์
       ้             ั
   รับประทานอาหารอ่อนก่อนมาตรวจ 1-2 วัน
   รับประทานยาระบายก่อนวันตรวจ เช้า 2 เม็ด ตอนเย็น 2 เม็ด พร้อมยา
    ระบายน้ า 1 ขวด
   งดน้ า,อาหาร ,ยารับประทานทุกชนิดหลังเที่ยงคืน
   กรณี ผป่วย admit เช้าวันตรวจสวน SSE ก่อนส่ งมาตรวจ
           ู้
การเตรียมตัวก่อนตรวจ
                     Esophagogram
                     Barium swallowing
                     Upper GI.
                     Long GI.
   ผูป่วยต้องไม่ต้ งครรภ์
      ้              ั
   ถอดเสื้ อ-ชุดชั้นในที่มีส่วนของโลหะ(เช่นตะขอ,มุก) ออก
   ถอดอุปกรณ์ หรื อเครื่ องประดับออกจากบริ เวณที่จะถ่ายภาพเอกซเรย์
   เสื้ อที่มีกระดุมหรื อภาพ/ตัวหนังสื อสกรี นต้องถอดออก
   งดน้ า,อาหาร ,ยารับประทานทุกชนิดหลังเที่ยงคืน
ระบบทางเดินปัสสาวะ (IVP )
ระบบทางเดินปัสสาวะ (IVP )
   เป็ นการตรวจดูการทางานของไต ก่อนส่ งตรวจจะต้องมีผล BUN , Cr.
การเตรียมคนไข้
•ผู้ ป่วยต้ องไม่ ต้งครรภ์
                    ั
•ต้ องไม่ มีประวัติแพ้อาหารทะเล
•ตรวจสอบว่ ามีประวัติโรคประจาตัว เช่ น หอบหืด ,ความดัน,
หัวใจ ถ้ ามีโรคประจาตัวบางอย่ างจาเป็ นต้ องใช้ contrast พิเศษ
(non - ionic)
•มีผล BUN , Cr.
ขั้นตอนการส่ งตรวจ
   แพทย์ เขียนใบ request
    สี เหลือง และส่ งคนไข้ นัดตรวจ
    ทีกลุ่มงานรังสี วนิจฉัย
       ่             ิ
การเตรียมตัวก่อนตรวจ
   ระบบทางเดินปัสสาวะ (IVP )
•   งดน้า,อาหาร ,ยาทุกชนิดหลังเทียงคืน หรืออย่ างน้ อย 6 ชม.ก่ อนตรวจ
                                 ่
   รับประทานยาระบายก่อนวันตรวจ ตอนเย็น 2 เม็ด พร้ อมยาระบายน้า 1
    ขวด
เอกซเรย์ เคลือนที่ (Mobile x-ray )
             ่

         เป็ นการเอกซเรย์ ผ้ ูป่วยที่หอผู้ป่วย หรือ OR ซึ่ง ผู้ป่วยที่
          จะเอกซเรย์ ควรจะมีอาการหนักไม่ สามารถช่ วยเหลือตัวเอง
          ได้ เพราะการถ่ ายเอกซเรย์ นีภาพถ่ ายจะไม่ คมชัด และผู้ป่วย
                                        ้
          รอบข้ างจะได้ รับปริมาณรังสี โดยไม่ จาเป็ น
ขั้นตอนการส่ งตรวจ
    1. แพทย์ เขียนใบ request สี เหลือง หรือ
     พยาบาลเขียนแทนโดย ใช้ เป็ น รคส. ของแพทย์ ผ้ ส่ง
                                                  ู
     ตรวจ
    2. พยาบาลที่หอผู้ป่วยโทรตาม จนท. ที่
     1128,1127 นอกเวลาราชการ 1127 หรือ
     ตามมือถือเจ้ าหน้ าที่อยู่เวร on call
เอกซเรย์ เต้ านม (Digital Mammography)
เอกซเรย์ เต้ านม (Digital Mammography)
-เป็ นการถ่ ายภาพเต้ านม โดยใช้ ปริมาณรังสี ต่า ๆ
-สามารถแยกความแตกต่ างของไขมัน และเนือเยือชนิดต่ างๆ
                                                ้ ่
ของเต้ านมได้ ชัดเจน
- สามารถเห็นเนือเยือทีเ่ ป็ นมะเร็ง ระยะเริ่มต้ นได้ เป็ นอย่ างดี
                  ้ ่
- เป็ นเครื่องมือทีให้ ผลถูกต้ อง และแม่ นยาได้ สูงถึง 90 %
                   ่
การเตรียมตัวผู้ป่วย.
                          เช็ดล้ างสิ่ งสรกปรก โดยเฉพาะครีม
                           ทาผิว , หรือฝุ่ นแป้ งออกจากบริเวณ
                           เต้ านมและ รักแร้ ให้ สะอาด (กาจัด
                           artifact)
                          ถอดสร้ อยคอ,ต่ างหูออก
                          ถ้ าเลียงได้ ไม่ ควรทาช่ วงใกล้เป็ น
                                  ่
                           ประจาเดือน (เต้ านมคัดตึง)
ขั้นตอนการส่ งตรวจ
   1. แพทย์ เขียนใบ request สี ชมพู
   2. ส่ งคนไข้ ตรวจที่แผนกรังสี วนิจฉัย
                                   ิ



หมายเหตุ : เปาหมาย
             ้
      ตรวจได้ ครบ 100 %โดยไม่ นัด
II. การสร้ างภาพด้ วยคลืนเสี ยงความถีสูง
                        ่            ่
(Ultrasonography)
II. การสร้ างภาพด้ วยคลืนเสี ยงความถีสูง
                        ่            ่
(Ultrasonography)
          การตรวจอัลตร้าซาวด์แบ่งการตรวจออกเป็ นดังนี้
           Upper abdomen

           Lower abdomen

           Whole abdomen

           Thyriod

           Braest

           Doppler US
Ultrasonography
  การตรวจที่ไม่ตองเตรี ยมตัว
                ้
   Thyriod

   Braest

   Doppler US
การตรวจทีมีการเตรียมตัว
         ่
   Upper abdomen
 การเตรียมตัว
  งดอาหารและเครื่ องดืมทุกชนิดก่ อนการตรวจ 4-6 ชั่ วโมง
                       ่
 Lower abdomen

รับประทานอาหารได้ ตามปกติ
ดืมนา 4-5 แก้วก่อนตรวจประมาณ 2 ชั่วโมง(ห้ ามปัสสาวะก่อนตรวจ
  ่ ้
กรณีผ้ ูป่วยในให้ ดมนาประมาณ 06.00 น.)และจะตรวจได้ เมือ Pt. ปวดปัสสาวะ
                   ื่ ้                               ่
Whole abdomen


   งดอาหารทุกชนิดก่อนการตรวจ 4-6 ชัวโมง
                                       ่
   ดื่มน้ า 4-5 แก้วก่อนตรวจประมาณ 2 ชัวโมง(ห้ามปั สสาวะก่อนตรวจ
                                         ่
    กรณี คนไข้ในให้ดื่มน้ าประมาณ 06.00 น.)และจะตรวจได้เมื่อ คนไข้
    ปวดปัสสาวะ
ขั้นตอนการส่ งตรวจ


   แพทย์ เขียนใบ request สี เขียว โดยต้ องระบุ ชื่อ
    – สกุล , HN. ,อายุ , ส่ วนที่ตรวจ ,ประวัตสาคัญ
                                             ิ
   ส่ งคนไข้ ตรวจที่แผนกรังสี วนิจฉัย
                                ิ

หมายเหตุ : นัดไม่ เกิน 2 สั ปดาห์ หรือ สามารถ
  ตรวจได้ เลย
   นายชัยสุ นทร วิเศษนันท์
    นักรังสี การแพทย์ ชานาญการ
    กลุ่มงานรังสี วนิจฉัยฯ
                   ิ
    โรงพยาบาลมะเร็ งอุดรธานี
III. งานหัตถการพิเศษ -รังสี ร่วมรักษา (Intervention)
III. งานหัตถการพิเศษ -รังสี ร่วมรักษา
(Intervention)
   เป็ นการประยุกต์ งานทางวินิจฉัยโดยใช้ เครื่องมือทีมอยู่ มาทาให้ เกิด
                                                      ่ ี
    ประโยชน์ มากขึน
                  ้
         ด้ านวินิจฉัย เช่ น
         needle aspiration
         needle biopsy under
         US/CT/Fluoroscopy
         PTBD/PCN
         RFA
ขั้นตอนการส่ งตรวจ
needle biopsy under US/Fluoroscopy
, Stereotactic breast biopsy

   1. จะต้ องมีผล lab ที่เกียวข้ อง เช่ นPlain film ,
                              ่
    PT/PTT
    แพทย์เขียนใบ consult รังสี แพทย์
   ส่ งผู้ป่วย consult รังสี แพทย์ ทีแผนกรังสี วนิจฉัย
                                         ่         ิ
   แผนกรังสี วนิจฉัยจะนัด วันเวลาที่ ทาหัตถการ กับฝ่ ายที่ส่งมาตรวจ
                 ิ
ขั้นตอนการส่ งตรวจ
        needle aspiration
        needle biopsy under
        US/Fluoroscopy

ขั้นตอนการตรวจ
 เวลาการทาหัตถการ 11.00 – 12.00 น. (Pt.
    NPO หลัง 6.00 น.)
ขั้นตอนการส่ งตรวจ

      Stereotactic breast biopsy


ขั้นตอนการตรวจ
 เวลาการทาหัตถการ 13.00 น. (Pt. NPO หลัง
    8.00 น.)
การใส่ ท่อระบายนาดีในผู้ป่วยภาวะท่ อนาดีอุดตัน
                ้                    ้
PTBD : percutaneous biliary drainage
PCN: percutaneous nephostomy

อุปกรณ์ ทต้องเตรียมมาพร้ อมผู้ป่วยในวันทาหัตถการ
         ี่
   Set urine 1 set
   Set suture 1 set
   Urine bag 1 ถุง
ขั้นตอนการส่ งตรวจ
         PTBD/PCN/PCD

    จะต้ องมีผล lab ที่เกียวข้ อง เช่ นPlain film , PT/PTT
                               ่
   แพทย์ เจ้ าของไข้ เขียน consult
   ให้ pt. นาแฟมประวัตพร้ อมใบ consult มายืนที่ห้องหมายเลข 6
                  ้          ิ                   ่
   รังสีแพทย์ ประเมินสภาวะของ pt.
   แผนกนัดวันเวลาตรวจ โดยคนไข้ จะต้ อง Admit ก่ อนทา
ขั้นตอนการตรวจ
 แผนกรังสี วนิจฉัยจะนัดเวลากับ ward โดยจะทาช่ วงบ่ าย
             ิ
Radiofrequency Ablation; RFA

   RFA
    ใช้ ในการรักษามะเร็งตับ ทีไม่ สามารถทาการผ่ าตัดได้ และให้
                               ่
    ผลการรักษาทีดี สะดวก รวดเร็วและมีภาวะแทรกซ้ อนต่า โดยแพทย์
                  ่
    จะสอดเข็มเข้ าไปในก้ อนมะเร็ง และปล่ อยคลืนพลังงาน RF เข้ าไป
                                              ่
    จนทาให้ เกิดความร้ อน และความร้ อนนีเ้ องทาให้ เกิดการทาลาย
    ก้อนมะเร็ง
Radiofrequency Ablation; RFA
Radiofrequency Ablation; RFA
ขั้นตอนการส่ งตรวจ
RFA
    จะต้ องมีผล lab ทีเ่ กียวข้ อง เช่ นPlain film ,
                             ่
    PT/PTT/LFT/tumor marker และอืนๆ ตามแพทย์ สั่ง  ่
   แพทย์ เจ้ าของไข้ เขียน consult
   ให้ pt. นาแฟ้ มประวัติพร้ อมใบ consult มายืนทีห้องหมายเลข 6
                                                  ่ ่
   รังสี แพทย์ ประเมินสภาวะของ pt.
   แผนกนัดวันเวลาตรวจ โดยคนไข้ จะต้ อง Admit ก่ อนทา
ขั้นตอนการตรวจ
 แผนกรังสี วนิจฉัยจะนัดเวลากับ ward โดยจะทาช่ วงบ่ ายทีห้องผ่ าตัด
             ิ                                          ่
การส่ งตรวจเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์
    (CT scan ) /คลืนแม่ เหล็กไฟฟา(MRI)
                          ่         ้
   ปัจจุบันศูนย์ มะเร็งอุดรธานียงไม่ มเี ครื่องเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์ (CT
                                 ั
    scan ) ของตนเอง กรณีผ้ ูป่วยจาเป็ นต้ องได้ รับการตรวจเอกซเรย์
    คอมพิวเตอร์ จะส่ งตรวจทีโรงพยาบาลค่ ายประจักษ์ ศิลปาคม หรือต้ น
                              ่
    สั งกัดเดิมตามสิ ทธิบัตร
การส่ งตรวจเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์
(CT scan ) /คลืนแม่ เหล็กไฟฟ้ า(MRI)
                      ่

   ขั้นตอนการส่ งตรวจ
    • แพทย์เขียนใบ request
         ชื่อ สกุล HN ของคนไข้
             -มีผลlab ค่ า Bun/ Cr ที่ปกติ
            - ประวัติการแพ้อาหารทะเล
             -โรคประจาตัวอืนๆ หอบหืด ความดัน
                            ่
    •   ตรวจสอบสิ ทธิการรักษา (สิ ทธิ ปกส รพ.ค่ ายส่ งหนังสื อส่ งตัวกลับต้ น
        สั งกัด)
การส่ งตรวจเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์
(CT scan ) /คลืนแม่ เหล็กไฟฟา(MRI)
                      ่         ้
    •   เจ้ าหน้ าที่เอกซเรย์ ประสานศูนย์ CT/MRI รับคนไข้ ไปตรวจ
    •   รังสี แพทย์ แปลผล CT (Report.)
    •   รับผลตรวจ 2-3 วันถัดไป (ยกเว้ นกรณี Emergency )
Picture Archiving and
Communication System
   PACS ย่อมาจากคาว่า Picture Archiving and
    Communication System
Picture Archiving and
Communication System
                  คือ ระบบที่ใช้ ในการจัดเก็บรู ปภาพ
                   ทางการแพทย์ ( Medical
                   Images) และรับ-ส่ ง
                   ข้ อมูลภาพ ในรู ปแบบ Digital
การดูภาพผ่ าน ระบบ PACS
การรับผลตรวจ
   ผลตรวจ Report หลังตรวจเสร็จใส่ แฟ้ ม ของผู้ป่วย
   ผลตรวจทีเ่ ป็ นภาพ ดูผ่านระบบ LAN
การยืมผลการตรวจไปรักษาต่อ
   ผลตรวจทีเ่ ป็ นภาพถ่ ายรังสี รู ปแบบ CD
ขอบคุณครับ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)piyarat wongnai
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กAiman Sadeeyamu
 
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดtechno UCH
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringpiyarat wongnai
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม  การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม Parinya Damrongpokkapun
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจKrongdai Unhasuta
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำPrathan Somrith
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceBasic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceLoveis1able Khumpuangdee
 
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckdคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CkdTuang Thidarat Apinya
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักAiman Sadeeyamu
 

La actualidad más candente (20)

Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
 
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
 
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม  การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
 
Life support procedures
Life support proceduresLife support procedures
Life support procedures
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำ
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
Orientation 551495 : Primary Medical Care
Orientation 551495 : Primary Medical CareOrientation 551495 : Primary Medical Care
Orientation 551495 : Primary Medical Care
 
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceBasic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
 
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckdคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
 
Management of COPD
Management of COPDManagement of COPD
Management of COPD
 

Similar a รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์

Gynecologic Malignancy
Gynecologic MalignancyGynecologic Malignancy
Gynecologic Malignancyanucha98
 
กล้องแคปซูล
กล้องแคปซูลกล้องแคปซูล
กล้องแคปซูลPanjaree Seenual
 
กล้องแคปซูล
กล้องแคปซูลกล้องแคปซูล
กล้องแคปซูลkhwanjai janarb
 
กล้องแคปซูล
กล้องแคปซูลกล้องแคปซูล
กล้องแคปซูลkhwanjai janarb
 
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)ไทเก็ก นครสวรรค์
 
TAEM10:Airway care
TAEM10:Airway careTAEM10:Airway care
TAEM10:Airway caretaem
 
NTstep3round2 9_jan2554
NTstep3round2 9_jan2554NTstep3round2 9_jan2554
NTstep3round2 9_jan2554vora kun
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...Loveis1able Khumpuangdee
 
คูมูมอืือแนวทางการดําําเนนิินงานดานวัณั โรค คมู อื แนวทางการดาํ เนินงานด...
คูมูมอืือแนวทางการดําําเนนิินงานดานวัณั โรค คมู อื แนวทางการดาํ เนินงานด...คูมูมอืือแนวทางการดําําเนนิินงานดานวัณั โรค คมู อื แนวทางการดาํ เนินงานด...
คูมูมอืือแนวทางการดําําเนนิินงานดานวัณั โรค คมู อื แนวทางการดาํ เนินงานด...Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือแนวทางการดําเนินงานด้านโรควัณโรค สำนักการแพทย์ กทม.
คู่มือแนวทางการดําเนินงานด้านโรควัณโรค  สำนักการแพทย์ กทม. คู่มือแนวทางการดําเนินงานด้านโรควัณโรค  สำนักการแพทย์ กทม.
คู่มือแนวทางการดําเนินงานด้านโรควัณโรค สำนักการแพทย์ กทม. Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
interesting case
interesting  caseinteresting  case
interesting caseSHAMONBEST1
 
Osce examination si116
Osce examination si116Osce examination si116
Osce examination si116vora kun
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง
โรคมะเร็งกล่องเสียงโรคมะเร็งกล่องเสียง
โรคมะเร็งกล่องเสียงWan Ngamwongwan
 

Similar a รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (20)

Gynecologic Malignancy
Gynecologic MalignancyGynecologic Malignancy
Gynecologic Malignancy
 
กล้องแคปซูล
กล้องแคปซูลกล้องแคปซูล
กล้องแคปซูล
 
กล้องแคปซูล
กล้องแคปซูลกล้องแคปซูล
กล้องแคปซูล
 
กล้องแคปซูล
กล้องแคปซูลกล้องแคปซูล
กล้องแคปซูล
 
Example osce
Example osceExample osce
Example osce
 
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
 
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
 
TAEM10:Airway care
TAEM10:Airway careTAEM10:Airway care
TAEM10:Airway care
 
NTstep3round2 9_jan2554
NTstep3round2 9_jan2554NTstep3round2 9_jan2554
NTstep3round2 9_jan2554
 
Breast cancer
Breast cancerBreast cancer
Breast cancer
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
คูมูมอืือแนวทางการดําําเนนิินงานดานวัณั โรค คมู อื แนวทางการดาํ เนินงานด...
คูมูมอืือแนวทางการดําําเนนิินงานดานวัณั โรค คมู อื แนวทางการดาํ เนินงานด...คูมูมอืือแนวทางการดําําเนนิินงานดานวัณั โรค คมู อื แนวทางการดาํ เนินงานด...
คูมูมอืือแนวทางการดําําเนนิินงานดานวัณั โรค คมู อื แนวทางการดาํ เนินงานด...
 
คู่มือแนวทางการดําเนินงานด้านโรควัณโรค สำนักการแพทย์ กทม.
คู่มือแนวทางการดําเนินงานด้านโรควัณโรค  สำนักการแพทย์ กทม. คู่มือแนวทางการดําเนินงานด้านโรควัณโรค  สำนักการแพทย์ กทม.
คู่มือแนวทางการดําเนินงานด้านโรควัณโรค สำนักการแพทย์ กทม.
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
 
interesting case
interesting  caseinteresting  case
interesting case
 
Cpg cervical cancer
Cpg cervical cancerCpg cervical cancer
Cpg cervical cancer
 
Osce examination si116
Osce examination si116Osce examination si116
Osce examination si116
 
Sars
Sars Sars
Sars
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง
โรคมะเร็งกล่องเสียงโรคมะเร็งกล่องเสียง
โรคมะเร็งกล่องเสียง
 

Más de techno UCH

ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557techno UCH
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม techno UCH
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนtechno UCH
 
Breast presentation
Breast presentation Breast presentation
Breast presentation techno UCH
 
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola techno UCH
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนtechno UCH
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์techno UCH
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition techno UCH
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุtechno UCH
 
เห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยเห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยtechno UCH
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นtechno UCH
 
Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring techno UCH
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา techno UCH
 
Emergency rt for nurse
Emergency rt for nurseEmergency rt for nurse
Emergency rt for nursetechno UCH
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 

Más de techno UCH (20)

ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
 
Breast presentation
Breast presentation Breast presentation
Breast presentation
 
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียน
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
 
เห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยเห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทย
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
Concept pc.
Concept pc.Concept pc.
Concept pc.
 
Case study
Case studyCase study
Case study
 
Assesment
AssesmentAssesment
Assesment
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
 
Emergency rt for nurse
Emergency rt for nurseEmergency rt for nurse
Emergency rt for nurse
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 

รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์

  • 1.
  • 3. การส่ งตรวจทางรังสี วนิจฉัยในรูปแบบใหม่ ิ  ระบบการตรวจทางรังสี วนิจฉัย ได้ พฒนาการบริการในรู ปแบบ ิ ั ดิจิตอลแทนการใช้ ฟิล์ ม การตรวจทุกอย่ างทีให้ บริการยังเหมือนเดิม ่ แต่ เปลียนการดูภาพผ่ านจอคอมพิวเตอร์ ่
  • 4. การบริการ จานวนผู้ป่วย เอกซเรย์ ทวไป (Conventional radiograph ) ั่ ไม่ จากัด เอกซเรย์ เคลือนที่ (Mobile x-ray ) ่ เอกซเรย์ ส่องตรวจ (Fluoroscopy ) 5-6 ราย/วัน เอกซเรย์ เต้ านม (Digital Mammography ) งานด้ านคลืนเสี ยงความถี่สูง ( Ultrasound ) ่ 30 part/เช้ า 5 part/บ่ าย เอกซเรย์ คอมพิวเตอร์ (Computed ไม่ จากัด กรณีพร้ อม tomographic scan )/MRI งานหัตถการพิเศษ-รังสี ร่วมรักษา (Intervention ) Biopsy 3 ราย/วัน PTBD อังคาร,พุธ บ่ าย Stereo breast biopsy จันทร์ ,พฤหัส
  • 5. นางสมานลักษ์ วิรุณพันธ์ นักรังสี การแพทย์ ชานาญการ กลุ่มงานรังสี วนิจฉัยฯ ิ โรงพยาบาลมะเร็งอุดรธานี
  • 6. รังสี วนิจฉัย (Diagnostic imaging ) ิ  งานด้ านรังสี เอกซ์ • เอกซเรย์ ทั่วไป (Conventional radiograph ) • เอกซเรย์ ภาพเคลือนไหว (Fluoroscopy ) ่ • เอกซเรย์ เคลือนที่ (Mobile x-ray ) ่ • เอกซเรย์ คอมพิวเตอร์ (Computed tomographic scan ) • เอกซเรย์ เต้ านม (Digital Mammography )
  • 7. รังสี วนิจฉัย (Diagnostic imaging ) ิ  งานด้ านคลืนเสี ยงความถี่สูง ( Ultrasound ) ่  งานด้ านคลืนแม่ เหล็กไฟฟ้ า ( Magnetic ่ resonance imaging)  งานหัตถการพิเศษ-รังสี ร่วมรักษา (Intervention )
  • 9. งานด้ านรังสี เอกซ์ เอกซเรย์ทวไป (Conventional radiograph ) ั่ ส่ งภาพเข้าระบบ PACS(ระบบการจัดเก็บภาพทางการแพทย์)
  • 10. เอกซเรย์ทวไป (Conventional radiograph ) ั่ Skull , mandible, paranasal sinus , nasal bone ฯลฯ
  • 11. เอกซเรย์ทวไป (Conventional radiograph ) ั่ Spine: c- spine , T-spine , L-spine , L-S spine , Sacral spine coccyx spine
  • 12. เอกซเรย์ทวไป (Conventional radiograph ) ั่  Plain abdomen supine, upright,  KUB
  • 13. เอกซเรย์ทวไป (Conventional radiograph ) ่ั Upper Extremities hand , forearm , elbow jt. , humurus , shoulder
  • 14. เอกซเรย์ทวไป (Conventional radiograph ) ั่ Lower Extremities • Foot , • ankle jt. , • leg , • knee jt. • Femur
  • 15. ขั้นตอนการส่ งตรวจ  แพทย์ เขียนใบ request สี เหลือง โดยต้ องระบุ ชื่ อ – สกุล , HN. ,อายุ , ส่ วนที่ตรวจ ,ประวัติสาคัญ(ติดสติ๊กเกอร์ )  ส่ ง pt. มาที่แผนกรังสี วนิจฉัย ิ
  • 16. การเตรียมตัวก่อนตรวจ  ผู้ป่วยต้ องไม่ ต้งครรภ์ ถ้ าตั้งครรภ์ ต้อง ั แจ้ งเจ้ าหน้ าที่ทราบก่ อนตรวจ  ใส่ ชุดโรงพยาบาลที่เตรียมไว้ ถอดเสื้อ- ชุ ดชั้นในที่มส่วนของโลหะ(เช่ นตะขอ ี ,มุก) ออก  ถอดอุปกรณ์ หรือเครื่องประดับออกจาก บริเวณที่จะถ่ ายภาพเอกซเรย์
  • 17. 1.2 เอกซเรย์ ภาพเคลือนไหว (Fluoroscopy) ่  เป็ นการตรวจพิเศษ ผู้ป่วยอาจจะได้ กน สวน หรือฉีด สารทึบรังสี เพือจะดู ิ ่ อวัยวะต่ างๆ ได้ แก่ • ระบบทางเดินอาหาร • ระบบปัสสาวะ • ดูอวัยวะทีเ่ ป็ นโพรง รู เป็ นต้น
  • 19. 1.2 เอกซเรย์ ภาพเคลือนไหว (Fluoroscopy) ่  ใบ Request สี เหลือง  นัดตรวจทีห้องเบอร์ 6 รั งสี วนิจฉัย(ไม่ เกิน 2 สั ปดาห์ ) ่ ิ
  • 20. การเตรียมตัวก่อนตรวจ Ba. Enema  ผูป่วยต้องไม่ต้ งครรภ์ ้ ั  รับประทานอาหารอ่อนก่อนมาตรวจ 1-2 วัน  รับประทานยาระบายก่อนวันตรวจ เช้า 2 เม็ด ตอนเย็น 2 เม็ด พร้อมยา ระบายน้ า 1 ขวด  งดน้ า,อาหาร ,ยารับประทานทุกชนิดหลังเที่ยงคืน  กรณี ผป่วย admit เช้าวันตรวจสวน SSE ก่อนส่ งมาตรวจ ู้
  • 21. การเตรียมตัวก่อนตรวจ Esophagogram Barium swallowing Upper GI. Long GI.  ผูป่วยต้องไม่ต้ งครรภ์ ้ ั  ถอดเสื้ อ-ชุดชั้นในที่มีส่วนของโลหะ(เช่นตะขอ,มุก) ออก  ถอดอุปกรณ์ หรื อเครื่ องประดับออกจากบริ เวณที่จะถ่ายภาพเอกซเรย์  เสื้ อที่มีกระดุมหรื อภาพ/ตัวหนังสื อสกรี นต้องถอดออก  งดน้ า,อาหาร ,ยารับประทานทุกชนิดหลังเที่ยงคืน
  • 23. ระบบทางเดินปัสสาวะ (IVP )  เป็ นการตรวจดูการทางานของไต ก่อนส่ งตรวจจะต้องมีผล BUN , Cr. การเตรียมคนไข้ •ผู้ ป่วยต้ องไม่ ต้งครรภ์ ั •ต้ องไม่ มีประวัติแพ้อาหารทะเล •ตรวจสอบว่ ามีประวัติโรคประจาตัว เช่ น หอบหืด ,ความดัน, หัวใจ ถ้ ามีโรคประจาตัวบางอย่ างจาเป็ นต้ องใช้ contrast พิเศษ (non - ionic) •มีผล BUN , Cr.
  • 24. ขั้นตอนการส่ งตรวจ  แพทย์ เขียนใบ request สี เหลือง และส่ งคนไข้ นัดตรวจ ทีกลุ่มงานรังสี วนิจฉัย ่ ิ
  • 25. การเตรียมตัวก่อนตรวจ ระบบทางเดินปัสสาวะ (IVP ) • งดน้า,อาหาร ,ยาทุกชนิดหลังเทียงคืน หรืออย่ างน้ อย 6 ชม.ก่ อนตรวจ ่  รับประทานยาระบายก่อนวันตรวจ ตอนเย็น 2 เม็ด พร้ อมยาระบายน้า 1 ขวด
  • 26. เอกซเรย์ เคลือนที่ (Mobile x-ray ) ่  เป็ นการเอกซเรย์ ผ้ ูป่วยที่หอผู้ป่วย หรือ OR ซึ่ง ผู้ป่วยที่ จะเอกซเรย์ ควรจะมีอาการหนักไม่ สามารถช่ วยเหลือตัวเอง ได้ เพราะการถ่ ายเอกซเรย์ นีภาพถ่ ายจะไม่ คมชัด และผู้ป่วย ้ รอบข้ างจะได้ รับปริมาณรังสี โดยไม่ จาเป็ น
  • 27. ขั้นตอนการส่ งตรวจ  1. แพทย์ เขียนใบ request สี เหลือง หรือ พยาบาลเขียนแทนโดย ใช้ เป็ น รคส. ของแพทย์ ผ้ ส่ง ู ตรวจ  2. พยาบาลที่หอผู้ป่วยโทรตาม จนท. ที่ 1128,1127 นอกเวลาราชการ 1127 หรือ ตามมือถือเจ้ าหน้ าที่อยู่เวร on call
  • 29. เอกซเรย์ เต้ านม (Digital Mammography) -เป็ นการถ่ ายภาพเต้ านม โดยใช้ ปริมาณรังสี ต่า ๆ -สามารถแยกความแตกต่ างของไขมัน และเนือเยือชนิดต่ างๆ ้ ่ ของเต้ านมได้ ชัดเจน - สามารถเห็นเนือเยือทีเ่ ป็ นมะเร็ง ระยะเริ่มต้ นได้ เป็ นอย่ างดี ้ ่ - เป็ นเครื่องมือทีให้ ผลถูกต้ อง และแม่ นยาได้ สูงถึง 90 % ่
  • 30. การเตรียมตัวผู้ป่วย.  เช็ดล้ างสิ่ งสรกปรก โดยเฉพาะครีม ทาผิว , หรือฝุ่ นแป้ งออกจากบริเวณ เต้ านมและ รักแร้ ให้ สะอาด (กาจัด artifact)  ถอดสร้ อยคอ,ต่ างหูออก  ถ้ าเลียงได้ ไม่ ควรทาช่ วงใกล้เป็ น ่ ประจาเดือน (เต้ านมคัดตึง)
  • 31. ขั้นตอนการส่ งตรวจ  1. แพทย์ เขียนใบ request สี ชมพู  2. ส่ งคนไข้ ตรวจที่แผนกรังสี วนิจฉัย ิ หมายเหตุ : เปาหมาย ้ ตรวจได้ ครบ 100 %โดยไม่ นัด
  • 32. II. การสร้ างภาพด้ วยคลืนเสี ยงความถีสูง ่ ่ (Ultrasonography)
  • 33. II. การสร้ างภาพด้ วยคลืนเสี ยงความถีสูง ่ ่ (Ultrasonography) การตรวจอัลตร้าซาวด์แบ่งการตรวจออกเป็ นดังนี้  Upper abdomen  Lower abdomen  Whole abdomen  Thyriod  Braest  Doppler US
  • 34. Ultrasonography การตรวจที่ไม่ตองเตรี ยมตัว ้  Thyriod  Braest  Doppler US
  • 35. การตรวจทีมีการเตรียมตัว ่  Upper abdomen การเตรียมตัว  งดอาหารและเครื่ องดืมทุกชนิดก่ อนการตรวจ 4-6 ชั่ วโมง ่ Lower abdomen รับประทานอาหารได้ ตามปกติ ดืมนา 4-5 แก้วก่อนตรวจประมาณ 2 ชั่วโมง(ห้ ามปัสสาวะก่อนตรวจ ่ ้ กรณีผ้ ูป่วยในให้ ดมนาประมาณ 06.00 น.)และจะตรวจได้ เมือ Pt. ปวดปัสสาวะ ื่ ้ ่
  • 36. Whole abdomen  งดอาหารทุกชนิดก่อนการตรวจ 4-6 ชัวโมง ่  ดื่มน้ า 4-5 แก้วก่อนตรวจประมาณ 2 ชัวโมง(ห้ามปั สสาวะก่อนตรวจ ่ กรณี คนไข้ในให้ดื่มน้ าประมาณ 06.00 น.)และจะตรวจได้เมื่อ คนไข้ ปวดปัสสาวะ
  • 37. ขั้นตอนการส่ งตรวจ  แพทย์ เขียนใบ request สี เขียว โดยต้ องระบุ ชื่อ – สกุล , HN. ,อายุ , ส่ วนที่ตรวจ ,ประวัตสาคัญ ิ  ส่ งคนไข้ ตรวจที่แผนกรังสี วนิจฉัย ิ หมายเหตุ : นัดไม่ เกิน 2 สั ปดาห์ หรือ สามารถ ตรวจได้ เลย
  • 38. นายชัยสุ นทร วิเศษนันท์ นักรังสี การแพทย์ ชานาญการ กลุ่มงานรังสี วนิจฉัยฯ ิ โรงพยาบาลมะเร็ งอุดรธานี
  • 39. III. งานหัตถการพิเศษ -รังสี ร่วมรักษา (Intervention)
  • 40. III. งานหัตถการพิเศษ -รังสี ร่วมรักษา (Intervention)  เป็ นการประยุกต์ งานทางวินิจฉัยโดยใช้ เครื่องมือทีมอยู่ มาทาให้ เกิด ่ ี ประโยชน์ มากขึน ้ ด้ านวินิจฉัย เช่ น needle aspiration needle biopsy under US/CT/Fluoroscopy PTBD/PCN RFA
  • 41. ขั้นตอนการส่ งตรวจ needle biopsy under US/Fluoroscopy , Stereotactic breast biopsy  1. จะต้ องมีผล lab ที่เกียวข้ อง เช่ นPlain film , ่ PT/PTT  แพทย์เขียนใบ consult รังสี แพทย์  ส่ งผู้ป่วย consult รังสี แพทย์ ทีแผนกรังสี วนิจฉัย ่ ิ  แผนกรังสี วนิจฉัยจะนัด วันเวลาที่ ทาหัตถการ กับฝ่ ายที่ส่งมาตรวจ ิ
  • 42. ขั้นตอนการส่ งตรวจ needle aspiration needle biopsy under US/Fluoroscopy ขั้นตอนการตรวจ  เวลาการทาหัตถการ 11.00 – 12.00 น. (Pt. NPO หลัง 6.00 น.)
  • 43. ขั้นตอนการส่ งตรวจ Stereotactic breast biopsy ขั้นตอนการตรวจ  เวลาการทาหัตถการ 13.00 น. (Pt. NPO หลัง 8.00 น.)
  • 44. การใส่ ท่อระบายนาดีในผู้ป่วยภาวะท่ อนาดีอุดตัน ้ ้ PTBD : percutaneous biliary drainage PCN: percutaneous nephostomy อุปกรณ์ ทต้องเตรียมมาพร้ อมผู้ป่วยในวันทาหัตถการ ี่  Set urine 1 set  Set suture 1 set  Urine bag 1 ถุง
  • 45. ขั้นตอนการส่ งตรวจ PTBD/PCN/PCD  จะต้ องมีผล lab ที่เกียวข้ อง เช่ นPlain film , PT/PTT ่  แพทย์ เจ้ าของไข้ เขียน consult  ให้ pt. นาแฟมประวัตพร้ อมใบ consult มายืนที่ห้องหมายเลข 6 ้ ิ ่  รังสีแพทย์ ประเมินสภาวะของ pt.  แผนกนัดวันเวลาตรวจ โดยคนไข้ จะต้ อง Admit ก่ อนทา ขั้นตอนการตรวจ  แผนกรังสี วนิจฉัยจะนัดเวลากับ ward โดยจะทาช่ วงบ่ าย ิ
  • 46. Radiofrequency Ablation; RFA  RFA  ใช้ ในการรักษามะเร็งตับ ทีไม่ สามารถทาการผ่ าตัดได้ และให้ ่ ผลการรักษาทีดี สะดวก รวดเร็วและมีภาวะแทรกซ้ อนต่า โดยแพทย์ ่ จะสอดเข็มเข้ าไปในก้ อนมะเร็ง และปล่ อยคลืนพลังงาน RF เข้ าไป ่ จนทาให้ เกิดความร้ อน และความร้ อนนีเ้ องทาให้ เกิดการทาลาย ก้อนมะเร็ง
  • 49. ขั้นตอนการส่ งตรวจ RFA  จะต้ องมีผล lab ทีเ่ กียวข้ อง เช่ นPlain film , ่ PT/PTT/LFT/tumor marker และอืนๆ ตามแพทย์ สั่ง ่  แพทย์ เจ้ าของไข้ เขียน consult  ให้ pt. นาแฟ้ มประวัติพร้ อมใบ consult มายืนทีห้องหมายเลข 6 ่ ่  รังสี แพทย์ ประเมินสภาวะของ pt.  แผนกนัดวันเวลาตรวจ โดยคนไข้ จะต้ อง Admit ก่ อนทา ขั้นตอนการตรวจ  แผนกรังสี วนิจฉัยจะนัดเวลากับ ward โดยจะทาช่ วงบ่ ายทีห้องผ่ าตัด ิ ่
  • 50. การส่ งตรวจเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์ (CT scan ) /คลืนแม่ เหล็กไฟฟา(MRI) ่ ้  ปัจจุบันศูนย์ มะเร็งอุดรธานียงไม่ มเี ครื่องเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์ (CT ั scan ) ของตนเอง กรณีผ้ ูป่วยจาเป็ นต้ องได้ รับการตรวจเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์ จะส่ งตรวจทีโรงพยาบาลค่ ายประจักษ์ ศิลปาคม หรือต้ น ่ สั งกัดเดิมตามสิ ทธิบัตร
  • 51. การส่ งตรวจเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์ (CT scan ) /คลืนแม่ เหล็กไฟฟ้ า(MRI) ่  ขั้นตอนการส่ งตรวจ • แพทย์เขียนใบ request ชื่อ สกุล HN ของคนไข้ -มีผลlab ค่ า Bun/ Cr ที่ปกติ - ประวัติการแพ้อาหารทะเล -โรคประจาตัวอืนๆ หอบหืด ความดัน ่ • ตรวจสอบสิ ทธิการรักษา (สิ ทธิ ปกส รพ.ค่ ายส่ งหนังสื อส่ งตัวกลับต้ น สั งกัด)
  • 52. การส่ งตรวจเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์ (CT scan ) /คลืนแม่ เหล็กไฟฟา(MRI) ่ ้ • เจ้ าหน้ าที่เอกซเรย์ ประสานศูนย์ CT/MRI รับคนไข้ ไปตรวจ • รังสี แพทย์ แปลผล CT (Report.) • รับผลตรวจ 2-3 วันถัดไป (ยกเว้ นกรณี Emergency )
  • 53. Picture Archiving and Communication System  PACS ย่อมาจากคาว่า Picture Archiving and Communication System
  • 54. Picture Archiving and Communication System  คือ ระบบที่ใช้ ในการจัดเก็บรู ปภาพ ทางการแพทย์ ( Medical Images) และรับ-ส่ ง ข้ อมูลภาพ ในรู ปแบบ Digital
  • 56. การรับผลตรวจ  ผลตรวจ Report หลังตรวจเสร็จใส่ แฟ้ ม ของผู้ป่วย  ผลตรวจทีเ่ ป็ นภาพ ดูผ่านระบบ LAN
  • 57. การยืมผลการตรวจไปรักษาต่อ  ผลตรวจทีเ่ ป็ นภาพถ่ ายรังสี รู ปแบบ CD