SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 100
Descargar para leer sin conexión
Fb/Rachanont
Adverse Drug Reaction
ภก.รชานนท์ หิรัญวงษ์ (พี่เติ้ล)
หัวหน้างานบริบาลเภ๤ัชกรรม
กลุ่มงานเภ๤ัชกรรม รพ.บางละมุง
๤ิ่งที่จําเป็นในการประเมิน ADR
DEFINITION
Drug Hypersensitivity Reaction, Side Effect, Pseudo allergy
MECHANISM
Urticaria, Angioedema, SJS/TEN, DRESS
ALGORITHM
WHO’s criteria, Naranjo’s algorithm, Thai algorithm
Definition
1
Adverse Drug Reaction (ADR)*
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นโดยมิได้ตั้งใจและเป็นอันตรายต่อร่างกาย
มนุษย์ เกิดขึ้นเมื่อใ๡้ยาในขนาดปกติเพื่อการป้องกัน
วินิจฉัย บําบัดรักษาโรค หรือเปลี่ยนแปลง แก้ไขการ
ทํางานของร่างกาย โดยไม่รวมปฏิกิริยาที่เกิดจากการใ๡้ยา
เกินขนาดโดยอุบัติเหตุหรือตั้งใจ ตลอดจนการใ๡้ยาในทาง
ที่ผิด อุบัติเหตุ หรือการจงใจใ๡้ยาเกินขนาดและผิดวิธี
*คำจำกัดความจากแนวทางการรายงานเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ศูนย์เฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
Side Effect (ADR type A)
ปฏิกิริยาทั้งเ๡ิงบวกและเ๡ิงลบที่เกิดขึ้นเนื่องจากฤทธิ์ทาง
เภ๤ัชวิทยา นอกเหนือจากคุณสมบัติหลักหรือข้อบ่งใ๡้ของ
ยานั้น เกิดขึ้นในขนาดที่ใ๡้รักษา สามารถคาดการณ์ได้ว่า
จะเกิด และระดับความรุนแรงจะขึ้นกับขนาดของยา
Drug Allergy (ADR type B)
ปฏิกิริยาที่ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยฤทธิ์ทาง
เภ๤ัชวิทยา เกิดจากปฏิกิริยาของภูมิคุ้มกันของร่างกายผู้
ป่วยต่อยานั้นโดยไม่ขึ้นกับขนาดของยา ๤่วนใหญ่อาการ
มักเกิดขึ้นภายหลังจากที่เคยได้รับยาชนิดนี้มาก่อน แล้วไป
กระตุ้นให้ร่างกายสร้างแอนติบอดี้ จึงทําให้เกิดอาการแพ้
หลังจากได้รับยาเดิมในครั้งต่อมา
Drug hypersensitivity reaction(DHR)
Pseudo Allergy
DHR ที่ไม่ได้เกิดจากปฏิกิริยาของภูมิคุ้มกันของ
ร่างกายผู้ป่วยต่อยานั้น
มักพบจากการใ๡้ยาในกลุ่ม Opioids, Cephalosporins, Vancomycin, และ
Radiocontrast media
กลไกเกิดจากยากระตุ้นให้มีการปล่อยสารก่อการแพ้โดยตรง อาจทําให้เกิดผื่นคัน, แน่น
หน้าอก, หายใจลําบาก เป็นต้น
เกิดอาการได้ตั้งแต่ครั้งแรกที่รับยา
อาการที่เกิดขึ้นจะ๤ัมพันธ์กับขนาดยาหรืออัตราเร็วในการให้ยา
แก้ไขโดยการลดขนาดยา หรือลดอัตราเร็วในการให้ยา หรือให้ยาเพื่อป้องกันอาการ
Pseudo Allergy
เปรียบเทียบการแพ้ยากลุ่ม NSAIDs แบบ True allergy กับ Pseudo allergy
TRUE ALLERGY PSEUDO ALLERGY
ปฏิกิริยาเกิดผ่านระบบภูมิคุ้มกัน (IgE) ปฏิกิริยาเกิดผ่านการยับยั้งการสร้าง PGE2
แพ้ข้ามกันในกลุ่มโครงสร้าง แพ้ข้ามกันในกลุ่มที่ยับยั้ง COX-1 ได้มาก
หลีกเลี่ยงการใ๡้ยาในกลุ่มโครงสร้างเดียวกัน
หลีกเลี่ยงการใ๡้ยา
ในกลุ่มที่ยับยั้ง COX-1 ได้มาก
Mechanism
2
Type I : IgE-Mediated Drug Hypersensitivity
Type II : IgG-Mediated Cytotoxicity
Type III : Immune Complex Deposition
Type IV : T-Cell-Mediated Drug Hypersensitivity
กลไกการแพ้ยา
Type I : IgE-Mediated Drug Hypersensitivity
ใ๡้เวลากระตุ้นครั้งแรก 7 – 14 วัน เมื่อได้รับยาอีก
ครั้งจะเกิดอาการภายใน 2 ๡ั่วโมง นานสุดไม่เกิน 48
๡ั่วโมง
• Anaphylaxis
• Urticaria
• Angioedema
• Bronchospasm
• Abdominal cramping
• Respiratory arrest
• Arrhythmias
• Eosinophilia
Urticaria
เป็นรอยนูนแดงขนาดเล็ก คัน
ผื่นค่อยๆ ขยายออก มีขอบยกนูน
รูปร่างเหมือนวงกลมแต่มักไม่ครบวง
บางครั้งดูคล้ายแผนที่มีขอบหยักไป
หยักมา  ผื่นกระจายทั่วร่างกาย
Urticaria
Angioedema
ผื่นลมพิษที่เกิดใน๡ั้นผิวหนัง๤่วนลึก
หรือ๡ั้นไขมันใต้ผิวหนัง
มักเกิดตามเยื่อบุ เ๡่นเปลือกตา ริม
ฝีปาก อวัยวะเพศ ๢ึ่งจะบวมนูนไม่มี
ขอบเขต๡ัดเจน
ดีขึ้นภายใน 2 - 5 วัน
Anaphylactic Shock
ผู้ป่วยจะมีการลดลงของความดัน
โลหิตอย่างรวดเร็ว
ผลการตรวจร่างกายอาจวัด BP
และคลํา pulse ไม่ได้
ผู้ป่วยจะมีอาการหมดสติ ๡็อค หรือ
เ๤ีย๡ีวิตได้ ถ้าไม่ได้รับการ๡่วยเหลือ
อย่างทันท่วงที
Type II : IgG-Mediated Cytotoxicity
เกิดอาการภายใน 7 – 21 วันหลังเริ่มยา
• Hemolytic anemia: Penicillin, quinidine
• Neutropenia: anti – convulsants,
sulfonamides, Phenothiazines
• Thrombocytopenia: Paracetamol, quinine,
quinidine, sulfonamides
Type III : Immune Complex Deposition
เกิดอาการภายใน 5 – 21 วันหลังเริ่มยา
• Serum sickness: มีไข้, อ่อนเพลีย, ปวดข้อ, ผื่นคัน
• Vasculitides (some)
• Morbilliform or maculopapular rash
• Urticaria (late onset)
• Glomerulonephritis
• Erythema multiforme
• Stevens–Johnson syndrome
Vasculitis
Erythema multiforme
EM minor มีผื่นตามผิวหนังร่วมกับผื่นตามเยื่อบุ
เ๡่น เยื่อบุตา เยื่อบุ๡่องปาก  จมูก ทวาร อวัยวะเพศ
อีก 1 แห่ง
ลักษณะเหมือนเป้ายิงธนู (Target lesion)
Stevens Johnson Syndrome
EM major หรือที่เรียกว่า Stevens
Johnson syndrome จะมีผื่นตามเยื่อ
บุมากกว่า 1 แห่ง
มีอาการค่อนข้างรุนแรงกว่า อาการนํา
ก่อนเกิดผื่น ผู้ป่วยจะมีอาการคล้ายไข้
หวัด คือมีไข้ อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยตาม
เนื้อตัว ปวดข้อ 
Stevens Johnson Syndrome
มักพบผื่นที่ฝ่ามือฝ่าเท้า แขนขา และ
เยื่อบุก่อน จากนั้นจะลามไปที่ลําตัว
บริเวณเยื่อบุต่างๆ จะมีอาการ
มากกว่า โดยพบแผลที่เยื่อบุตา ๡่องปาก
จมูก อวัยวะเพศ
มักเกิดอาการภายใน 1 – 4 ๤ัปดาห์
หลังได้รับยา
Type IV : T-Cell-Mediated Drug Hypersensitivity
เกิดอาการภายใน 24 - 48 ๡ั่วโมง
• Maculopapular rash
• Contact dermatitis
• Pustular eruptions
• SJS/TEN
Maculo - papular rash
Macule ผื่นราบหรือนูนเล็กน้อย
Papule ตุ่มนูนที่ผิวหนัง
มีอาการคันร่วมด้วย
Maculo - papular rash
MP Rash Urticaria
Fixed drug eruption
รูปร่างกลม ขอบ๡ัด มี๤ีแดงคลํ้าหรือ๤ีม่วง
หรือพองเป็นตุ่มนํ้า
ผื่นมักจะมีอาการแสบร้อนเจ็บๆ คันๆ
พบบ่อยที่บริเวณริมฝีปาก และเยื่อบุตาม
ผิวหนังอื่นๆ
เมื่อได้รับยาที่เป็นสาเหตุอีกในครั้งต่อมาจะ
ปรากฏผื่นที่บริเวณเดิมทุกครั้ง 
Exfoliative dermatitis
ผิวหนังจะแดงทั่วๆไปคล้าย
MP rash แต่ไม่เกิดอย่างรวดเร็ว 
ไม่มีอาการแสบร้อน และไม่เกิดตุ่ม
นํ้าพอง
ผิวหนังจะค่อยๆ ลอกเป็นขุยแห้งจน
ทั่วร่างกาย
ฝ่ามือฝ่าเท้าจะหนาเป็นแผ่น กว่าจะ
หลุดใ๡้เวลานาน
Algorithm
3
Algorithm
WHO’s criteria
Naranjo’s algorithm
Thai Algorithm
WHO’s criteria
Certain (ใ๡่แน่นอน) Probable (น่าจะใ๡่) Possible (อาจจะใ๡่) Unlikely (สง๤ัย)
เกิดขึ้นใน๡่วงระยะเวลาที่สอดคล้องกับการใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) และ เกิดขึ้นใน๡่วงเวลาที่ไม่สอดคล้องกับระยะ
เวลาการใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) และ
ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยโรคที่เป็นอยู่ หรือ
ยา หรือ สารเคมีอื่นๆ ที่ใ๡้ร่วม และ
ไม่น่าจะเกี่ยวข้องกับโรคที่เป็นอยู่
หรือ ยา หรือ สารเคมีอื่นๆ ที่ใ๡้
ร่วม และ
อาจสามารถอธิบายด้วยโรค
ที่เป็นอยู่ หรือ ยา หรือ สาร
เคมีอื่นๆ ที่ใ๡้ร่วม และ
ไม่สามารถอธิบายด้วยโรคที่เป็นอยู่ หรือ
ยา หรือ สารเคมีอื่นๆ ที่ใ๡้ร่วมได้อย่าง
๡ัดเจน
เมื่อหยุดใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) แล้ว
อาการไม่พึงประสงค์ดีขึ้น หรือหายจาก
อาการนั้นอย่างเห็นได้๡ัด และ
เมื่อหยุดใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา)
แล้วอาการไม่พึงประสงค์ดีขึ้น
หรือหายจากอาการนั้น แต่
ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับการหยุดใ๡้
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) หรือ
มีแต่ข้อมูลไม่สมบูรณ์
หากมีการใ๡้ยานั้น๢ํ้าอีกครั้ง จะต้องเกิด
อาการไม่พึงประสงค์ที่สามารถอธิบายได้
ด้วยฤทธิ์ทางเภ๤ัชวิทยาหรือเป็นอาการไม่
พึงประสงค์ที่ปรากฎเห็น๡ัด
อาจไม่มีข้อมูลของการใ๡้ยา๢ํ้าอีก
Naranjo’s algorithm
Thai Algorithm
การประเมิน ADR
การประเมิน ADR อย่างเป็นระบบ
แนวทางการป้องกันแพ้ยา๢ํ้า
กรณี๣ึกษา
การประเมิน ADR อย่างเป็นระบบ
4
ขั้นตอนที่ 1 วินิจฉัยผื่นแพ้ยา
ต้องอา๣ัยความร่วมมือของ
แพทย์ในการวินิจฉัยผื่นแพ้ยา
ชนิดของผื่นที่ถูกต้อง
เพื่อทําให้การ๤ืบค้นข้อมูลเพื่อ
หายาที่สง๤ัยเป็นไปได้ง่ายขึ้น
ขั้นตอนที่ 2 ค้นหายาที่สง๤ัย
หาว่ายาชนิดใดบ้างที่
ระยะเวลาที่ได้รับยาเข้ากันได้
กับ onset ของการเกิดผื่น
แพ้ยาดังกล่าว
เขียน Timeline ลําดับ
การได้รับยา และการเกิด
อาการ
ขั้นตอนที่ 2 ค้นหายาที่สง๤ัย
Litt's D.E.R.M. Drug
Eruptions and
Reactions Manual
MEYLER’S Side
Effects of Drugs
ขั้นตอนที่ 2 ค้นหายาที่สง๤ัย
Litt's D.E.R.M. Drug
Eruptions and
Reactions Manual
รวบรวม ADR จากรายงาน
ของบริษัทยา และงานวิจัย
ต่างๆ หลังจากยาออกวาง
ตลาด
MEYLER’S Side Effects
of Drugs
รวบรวม ADR จากรายงาน
แยกเป็นกลุ่มอาการ
มีข้อมูลปัจจัยที่๤่งเสริมให้เกิด
ADR
ขั้นตอนที่ 2 ค้นหายาที่สง๤ัย
ขั้นตอนที่ 2 ค้นหายาที่สง๤ัย
สรุปรายงานอาการไม่พึง
ประสงค์จากการใ๡้ยา โดย
ศูนย์เฝ้าระวังความปลอดภัย
ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ
๤ํานักงานคณะกรรมการ
อาหารและยา
http://goo.gl/7rKYJC
ขั้นตอนที่ 3 ค้นหาสาเหตุอื่น
ยาชนิดอื่นที่ผู้ป่วยได้รับร่วมด้วย
โรคประจําตัวที่ผู้ป่วยเป็นอยู่ หรือ
โรคร่วมอื่นๆ
สาเหตุอื่นๆ เ๡่น การแพ้อากาศ
อาหาร สารเคมีอื่นๆ
DDx
ขั้นตอนที่ 3 ค้นหาสาเหตุอื่น
เคยแพ้ยาหรือไม่
แพ้ยา๡ื่อว่าอะไร
ทราบ๡ื่อยาได้อย่างไร
ใครเป็นผู้บอกว่าท่านแพ้ยา
เคยได้รับบัตรแพ้ยาไหม
ยาที่แพ้มีรูปร่างอย่างไร
ใ๡้ยาดังกล่าวเพื่อรักษาโรคอะไร
ตัวอย่างคําถามที่ใ๡้ในการ๤ัมภาษณ์ผู้ป่วยและญาติ
ได้รับยามาจากที่ไหน
กินวันละกี่มื้อ มื้อละกี่เม็ด
ลักษณะอาการแพ้เป็นอย่างไร
เกิดอาการหลังจากใ๡้ยาไปนานเท่าใด
หรือรับประทานยาไปกี่มื้อก่อนเกิดอาการ
มีอาการนานกี่๡ั่วโมงกี่วัน
ตอนนี้ยังมีอาการอยู่หรือไม่
ขั้นตอนที่ 3 ค้นหาสาเหตุอื่น
อาการดีขึ้น หรือแย่ลง หรือคงที่
ภายหลังเกิดอาการ ได้หยุดยามั้ย
หยุดยามานานเท่าใด
รับประทานยามื้อสุดท้ายเมื่อใด
เคยกินยา…มั้ย (ยาในกลุ่ม
เดียวกันกับยาที่เราสง๤ัย)
ตัวอย่างคําถามที่ใ๡้ในการ๤ัมภาษณ์ผู้ป่วยและญาติ
เคยแพ้ยา อาหารหรือสารเคมีมั้ย
มีโรคประจําตัวมั้ย มียาที่ใ๡้เป็นประจํา
อะไรอยู่บ้าง ใ๡้มานานแค่ไหนแล้ว
ปกติเวลาไม่สบาย ได้๢ื้อยา ใ๡้ยาหรือ
รักษาที่โรงพยาบาลมั้ย
รับยาประจําตัวที่โรงพยาบาลอะไร
ขั้นตอนที่ 3 ค้นหาสาเหตุอื่น
ขั้นตอนที่ 4 ประเมินโดยใ๡้ Algorithm
WHO’s criteria
Naranjo’s algorith
Thai Algorithm
ขั้นตอนที่ 5 สรุปผลการประเมิน
แจ้งผลการประเมินแก่แพทย์
และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
บันทึกประวัติแพ้ยาในระบบ
คอมพิวเตอร์โรงพยาบาล
ออกบัตรแพ้ยาและ๤่งมอบ
ให้ผู้ป่วย/ญาติ พร้อมกับให้คํา
แนะนํา
บัตรแพ้ยาข้อมูลครบ
๡ื่อสามัญของยาไทยและอังกฤษ
อาการที่เกิดขึ้น
ผลการประเมิน
หน่วยงาน และ๡ื่อผู้ประเมิน
วันที่ทําการประเมิน
คําแนะนําเพิ่มเติมเพื่อป้องกันการแพ้
ยาในกลุ่มเดียวกัน
๡ื่อยาจําให้แม่น
ให้ผู้ป่วยจดจํา๡ื่อสามัญของยา และอาการที่เกิดขึ้น
ทวนสอบผู้ป่วยว่าจํา๡ื่อยาได้
ควรบอกให้ญาติสนิท คนใกล้๡ิด หรือแฟนทราบ
อา – ม็อก – ๢ี่ – ๢ิล - ลิน
ยืดอกพกบัตร
แนะนําให้ผู้ป่วยพกบัตรแพ้ยาติดตัวไว้
ตลอด เมื่อไปโรงพยาบาล ไปคลินิก หรือไป
ร้านยา ให้แสดงบัตรแก่แพทย์ ทันตแพทย์
เภ๤ัชกร หรือพยาบาล ทุกครั้ง
เจ็บป่วยต้องหาหมอหรือเภ๤ัชกร
หลีกเลี่ยงการ๢ื้อยามาใ๡้เอง
โดยเฉพาะยาชุด ยาที่ไม่ทราบ๡ื่อ
และยาของผู้อื่น
เมื่อเจ็บป่วยควรไปพบแพทย์หรือ
เภ๤ัชกร
รักบัตรยิ่ง๡ีพ
บัตรแพ้ยาเป็นเอกสารทางการแพทย์ที่๡่วยให้แพทย์สามารถเลือก
ใ๡้ยาเพื่อรักษาผู้ป่วยได้อย่างปลอดภัย และป้องกันการแพ้ยา๢ํ้า
เมื่อบัตรแพ้ยาหายให้ติดต่อสถานพยาบาลเดิม หรือติดต่อสถาน
พยาบาลใกล้บ้านโดยเร็ว
แพ้ยาทําอย่างไรดี
หลังรับประทานยาที่ไม่เคยใ๡้มาก่อน ให้๤ังเกตอาการหลังรับ
ประทานยา 1/2 – 1 ๡ั่วโมง
ถ้ามีผื่นคันตามตัว หรือมีอาการแน่นหน้าอก หายใจลําบาก หรือ
คลื่นไ๤้ อาเจียนอย่างรุนแรง ให้รีบมาพบแพทย์โดยนํายาที่รับ
ประทานไปมาด้วย (ถ้าไม่มียาเหลือ ให้นําฉลาก หรือซองยามาแทน)
และอย่าลืมเอาบัตรแพ้ยาไปด้วย
แนวทางการป้องกันแพ้ยา๢ํ้า
5
แพ้ยาซ้ำ
เหตุการณ์ที่ผู้ป่วยได้รับยา (ทั้งจากตนเอง ผู้ดูแล หรือจาก
บุคลากรทางการแพทย์) แล้วเกิดอาการแพ้ โดยที่เคยเกิดอาการ
แพ้ยาดังกล่าวจากยาที่มี๡ื่อสามัญทางยาเดียวกัน ทั้งที่เคยบันทึก
ประวัติหรือไม่บันทึกประวัติในเอกสารหรือระบบของโรงพยาบาล
ยกเว้น : การตั้งใจให้ยา๢ํ้า (RECHALLENGE) ของบุคลากรทางการแพทย์เพื่อประโยชน์ใน
การรักษาหรือมีข้อบ่ง๡ี้ทางการแพทย์
แนวทางการป้องกัน
เภ๤ัชกรบันทึกข้อมูลในบัตรแพ้ยาให้ครบถ้วน และให้คําแนะนํากับผู้ป่วย
และญาติทุกครั้งที่๤่งมอบบัตรแพ้ยา
ทําให้ผู้ป่วยตระหนักถึงความ๤ําคัญของบัตรแพ้ยาและประวัติแพ้ยา
ทําระบบเตือนทุกจุดที่มีการ๤ั่งใ๡้ยา จ่ายยา บริหารยา
ทําให้สหวิชา๡ีพตระหนักถึงความ๤ําคัญ และร่วมมือกันป้องกันแพ้ยาซํ้า
กรณี๣ึกษา
6
กรณี๣ึกษาที่ 1
ผู้ป่วยหญิงเดี่ยวมาที่
ห้องฉุกเฉินมีอาการ
บวมนูนที่เปลือกตาทั้ง
สองข้าง และมีอาการ
คันร่วม
กรณี๣ึกษาที่ 1
A.MP Rash
B.Urticaria
C.Angioedema
D.Exfoliative Rash
ขั้นตอนที่ 1 วินิจฉัยผื่นแพ้ยา
กรณี๣ึกษาที่ 1
3 วันก่อน กินยา Paracetamol (500) ไป 2 เม็ด
2 ๡ั่วโมงก่อนพึ่งกินยา Ibuprofen (400) ไป 1 เม็ด
ประวัติเคยทาน Paracetamol เป็นประจําโดยไม่มีอาการ
ผิดปกติ ไม่ทราบว่าเคยใ๡้ยาในกลุ่ม NSAIDs มาก่อนหรือ
เปล่า
ขั้นตอนที่ 2 ค้นหายาที่สง๤ัย
กรณี๣ึกษาที่ 1
ผู้ป่วยปฏิเสธโรคประจําตัว และการใ๡้ยาอื่นร่วม
ไม่มีประวัติแพ้ยา สารเคมี หรืออาหารใดๆ
๡่วงนี้ไม่มีการเปลี่ยนเครื่อง๤ําอางค์ สบู่ และแชมพูที่ใ๡้
ไม่เคยเกิดการแพ้แบบนี้มาก่อน
ขั้นตอนที่ 3 ค้นหาสาเหตุอื่น
กรณี๣ึกษาที่ 1
ขั้นตอนที่ 4 ประเมินโดยใ๡้ Algorithm
Certain (ใ๡่แน่นอน) Probable (น่าจะใ๡่) Possible (อาจจะใ๡่) Unlikely (สง๤ัย)
เกิดขึ้นใน๡่วงระยะเวลาที่สอดคล้องกับการใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) และ เกิดขึ้นใน๡่วงเวลาที่ไม่สอดคล้องกับระยะ
เวลาการใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) และ
ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยโรคที่เป็นอยู่ หรือ
ยา หรือ สารเคมีอื่นๆ ที่ใ๡้ร่วม และ
ไม่น่าจะเกี่ยวข้องกับโรคที่เป็นอยู่
หรือ ยา หรือ สารเคมีอื่นๆ ที่ใ๡้
ร่วม และ
อาจสามารถอธิบายด้วยโรค
ที่เป็นอยู่ หรือ ยา หรือ สาร
เคมีอื่นๆ ที่ใ๡้ร่วม และ
ไม่สามารถอธิบายด้วยโรคที่เป็นอยู่ หรือ
ยา หรือ สารเคมีอื่นๆ ที่ใ๡้ร่วมได้อย่าง
๡ัดเจน
เมื่อหยุดใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) แล้ว
อาการไม่พึงประสงค์ดีขึ้น หรือหายจาก
อาการนั้นอย่างเห็นได้๡ัด และ
เมื่อหยุดใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา)
แล้วอาการไม่พึงประสงค์ดีขึ้น
หรือหายจากอาการนั้น แต่
ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับการหยุดใ๡้
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) หรือ
มีแต่ข้อมูลไม่สมบูรณ์
หากมีการใ๡้ยานั้น๢ํ้าอีกครั้ง จะต้องเกิด
อาการไม่พึงประสงค์ที่สามารถอธิบายได้
ด้วยฤทธิ์ทางเภ๤ัชวิทยาหรือเป็นอาการไม่
พึงประสงค์ที่ปรากฎเห็น๡ัด
อาจไม่มีข้อมูลของการใ๡้ยา๢ํ้าอีก
กรณี๣ึกษาที่ 1
ขั้นตอนที่ 4 ประเมินโดยใ๡้ Algorithm
Certain (ใ๡่แน่นอน) Probable (น่าจะใ๡่) Possible (อาจจะใ๡่) Unlikely (สง๤ัย)
เกิดขึ้นใน๡่วงระยะเวลาที่สอดคล้องกับการใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) และ เกิดขึ้นใน๡่วงเวลาที่ไม่สอดคล้องกับระยะ
เวลาการใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) และ
ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยโรคที่เป็นอยู่ หรือ
ยา หรือ สารเคมีอื่นๆ ที่ใ๡้ร่วม และ
ไม่น่าจะเกี่ยวข้องกับโรคที่เป็นอยู่
หรือ ยา หรือ สารเคมีอื่นๆ ที่ใ๡้
ร่วม และ
อาจสามารถอธิบายด้วยโรค
ที่เป็นอยู่ หรือ ยา หรือ สาร
เคมีอื่นๆ ที่ใ๡้ร่วม และ
ไม่สามารถอธิบายด้วยโรคที่เป็นอยู่ หรือ
ยา หรือ สารเคมีอื่นๆ ที่ใ๡้ร่วมได้อย่าง
๡ัดเจน
เมื่อหยุดใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) แล้ว
อาการไม่พึงประสงค์ดีขึ้น หรือหายจาก
อาการนั้นอย่างเห็นได้๡ัด และ
เมื่อหยุดใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา)
แล้วอาการไม่พึงประสงค์ดีขึ้น
หรือหายจากอาการนั้น แต่
ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับการหยุดใ๡้
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) หรือ
มีแต่ข้อมูลไม่สมบูรณ์
หากมีการใ๡้ยานั้น๢ํ้าอีกครั้ง จะต้องเกิด
อาการไม่พึงประสงค์ที่สามารถอธิบายได้
ด้วยฤทธิ์ทางเภ๤ัชวิทยาหรือเป็นอาการไม่
พึงประสงค์ที่ปรากฎเห็น๡ัด
อาจไม่มีข้อมูลของการใ๡้ยา๢ํ้าอีก
กรณี๣ึกษาที่ 1ขั้นตอนที่ 4 ประเมินโดยใ๡้ Algorithm
กรณี๣ึกษาที่ 1ขั้นตอนที่ 4 ประเมินโดยใ๡้ Algorithm
1
2
1
1
0
2
0
0
7
Probable
กรณี๣ึกษาที่ 1
ขั้นตอนที่ 4 ประเมินโดยใ๡้ Algorithm
กรณี๣ึกษาที่ 1
ขั้นตอนที่ 4 ประเมินโดยใ๡้ Algorithm
Probable
กรณี๣ึกษาที่ 1ขั้นตอนที่ 5 สรุปผลการประเมิน
ผู้ป่วยแพ้ยา Ibuprofen แบบ Angioedema
โดยผู้ป่วยไม่ทราบว่าเคยทานยากลุ่ม NSAIDs มา
ก่อนหรือเปล่า จึงบอกไม่ได้ว่าจะแพ้ยาตัวอื่นในกลุ่ม
ด้วยหรือไม่ แนะนําให้หลีกเลี่ยงยาในกลุ่ม NSAIDs
ทั้งหมด ถ้าจําเป็นอาจใ๡้ยาในกลุ่ม COX-2
Specific
กรณี๣ึกษาที่ 2
ผู้ป่วยชายไทยคู่
ขณะนอนโรงพยาบาล
มีผื่นขึ้นคันหลัง ลาม
ขึ้นแขน ต้นขาทั้ง 2
ข้าง และมีผื่นขึ้นที่
หน้าผาก และบวมเล็ก
น้อย
กรณี๣ึกษาที่ 2
A.MP Rash
B.Urticaria
C.Angioedema
D.Exfoliative Rash
ขั้นตอนที่ 1 วินิจฉัยผื่นแพ้ยา
กรณี๣ึกษาที่ 2ขั้นตอนที่ 2 ค้นหายาที่สง๤ัย
กรณี๣ึกษาที่ 2ขั้นตอนที่ 2 ค้นหายาที่สง๤ัย
กรณี๣ึกษาที่ 2ขั้นตอนที่ 2 ค้นหายาที่สง๤ัย
กรณี๣ึกษาที่ 2
ไม่มีประวัติแพ้ยา สารเคมี หรืออาหารใดๆ
๡่วงนี้ไม่มีการเปลี่ยนเครื่อง ๤ําอางค์ สบู่ และแชมพูที่ใ๡้
ไม่เคยเกิดการแพ้แบบนี้มาก่อน
ขั้นตอนที่ 3 ค้นหาสาเหตุอื่น
กรณี๣ึกษาที่ 2
ขั้นตอนที่ 4 ประเมินโดยใ๡้ Algorithm
Certain (ใ๡่แน่นอน) Probable (น่าจะใ๡่) Possible (อาจจะใ๡่) Unlikely (สง๤ัย)
เกิดขึ้นใน๡่วงระยะเวลาที่สอดคล้องกับการใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) และ เกิดขึ้นใน๡่วงเวลาที่ไม่สอดคล้องกับระยะ
เวลาการใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) และ
ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยโรคที่เป็นอยู่ หรือ
ยา หรือ สารเคมีอื่นๆ ที่ใ๡้ร่วม และ
ไม่น่าจะเกี่ยวข้องกับโรคที่เป็นอยู่
หรือ ยา หรือ สารเคมีอื่นๆ ที่ใ๡้
ร่วม และ
อาจสามารถอธิบายด้วยโรค
ที่เป็นอยู่ หรือ ยา หรือ สาร
เคมีอื่นๆ ที่ใ๡้ร่วม และ
ไม่สามารถอธิบายด้วยโรคที่เป็นอยู่ หรือ
ยา หรือ สารเคมีอื่นๆ ที่ใ๡้ร่วมได้อย่าง
๡ัดเจน
เมื่อหยุดใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) แล้ว
อาการไม่พึงประสงค์ดีขึ้น หรือหายจาก
อาการนั้นอย่างเห็นได้๡ัด และ
เมื่อหยุดใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา)
แล้วอาการไม่พึงประสงค์ดีขึ้น
หรือหายจากอาการนั้น แต่
ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับการหยุดใ๡้
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) หรือ
มีแต่ข้อมูลไม่สมบูรณ์
หากมีการใ๡้ยานั้น๢ํ้าอีกครั้ง จะต้องเกิด
อาการไม่พึงประสงค์ที่สามารถอธิบายได้
ด้วยฤทธิ์ทางเภ๤ัชวิทยาหรือเป็นอาการไม่
พึงประสงค์ที่ปรากฎเห็น๡ัด
อาจไม่มีข้อมูลของการใ๡้ยา๢ํ้าอีก
กรณี๣ึกษาที่ 2
ขั้นตอนที่ 4 ประเมินโดยใ๡้ Algorithm
Certain (ใ๡่แน่นอน) Probable (น่าจะใ๡่) Possible (อาจจะใ๡่) Unlikely (สง๤ัย)
เกิดขึ้นใน๡่วงระยะเวลาที่สอดคล้องกับการใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) และ เกิดขึ้นใน๡่วงเวลาที่ไม่สอดคล้องกับระยะ
เวลาการใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) และ
ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยโรคที่เป็นอยู่ หรือ
ยา หรือ สารเคมีอื่นๆ ที่ใ๡้ร่วม และ
ไม่น่าจะเกี่ยวข้องกับโรคที่เป็นอยู่
หรือ ยา หรือ สารเคมีอื่นๆ ที่ใ๡้
ร่วม และ
อาจสามารถอธิบายด้วยโรค
ที่เป็นอยู่ หรือ ยา หรือ สาร
เคมีอื่นๆ ที่ใ๡้ร่วม และ
ไม่สามารถอธิบายด้วยโรคที่เป็นอยู่ หรือ
ยา หรือ สารเคมีอื่นๆ ที่ใ๡้ร่วมได้อย่าง
๡ัดเจน
เมื่อหยุดใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) แล้ว
อาการไม่พึงประสงค์ดีขึ้น หรือหายจาก
อาการนั้นอย่างเห็นได้๡ัด และ
เมื่อหยุดใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา)
แล้วอาการไม่พึงประสงค์ดีขึ้น
หรือหายจากอาการนั้น แต่
ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับการหยุดใ๡้
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) หรือ
มีแต่ข้อมูลไม่สมบูรณ์
หากมีการใ๡้ยานั้น๢ํ้าอีกครั้ง จะต้องเกิด
อาการไม่พึงประสงค์ที่สามารถอธิบายได้
ด้วยฤทธิ์ทางเภ๤ัชวิทยาหรือเป็นอาการไม่
พึงประสงค์ที่ปรากฎเห็น๡ัด
อาจไม่มีข้อมูลของการใ๡้ยา๢ํ้าอีก
กรณี๣ึกษาที่ 2ขั้นตอนที่ 4 ประเมินโดยใ๡้ Algorithm
กรณี๣ึกษาที่ 2ขั้นตอนที่ 4 ประเมินโดยใ๡้ Algorithm
1
2
1
1
0
2
0
0
7
Probable
กรณี๣ึกษาที่ 2
ขั้นตอนที่ 4 ประเมินโดยใ๡้ Algorithm
กรณี๣ึกษาที่ 2
ขั้นตอนที่ 4 ประเมินโดยใ๡้ Algorithm
Probable
กรณี๣ึกษาที่ 2ขั้นตอนที่ 5 สรุปผลการประเมิน
ผู้ป่วยแพ้ยา Ceftazidime แบบ Urticaria
ควรหลีกเลี่ยงการใ๡้ยานี้อีก และระมัดระวัง
การใ๡้ยาในกลุ่มเบต้าแลคแตม
Ceftazidime
เซฟต้า๢ิดีม
Urticaria
ผื่นที่หน้า หลัง
แขนขา
2
ภญ.แสงระวี
24/4/58
กรณี๣ึกษาที่ 3
ผู้ป่วยหญิงเดี่ยวอายุ 19 ปี มีไข้ร่วมกับผื่นแดงขึ้นตาม
ร่างกายมา 10 วัน วันนี้มีตัวเหลือง ตาเหลือง หน้าบวมตัวบวม
ผื่นไม่ดีขึ้นจึงมาพบแพทย์
กรณี๣ึกษาที่ 3
แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นผื่น MP Rash
ขั้นตอนที่ 1 วินิจฉัยผื่นแพ้ยา
กรณี๣ึกษาที่ 3
ผู้ป่วยมีผื่นแบบ MP rash หลังจากได้รับยา Phenytoin, Methimazole,
Propanolol ครั้งแรกนาน 17 วัน หลังหยุดยา 4 วัน ผู้ป่วยมีอาการของ Systemic
symptom คือมีไข้ 38.3 องศาเซลเ๢ียส มีอาการผื่นขึ้นร่วมกับมีไข้ และผื่นค่อยๆ
เพิ่มขึ้น มีหน้าบวม แขนบวมร่วมด้วย ผลทางห้องตรวจปฏิบัติการพบว่า Atypical
Lymphocyte เพิ่มขึ้นเป็น 9 และพบ Eosinophil เพิ่มขึ้นเป็น 35% WBC 28.65
x 103
uL มีลักษณะของภาวะ internal organ involvement AST 72 ALT
247 ALP 285
ขั้นตอนที่ 1 วินิจฉัยผื่นแพ้ยา
กรณี๣ึกษาที่ 3ขั้นตอนที่ 1 วินิจฉัยผื่นแพ้ยา
กรณี๣ึกษาที่ 3ขั้นตอนที่ 2 ค้นหายาที่สง๤ัย
กรณี๣ึกษาที่ 3ขั้นตอนที่ 2 ค้นหายาที่สง๤ัย
กรณี๣ึกษาที่ 3
ผู้ป่วยเป็น Hyperthyroidism และ seizure
ไม่มีประวัติแพ้ยา สารเคมี หรืออาหารใดๆ
๡่วงนี้ไม่มีการเปลี่ยนเครื่อง ๤ําอางค์ สบู่ และแชมพูที่ใ๡้
ไม่เคยเกิดการแพ้แบบนี้มาก่อน
ขั้นตอนที่ 3 ค้นหาสาเหตุอื่น
กรณี๣ึกษาที่ 3
ขั้นตอนที่ 4 ประเมินโดยใ๡้ Algorithm
Certain (ใ๡่แน่นอน) Probable (น่าจะใ๡่) Possible (อาจจะใ๡่) Unlikely (สง๤ัย)
เกิดขึ้นใน๡่วงระยะเวลาที่สอดคล้องกับการใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) และ เกิดขึ้นใน๡่วงเวลาที่ไม่สอดคล้องกับระยะ
เวลาการใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) และ
ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยโรคที่เป็นอยู่ หรือ
ยา หรือ สารเคมีอื่นๆ ที่ใ๡้ร่วม และ
ไม่น่าจะเกี่ยวข้องกับโรคที่เป็นอยู่
หรือ ยา หรือ สารเคมีอื่นๆ ที่ใ๡้
ร่วม และ
อาจสามารถอธิบายด้วยโรค
ที่เป็นอยู่ หรือ ยา หรือ สาร
เคมีอื่นๆ ที่ใ๡้ร่วม และ
ไม่สามารถอธิบายด้วยโรคที่เป็นอยู่ หรือ
ยา หรือ สารเคมีอื่นๆ ที่ใ๡้ร่วมได้อย่าง
๡ัดเจน
เมื่อหยุดใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) แล้ว
อาการไม่พึงประสงค์ดีขึ้น หรือหายจาก
อาการนั้นอย่างเห็นได้๡ัด และ
เมื่อหยุดใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา)
แล้วอาการไม่พึงประสงค์ดีขึ้น
หรือหายจากอาการนั้น แต่
ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับการหยุดใ๡้
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) หรือ
มีแต่ข้อมูลไม่สมบูรณ์
หากมีการใ๡้ยานั้น๢ํ้าอีกครั้ง จะต้องเกิด
อาการไม่พึงประสงค์ที่สามารถอธิบายได้
ด้วยฤทธิ์ทางเภ๤ัชวิทยาหรือเป็นอาการไม่
พึงประสงค์ที่ปรากฎเห็น๡ัด
อาจไม่มีข้อมูลของการใ๡้ยา๢ํ้าอีก
กรณี๣ึกษาที่ 3
ขั้นตอนที่ 4 ประเมินโดยใ๡้ Algorithm
Certain (ใ๡่แน่นอน) Probable (น่าจะใ๡่) Possible (อาจจะใ๡่) Unlikely (สง๤ัย)
เกิดขึ้นใน๡่วงระยะเวลาที่สอดคล้องกับการใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) และ เกิดขึ้นใน๡่วงเวลาที่ไม่สอดคล้องกับระยะ
เวลาการใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) และ
ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยโรคที่เป็นอยู่ หรือ
ยา หรือ สารเคมีอื่นๆ ที่ใ๡้ร่วม และ
ไม่น่าจะเกี่ยวข้องกับโรคที่เป็นอยู่
หรือ ยา หรือ สารเคมีอื่นๆ ที่ใ๡้
ร่วม และ
อาจสามารถอธิบายด้วยโรค
ที่เป็นอยู่ หรือ ยา หรือ สาร
เคมีอื่นๆ ที่ใ๡้ร่วม และ
ไม่สามารถอธิบายด้วยโรคที่เป็นอยู่ หรือ
ยา หรือ สารเคมีอื่นๆ ที่ใ๡้ร่วมได้อย่าง
๡ัดเจน
เมื่อหยุดใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) แล้ว
อาการไม่พึงประสงค์ดีขึ้น หรือหายจาก
อาการนั้นอย่างเห็นได้๡ัด และ
เมื่อหยุดใ๡้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา)
แล้วอาการไม่พึงประสงค์ดีขึ้น
หรือหายจากอาการนั้น แต่
ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับการหยุดใ๡้
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา) หรือ
มีแต่ข้อมูลไม่สมบูรณ์
หากมีการใ๡้ยานั้น๢ํ้าอีกครั้ง จะต้องเกิด
อาการไม่พึงประสงค์ที่สามารถอธิบายได้
ด้วยฤทธิ์ทางเภ๤ัชวิทยาหรือเป็นอาการไม่
พึงประสงค์ที่ปรากฎเห็น๡ัด
อาจไม่มีข้อมูลของการใ๡้ยา๢ํ้าอีก
กรณี๣ึกษาที่ 3ขั้นตอนที่ 4 ประเมินโดยใ๡้ Algorithm
กรณี๣ึกษาที่ 3ขั้นตอนที่ 4 ประเมินโดยใ๡้ Algorithm
1
2
1
1
0
2
0
0
7
Probable
กรณี๣ึกษาที่ 3
ขั้นตอนที่ 4 ประเมินโดยใ๡้ Algorithm
กรณี๣ึกษาที่ 3
ขั้นตอนที่ 4 ประเมินโดยใ๡้ Algorithm
Probable
กรณี๣ึกษาที่ 3ขั้นตอนที่ 5 สรุปผลการประเมิน
ผู้ป่วยแพ้ยา Phenytoin เกิด DRESS แนะนํา
ให้หยุดใ๡้ยา และใ๡้ยากัน๡ักตัวอื่นที่ไม่อยู่ใน
กลุ่ม aromatic anticonvulsants แทน
Phenytoin
ฟีนีโตอิน
DRESS
ผื่นทั่วตัวร่วมกับ
ภาวะตับอักเสบ
2
ภก.รชานนท์
3/11/57
ห้ามใ๡้ยากัน๡ักในกลุ่ม
aromatic
anticonvulsants
Thank You!
แนะนําอ่านเพิ่มเติม
ตรงประเด็น… เรื่อง Adverse Drug Reaction เล่ม 1 และ 2
ถอดบทเรียนจากการประชุมวิชาการ (Quality Conference) ครั้งที่ 4/2556 เรื่อง “บ่อง
ตง…แพ้แล้วอย่าแพ้อีก” http://www1.si.mahidol.ac.th/km/node/2403
Thai HP Practice Guidelines on Adverse Drug Reaction Monitoring (ADRM)
International Consensus on drug allergy 2014
Drug-Induced Diseases: Prevention, Detection, and Management, 2nd
Edition


Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์Utai Sukviwatsirikul
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาUtai Sukviwatsirikul
 
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาอาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาLatthapol Winitmanokul
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กOzone Thanasak
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentAuMi Pharmaza
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...MedicineAndHealth
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57Sirinoot Jantharangkul
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช Utai Sukviwatsirikul
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุแนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 

La actualidad más candente (20)

ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
Cpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in childrenCpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in children
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
 
Diuretics drugs
 Diuretics drugs Diuretics drugs
Diuretics drugs
 
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาอาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation present
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
 
Thaialgorithm Slide
Thaialgorithm SlideThaialgorithm Slide
Thaialgorithm Slide
 
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุแนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
 

Destacado

Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Lek Suthida
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงRachanont Hiranwong
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาamy69
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆTuanthon Boonlue
 
Adverse Drug Reactions - Identifying, Causality & Reporting
Adverse Drug Reactions - Identifying, Causality & ReportingAdverse Drug Reactions - Identifying, Causality & Reporting
Adverse Drug Reactions - Identifying, Causality & ReportingRuella D'Costa Fernandes
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKD
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKDคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKD
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKDCAPD AngThong
 
ความรู้พื้นฐานดูแลElder by healthcare provider
ความรู้พื้นฐานดูแลElder by healthcare providerความรู้พื้นฐานดูแลElder by healthcare provider
ความรู้พื้นฐานดูแลElder by healthcare providerSukhontis Sukhaneskul
 
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ Utai Sukviwatsirikul
 
Adverse drug reactions
Adverse drug reactionsAdverse drug reactions
Adverse drug reactionswcmc
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareSlideShare
 

Destacado (20)

ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
 
Integrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical careIntegrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical care
 
RDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung HospitalRDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung Hospital
 
Adverse Drug Reactions - Identifying, Causality & Reporting
Adverse Drug Reactions - Identifying, Causality & ReportingAdverse Drug Reactions - Identifying, Causality & Reporting
Adverse Drug Reactions - Identifying, Causality & Reporting
 
Clinical pharmacokinetics
Clinical pharmacokineticsClinical pharmacokinetics
Clinical pharmacokinetics
 
Adverse drug reactions
Adverse drug reactionsAdverse drug reactions
Adverse drug reactions
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKD
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKDคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKD
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKD
 
Asthma 2012
Asthma 2012Asthma 2012
Asthma 2012
 
ความรู้พื้นฐานดูแลElder by healthcare provider
ความรู้พื้นฐานดูแลElder by healthcare providerความรู้พื้นฐานดูแลElder by healthcare provider
ความรู้พื้นฐานดูแลElder by healthcare provider
 
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
 
Adverse drug reactions
Adverse drug reactionsAdverse drug reactions
Adverse drug reactions
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 
Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)
 
Physical Assessment for Phamacist
Physical Assessment for PhamacistPhysical Assessment for Phamacist
Physical Assessment for Phamacist
 

Similar a เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug reaction

2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfpraphan khunti
 
Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)Patinya Yutchawit
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาUtai Sukviwatsirikul
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 
Current practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis managementCurrent practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis managementUtai Sukviwatsirikul
 
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis ManagementCurrent Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis ManagementUtai Sukviwatsirikul
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookUtai Sukviwatsirikul
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีการจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีtechno UCH
 
วนิดา
วนิดาวนิดา
วนิดาsupphawan
 
ortho 02 orthopaedic complication & prevention + orthopaedic trauma (practica...
ortho 02 orthopaedic complication & prevention + orthopaedic trauma (practica...ortho 02 orthopaedic complication & prevention + orthopaedic trauma (practica...
ortho 02 orthopaedic complication & prevention + orthopaedic trauma (practica...vora kun
 

Similar a เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug reaction (20)

2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
 
Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษา
 
H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
Current practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis managementCurrent practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis management
 
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis ManagementCurrent Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
1409adr
1409adr1409adr
1409adr
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
Zoonosis
ZoonosisZoonosis
Zoonosis
 
Guideline for the_treatent
Guideline for the_treatentGuideline for the_treatent
Guideline for the_treatent
 
Guideline for the treatent of oa
Guideline for the treatent  of oaGuideline for the treatent  of oa
Guideline for the treatent of oa
 
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีการจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
 
วนิดา
วนิดาวนิดา
วนิดา
 
ortho 02 orthopaedic complication & prevention + orthopaedic trauma (practica...
ortho 02 orthopaedic complication & prevention + orthopaedic trauma (practica...ortho 02 orthopaedic complication & prevention + orthopaedic trauma (practica...
ortho 02 orthopaedic complication & prevention + orthopaedic trauma (practica...
 

Más de Rachanont Hiranwong

การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับการดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับRachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...Rachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...Rachanont Hiranwong
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...Rachanont Hiranwong
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558Rachanont Hiranwong
 
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานหลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานRachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...Rachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง Rachanont Hiranwong
 
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดนำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดRachanont Hiranwong
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555Rachanont Hiranwong
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลRachanont Hiranwong
 

Más de Rachanont Hiranwong (20)

การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับการดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
 
การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558
 
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
 
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานหลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
 
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดนำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
 
Eye medication slide
Eye medication slideEye medication slide
Eye medication slide
 
Food allergy slide2
Food allergy slide2Food allergy slide2
Food allergy slide2
 

เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug reaction