SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 9
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (SCHOOL BASED MANAGEMENT :SBM) ดร . ประกอบ  กุลเกลี้ยง
ความหมายของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน  (SBM) America Association of school Administration, 1993. online กล่าวว่าเป็นกลยุทธ์ในการปรับปรุงการศึกษา โดยเปลี่ยนอำนาจหน้าที่ในการตัดสินใจ ระดับรัฐ  (state)   หรือเขตการศึกษา  (School District)   ไปยังแต่ละ โรงเรียน ให้ผู้บริหารโรงเรียน ครู นักเรียน และผู้ปกครอง มีอำนาจควบคุมการจัดการ ศึกษามากขึ้น โดยให้มีหน้าที่และรับผิดชอบ ตัดสินใจ เกี่ยวกับงบประมาณ บุคลากร และหลักสูตร Edley,Jr.C.,1992   เป็นการให้ชุมชนในการจัดการศึกษามากขึ้น ผู้มีอำนาจ ตัดสินใจในระดับโรงเรียน ไม่ใช่มีแต่เพียงผู้บริหารเท่านั้น แต่ยังมีตัวแทนครู และ ผู้ปกครอง เป็นผู้มีอำนาจตัดสินใจร่วมด้วย อำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบ ของตัวแทน จะเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ด้านหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน กำหนดการและตารางเวลาต่างๆ การควบคุมวินัยนักเรียน งานบุคลากร  และงบประมาณ
ความหมายของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน  (SBM) David, JL. ,1989  เป็นแนวทางการบริหารการศึกษา แบบการกระจายอำนาจ การจัดการศึกษาไปยังสถานศึกษามากขึ้น ตามความเชื่อที่ว่า การให้โรงเรียนมีอำนาจ หน้าที่มากขึ้น จะทำให้สถานศึกษา มีประสิทธิภาพสูงขึ้น มีความยืดหยุ่นมากขึ้น และผลงานดีขึ้น อุทัย  บุญประเสริฐ  ,  2546   เป็นรูปแบบทางการบริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา ที่เน้นความสามารถในการบริหารตนเองได้ ของโรงเรียนโดยแต่ละโรงเรียน จะมีความ เป็นอิสระ และคล่องตัวในการบริหารจัดการมากขึ้น จะรับผิดชอบดูแลตนเอง ทั้งด้าน วิชาการหลักสูตร การเงิน การงบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป
ความหมายของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน  (SBM) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ,  2544   เป็นการบริหาร และการ จัดการศึกษาที่หน่วยปฏิบัติ โดยมีโรงเรียนเป็นฐาน หรือเป็นองค์กรหลัก ในการจัด การศึกษา ซึ่งจะต้องมีการกระจายอำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ ความอิสระคล่องตัว การบริหารจัดการ ทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ บุคลากร และการบริหารทั่วไป ภายใต้ คณะกรรมการโรงเรียน  (School Board   หรือ  School Committee   หรือ  School Council   ซึ่งประกอบด้วย ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนครู ผู้แทน องค์กรชุมชน ผู้แทนศิษย์เก่า ผู้แทนนักเรียน และผู้บริหาร เพื่อให้การจัดการศึกษา เป็นไปโดยมีส่วนร่วม และตรงตามความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครอง และชุมชน มากที่สุด
ความหมายของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน  (SBM) The World Bank, 2008. online. School-base management  Is the decentralization of level of authority  to the school level. Responsibility and decision-making over school, operations is transferred  to principals, teachers, parents, sometime students, And other school committee members. The school-level actors, However, have to conform to , or operate , within a set of centrally determined policies , ERIC Digest, 1995. online. define as the decentralization of decision-making authority to the school site, is one of the most  popular strategies that came out of the 1980 school reform movement.
SBM Principle Decentralization   การกระจายอำนาจ Self-Management   การบริหารตนเอง Participation   การมีส่วนร่วม Whole School Approach การกระจายอำนาจ Transformation Leadership   การบริหารตนเอง Accountability การตรวจสอบได้
Management school Resource, Physical Financial and Human Thailand Education Vision SBM Philosophy Beliefs Teaching Learning Technology Community Building and Partnership Quality Assurance And Accountability Community Building and Partnership Standards and Curriculum Leadership Development Model by Aus Aid , 200 I.P.104
ขั้นตอนการดำเนินการ   SBM ,[object Object],[object Object],[object Object],การเตรียมการ รูปแบบ  โดย บุญมี  เณรยอด  ,  2545 การดำเนินการ การประเมินผลและรายงานผล กำหนดเป้าหมาย  การพัฒนาสู่  SBM พัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพ สร้างกลไกการ ประกันคุณภาพ สร้างระบบการเงิน และ งบประมาณให้เหมาะสม สอดคล้อง ประชาสัมพันธ์ และรับฟังความคิดเห็น ดำเนินการพัฒนา ตามเป้าหมาย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การประเมินผล ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],นำผลการประเมินผล มาปรับปรุงงาน จัดทำรายงาน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
รูปแบบ  SBM   ในประเทศไทย 1.  แบบผู้นำสามประสาน ผู้บริหาร ครู และชุมชน มีความพร้อมและตั้งใจที่จะพัฒนา รูปแบบที่ปฏิบัติงาน ได้ง่ายและใช้เวลาน้อย 2.  แบบผู้บริหาร ครู เป็นผู้นำ เป็นรูปแบบที่ กรรมการสถานศึกษา และชุมชนยังไม่มีความเข้าใจ และยังไม่พร้อม ต้องอาศัยความตั้งใจ และความร่วมมือของผู้บริหาร และครู ทำอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ 3.  แบบผู้บริหารเป็นผู้นำ ต้องใช้เวลามาก ในการดำเนินงาน  แต่ก็ปะสบผลสำเร็จได้ ถ้าผู้บริหารกระทำอย่างต่อเนื่อง 4.  แบบครู - ชุมชน เป็นผู้นำ ผู้บริหารอาจเพิ่งย้ายมาใหม่ และมีการดำเนินการไว้ก่อนแล้ว ผู้บริหารต้องใช้เวลา ทำความเข้าใจก่อน

Más contenido relacionado

Similar a School Management

การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
Aiphie Sonia Haji
 
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมวิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
Muntana Pannil
 
1.แนวคิดก..
1.แนวคิดก..1.แนวคิดก..
1.แนวคิดก..
krupotjanee
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
Kobwit Piriyawat
 

Similar a School Management (20)

ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
 
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงเอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
4 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar554 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar55
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 
คู่มือ
คู่มือคู่มือ
คู่มือ
 
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมวิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
 
1.แนวคิดก..
1.แนวคิดก..1.แนวคิดก..
1.แนวคิดก..
 
Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 

School Management

  • 1. การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (SCHOOL BASED MANAGEMENT :SBM) ดร . ประกอบ กุลเกลี้ยง
  • 2. ความหมายของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (SBM) America Association of school Administration, 1993. online กล่าวว่าเป็นกลยุทธ์ในการปรับปรุงการศึกษา โดยเปลี่ยนอำนาจหน้าที่ในการตัดสินใจ ระดับรัฐ (state) หรือเขตการศึกษา (School District) ไปยังแต่ละ โรงเรียน ให้ผู้บริหารโรงเรียน ครู นักเรียน และผู้ปกครอง มีอำนาจควบคุมการจัดการ ศึกษามากขึ้น โดยให้มีหน้าที่และรับผิดชอบ ตัดสินใจ เกี่ยวกับงบประมาณ บุคลากร และหลักสูตร Edley,Jr.C.,1992 เป็นการให้ชุมชนในการจัดการศึกษามากขึ้น ผู้มีอำนาจ ตัดสินใจในระดับโรงเรียน ไม่ใช่มีแต่เพียงผู้บริหารเท่านั้น แต่ยังมีตัวแทนครู และ ผู้ปกครอง เป็นผู้มีอำนาจตัดสินใจร่วมด้วย อำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบ ของตัวแทน จะเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ด้านหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน กำหนดการและตารางเวลาต่างๆ การควบคุมวินัยนักเรียน งานบุคลากร และงบประมาณ
  • 3. ความหมายของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (SBM) David, JL. ,1989 เป็นแนวทางการบริหารการศึกษา แบบการกระจายอำนาจ การจัดการศึกษาไปยังสถานศึกษามากขึ้น ตามความเชื่อที่ว่า การให้โรงเรียนมีอำนาจ หน้าที่มากขึ้น จะทำให้สถานศึกษา มีประสิทธิภาพสูงขึ้น มีความยืดหยุ่นมากขึ้น และผลงานดีขึ้น อุทัย บุญประเสริฐ , 2546 เป็นรูปแบบทางการบริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา ที่เน้นความสามารถในการบริหารตนเองได้ ของโรงเรียนโดยแต่ละโรงเรียน จะมีความ เป็นอิสระ และคล่องตัวในการบริหารจัดการมากขึ้น จะรับผิดชอบดูแลตนเอง ทั้งด้าน วิชาการหลักสูตร การเงิน การงบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป
  • 4. ความหมายของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (SBM) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ , 2544 เป็นการบริหาร และการ จัดการศึกษาที่หน่วยปฏิบัติ โดยมีโรงเรียนเป็นฐาน หรือเป็นองค์กรหลัก ในการจัด การศึกษา ซึ่งจะต้องมีการกระจายอำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ ความอิสระคล่องตัว การบริหารจัดการ ทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ บุคลากร และการบริหารทั่วไป ภายใต้ คณะกรรมการโรงเรียน (School Board หรือ School Committee หรือ School Council ซึ่งประกอบด้วย ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนครู ผู้แทน องค์กรชุมชน ผู้แทนศิษย์เก่า ผู้แทนนักเรียน และผู้บริหาร เพื่อให้การจัดการศึกษา เป็นไปโดยมีส่วนร่วม และตรงตามความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครอง และชุมชน มากที่สุด
  • 5. ความหมายของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (SBM) The World Bank, 2008. online. School-base management Is the decentralization of level of authority to the school level. Responsibility and decision-making over school, operations is transferred to principals, teachers, parents, sometime students, And other school committee members. The school-level actors, However, have to conform to , or operate , within a set of centrally determined policies , ERIC Digest, 1995. online. define as the decentralization of decision-making authority to the school site, is one of the most popular strategies that came out of the 1980 school reform movement.
  • 6. SBM Principle Decentralization การกระจายอำนาจ Self-Management การบริหารตนเอง Participation การมีส่วนร่วม Whole School Approach การกระจายอำนาจ Transformation Leadership การบริหารตนเอง Accountability การตรวจสอบได้
  • 7. Management school Resource, Physical Financial and Human Thailand Education Vision SBM Philosophy Beliefs Teaching Learning Technology Community Building and Partnership Quality Assurance And Accountability Community Building and Partnership Standards and Curriculum Leadership Development Model by Aus Aid , 200 I.P.104
  • 8.
  • 9. รูปแบบ SBM ในประเทศไทย 1. แบบผู้นำสามประสาน ผู้บริหาร ครู และชุมชน มีความพร้อมและตั้งใจที่จะพัฒนา รูปแบบที่ปฏิบัติงาน ได้ง่ายและใช้เวลาน้อย 2. แบบผู้บริหาร ครู เป็นผู้นำ เป็นรูปแบบที่ กรรมการสถานศึกษา และชุมชนยังไม่มีความเข้าใจ และยังไม่พร้อม ต้องอาศัยความตั้งใจ และความร่วมมือของผู้บริหาร และครู ทำอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ 3. แบบผู้บริหารเป็นผู้นำ ต้องใช้เวลามาก ในการดำเนินงาน แต่ก็ปะสบผลสำเร็จได้ ถ้าผู้บริหารกระทำอย่างต่อเนื่อง 4. แบบครู - ชุมชน เป็นผู้นำ ผู้บริหารอาจเพิ่งย้ายมาใหม่ และมีการดำเนินการไว้ก่อนแล้ว ผู้บริหารต้องใช้เวลา ทำความเข้าใจก่อน