SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 66
การประยุกต์ใช้ แนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ   (PMQA)  ในการกำกับกิจการพลังงาน ศ . กิตติคุณ ดร . ดิเรก ลาวัณย์ศิริ ประธานกรรมการกำกับกิจการพลังงาน คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน หัวข้อการบรรยาย
P.   ลักษณะสำคัญขององค์กร  สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน PMQA  เป็นการนำแนวทาง   TQM (Total Quality Management) มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาระบบบริหารราชการของประเทศไทย 6.  การจัดการ กระบวนการ 5.  การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4.  การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3.  การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1.  การนำ องค์กร 2.  การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 7.  ผลลัพธ์ การดำเนินการ
รางวัลด้านคุณภาพของนานาประเทศ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Japan Canada USA Australia EU Singapore Japan USA Thailand
วางยุทธศาสตร์ ,[object Object],[object Object],[object Object],นำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การควบคุมเชิงยุทธศาสตร์ ,[object Object],การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ  (PMQA) MBNQA  +  พรฎ .  GG เกณฑ์คุณภาพ การบริหาร จัดการภาครัฐ (Criteria) รางวัลคุณภาพ แห่งชาติ  (TQA) รางวัลคุณภาพ การบริหาร จัดการภาครัฐ (PMQA) MBNQA  ภาคเอกชน ภาครัฐ
Goals / Strategies Concepts Vehicles Techniques Motivation Approach Intrinsic Technology General Education/Political Stability 3. Customer Focus 5. Human Focus 4. Information &  KM 2. Strategic Plan 1. Leadership 6. Process Management 7. Results Customer Satisfaction คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน TQM Concept
Lead the organization Manage the organization Improve the organization 1 2 5 11 6 4 3 10 8 7 9 คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน หลักคิด  11  ประการของ  TQM Customer Driven Excellence มุ่งเน้น ผู้รับบริการ Focus on Results & Creating Value เน้นผลลัพธ์ สร้างคุณค่า Systems  Perspective มองเชิงระบบ Focus on  Future เน้นอนาคต Social  Responsibility รับผิดชอบ สังคม Visionary  Leadership นำอย่างมี วิสัยทัศน์ Agility คล่องตัว Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญ พนักงาน เครือข่าย Managing For Innovation เน้นนวัตกรรม Org. &  Personal Learning องค์กรเรียนรู้ Management By Fact ตัดสินด้วย ข้อเท็จจริง คิด ทำ ปรับ
TQM  Concept PMQA  Framework   คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน การจัดการกลยุทธ์  PMQA Strategic Planning (SWOT/Map/Card) Improvement Plan (Tools & Standards) Assessment Report (SW) Criteria / Score (Assessment Tool) Management  Concept
คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน วงจรการพัฒนาคุณภาพการจัดการภาครัฐ
“ รางวัลมุ่งมั่นพัฒนาองค์การดีเด่น  หมวด  ........ ”   เข้าสู่การสมัครขอรับรางวัล   PMQA 1 80 100 หมวด  1  หมวด  2  หมวด  3  หมวด  4  หมวด  5  หมวด  6  2 3 4 5 6 7 8 9 10 หมวด  7  “  รางวัลการพัฒนา องค์การดีเด่น ” ผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ พัฒนาสู่ความโดดเด่นรายหมวด เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental  Level)  Successful Level เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพ  การบริหารจัดการภาครัฐ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน หัวข้อการบรรยาย
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน วัตถุประสงค์ของการกำกับกิจการพลังงาน
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน วัตถุประสงค์ของการกำกับกิจการพลังงาน
แนวทางการกำกับกิจการพลังงาน คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน การกำกับดูแล การประกอบการ การพิจารณา ข้อพิพาทและ การอุทธรณ์ บทกำหนดโทษ การมีส่วนร่วม การใช้ อสังหาริมทรัพย์ การอนุญาต
คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ข้อบังคับ / ระเบียบการประกอบกิจการไฟฟ้า :  ตาม พรบ . การประกอบกิจการพลังงาน พ . ศ . 2550
หน้าที่และบทบาท กกพ . ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน หน้าที่และบทบาท กกพ .
[object Object],[object Object],[object Object],หลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขการออกใบอนุญาต รับรองผลการตรวจสอบมาตราฐานความปลอดภัย ซึ่งจ่ายค่าไฟฟ้าแพงขึ้น จากศูนย์ควบคุมไฟฟ้า เลือกปฎิบัติไม่เป็นธรรม คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน หน้าที่และบทบาท กกพ .
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน หัวข้อการบรรยาย
[object Object],[object Object],[object Object],คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ปรัชญาการนำ  PMQA  มาประยุกต์ใช้ ในการกำกับกิจการพลังงาน
หมวด  1 กำหนดทิศทางองค์กร สื่อสาร สร้างความเข้าใจ วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ ค่านิยม ผลการดำเนินการที่คาดหวัง Stakeholder  โดยยึด หลักโปร่งใส 2   ways แต่ละกลุ่ม  OP 3,8 สร้างบรรยากาศ เป็นตัวอย่างที่ดี  (role model) ทบทวนผลการดำเนินการ ตัวชี้วัด  (5)  ( หมวด  4.1) ประเมินความสำเร็จการบรรลุเป้าประสงค์ หมวด  2   ประเมินความสามารถ การตอบสนองการเปลี่ยนแปลง จัดลำดับความสำคัญ ปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร ผ่านกลไกการกำกับดูแลตนเองที่ดี  ( OP 6) การนำองค์กร LD 1 LD 1 LD 2 LD 3 LD 4 LD 4 LD 4 LD 3 ทำงานอย่างมีจริยธรรม LD 5,6 LD 6 ,[object Object],[object Object],[object Object],การทำงานมีผลกระทบ ต่อสังคม ,[object Object],[object Object],[object Object],LD 7 ความรับผิดชอบต่อสังคม
2008 © Energy Regulatory commission ,[object Object],[object Object],พันธกิจ   “ กำกับดูแลการประกอบกิจการพลังงานให้มีระบบการบริหาร จัดการพลังงานให้มีความมั่นคงและเชื่อถือได้ มีประสิทธิภาพ  เป็นธรรมต่อทั้งผู้ใช้และผู้ประกอบกิจการพลังงาน ตลอดจนเป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม โดยยึดมั่นต่อการปฏิบัติหน้าที่อย่างเที่ยงธรรม และโปร่งใส เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน  ทั้งในด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ” TRUST คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน วิสัยทัศน์และพันธกิจ การกำกับดูแลกิจการพลังงาน
T Trust  ความเชื่อมั่น Stakeholders can trust that commitment will be kept . ผู้มีส่วนได้เสียสามารถเชื่อมั่นในสิ่งที่ กกพ .  ตัดสินใจและดำเนินการ R Reliability and  Consistency ความน่าเชื่อถือ และความแน่วแน่  มั่นคง Regulator is not captured by the operator or other special in terests and regulator’s decisions are consistent over time . ผู้กำกับกิจการจะกำกับด้วยความเป็นธรรม ไม่ยึดติดกับหน่วยงานหรือปัจจัยพิเศษอื่นๆ และการตัดสินใจของผู้กำกับกิจการจะต้องมี ความแน่วแน่ มั่นคง   สม่ำเสมอ U Unity เอกภาพ Unity ,  teamwork , happy  and alignment  within ERC มีเอกภาพ สามัคคี มีความสุข และมีจุดหมายเดียวกันภายในองค์กร S Social Accountability สังคมสามารถตรวจสอบได้  มีสำนึกในหน้าที่ ความรับผิดชอบ Operation, decision, and appeal processes are accountable and opened for public participation . การดำเนินการและการตัดสินใจ สามารถชี้แจง และเปิดเผยต่อสาธารณชนได้ T Transparency and Independence โปร่งใส และเป็นอิสระ Operation, decision, and appeal processes are transparent and under the law,  arms-length relationships with key stakeholders, economic autonomy . การดำเนินการ การตัดสินใจ และกระบวนการอุทธรณ์ รับเรื่องร้องเรียนเป็นไปด้วยความโปร่งใส และภายใต้กฎหมาย มีความสำคัญใกล้ชิดกับผู้มีส่วนได้เสีย และมีอิสระทางการเงิน คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ค่านิยมหลัก
คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ประเด็นการพัฒนาเพิ่มเติมในหมวด  1 ประเด็นการพัฒนา ระดับความเร่งด่วน การสื่อสารค่านิยม และการแปลงค่านิยมหลักไปสู่กระบวนการบริหารงานบุคคล เช่น การคัดเลือกบุคลากร การพัฒนาบุคลากร ตลอดจนการประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคลบนพื้นฐานค่านิยมหลัก มาก การส่งเสริมให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมีจริยธรรม  ( การประกาศจริยธรรม  การติดตามและจูงใจให้บุคลากรปฏิบัติตามจริยธรรมที่กำหนด ) มาก การจัดให้มีข้อมูลเปรียบเทียบ  ( Benchmark)  กับหน่วยงานกำกับกิจการพลังงานกับประเทศอื่นๆ มาก การจัดให้มีการสื่อสารสองทางระหว่างผู้บริหารกับบุคลากร ปานกลาง การสร้างความผูกพันระหว่างผู้บริหารกับบุคลากร มาก การจัดรางวัลยกย่อง ชมเชยบุคลากร เพื่อเสริมสร้างให้มีผลการดำเนินงานที่ดี มาก
ทิศทางองค์กร ความรับผิดชอบต่อสังคม วางแผนยุทธศาสตร์ ปัจจัย  (9  ตัว ) ภายนอก ภายใน ประเด็นยุทธศาสตร์ / เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ / กลยุทธ์หลัก ถ่ายทอด   แผนยุทธศาสตร์  (Strategy Map) สื่อสาร สร้างความเข้าใจ แผนปฏิบัติการ การบริหาร   ความเสี่ยง ตัวชี้วัด ใช้ติดตาม เป้าหมาย การคาดการณ์  -  ผลปีที่ผ่านมา จัดสรรทรัพยากร นำไปปฏิบัติ แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล โอกาส / ความท้าทาย  (OP)  ระยะสั้น ยาว Stakeholder (OP) การวางแผน  ยุทธศาสตร์ ผู้รับบริการ / IT/ คู่เทียบ / บุคลากร / จุดแข็ง จุดอ่อน / การปรับเปลี่ยนทรัพยากร SP 1 SP 2 SP 1 SP 6 SP 7 SP 3 SP 5 SP 6 SP 4 SP 3 หมวด  2 การสื่อสารและถ่ายทอด  ยุทธศาสตร์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
รัฐบาล ผู้บริโภค ผู้ประกอบการ ชุมชน สังคมโดยรวม โครงสร้างพลังงาน มีความมั่นคง เชื่อถือได้ และปลอดภัย - ระดับการผลิตสำรองทีเหมาะสม - การกระจายแหล่งและชนิดของเชื้อเพลิง - ไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน - ระบบขนส่งและจำหน่ายก๊าซเพียงพอและปลอดภัย ปกป้องผลประโยชน์ผู้ใช้พลังงาน - คุณภาพการ บริการที่ดี - คุ้มครองสิทธิของผู้ใช้พลังงาน - มาตรฐานความปลอดภัยสูง - ประสิทธิภาพการออกใบอนุญาต เสริมสร้างการจัดการและการแข่งขันที่ดี - สนับสนุนการแข่งขัน - สัดส่วนการผลิตไฟฟ้าที่เหมาะสม - ผู้ใช้สามารถเข้าถึงพลังงานได้หลายรูปแบบ - เปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการสามารถใช้เครือข่ายร่วมกันได้ - เปิดโอกาสให้มีการซื้อขายไฟฟ้าตรงได้ การประกอบกิจการพลังงานและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การมีส่วนร่วมต่อการพัฒนาระบบพลังงาน - จัดตั้งกรรมการผู้ใช้พลังงานประจำเขต - ตั้งกองทุนพัฒนาไฟฟ้า - จัดตั้งส่วนประสานงานใน สกพ . ปฏิบัติงานอย่างโปร่งใสเป็นธรรม - จัดทำแนวทางปฏิบัติงาน  ( Code of Conduct) - ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การสรรหาและพัฒนาบุคลากร การพัฒนาระบบ  ICT  สนับสนุนกิจการ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การจัดเก็บค่าธรรมเนียมที่เพียงพอต่อการดำเนินงาน การพัฒนาประสิทธิภาพในการใช้จ่ายเงิน และการใช้ทรัพย์สิน รวมทั้งกองทุนพัฒนาไฟฟ้า สรุปแผนยุทธศาสตร์การกำกับกิจการพลังงาน วิสัยทัศน์ กำกับดูแลให้การประกอบกิจการพลังงานของไทยมีความเชื่อถือได้โดยมีมาตรฐานและเป็นที่ยอมรับในระดับสากล   Stakeholder Perspective Internal Process  Perspective Learning and Growth Perspective Financial Perspective
ยุทธศาสตร์ที่  1 :  การออกใบอนุญาต กำกับดูแลและปกป้องผลประโยชน์   ของผู้ใช้พลังงาน ชุมชน และประเทศชาติ ยุทธศาสตร์ที่  2 :  การส่งเสริมการประกอบกิจการและการใช้พลังงาน   อย่างมีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่  3 :  การส่งเสริมการบริหารจัดการที่ดีและการแข่งขัน   ในกิจการพลังงาน ยุทธศาสตร์ที่  4 :  การส่งเสริมโครงสร้างพลังงานของประเทศให้มีความมั่นคง    เชื่อถือได้ และปลอดภัย ยุทธศาสตร์ที่  5 :  การส่งเสริมการมีส่วนร่วมต่อการพัฒนาระบบพลังงาน ยุทธศาสตร์ที่  6 :  การพัฒนาองค์กรสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง    มีภาพลักษณ์ที่ดี เป็นองค์กรชั้นนำในระดับประเทศ มีกระบวนการออกใบอนุญาต และกำกับดูแลที่โปร่งใส มีมาตรฐาน ปกป้องผลประโยชน์ผู้ใช้พลังงาน  ชุมชน  ประเทศชาติ การประกอบกิจการและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีการแข่งขันในกิจการพลังงานอย่างเป็นธรรม ป้องกันการใช้อำนาจผูกขาดในทางมิชอบ ประเทศไทยมีโครงสร้างพลังงานที่มีความมั่นคง เชื่อถือได้ ปลอดภัย ชุมชน ประชาชน ผู้ใช้พลังงานและผู้ประกอบการ  มีส่วนร่วมต่อการพัฒนา ระบบพลังงานไทย ปฏิบัติหน้าที่อย่างโปร่งใส มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน แผนยุทธศาสตร์  5  ปี
2008 © Energy Regulatory commission ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ผลลัพธ์ที่จะได้รับจากยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์  การประกอบกิจการพลังงานฉบับที่  1  พ . ศ .2551-2555 6  ยุทธศาสตร์ กกพ . 1.  การออกใบอนุญาต กำกับดูแล และปกป้องผลกระโยชน์ของผู้ใช้พลังงาน ชุมชนและประเทศชาติ 2.  การส่งเสริมการประกอบกิจการและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ 3.  การส่งเสริมการบริหารจัดการที่ดีและการแข่งขันในกิจการพลังงาน 4.  การส่งเสริมโครงสร้างพลังงานของประเทศให้มีความมั่นคง เชื่อถือได้และปลอดภัย 5.  การส่งเสริมการมีส่วนร่วมต่อการพัฒนาระบบ พลังงาน 6.  การพัฒนาองค์กรสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง มีภาพลักษณ์ที่ดี เป็นองค์กร ชั้นนำในระดับประเทศ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ มีกระบวนการออกใบอนุญาตประกอบกิจการที่มีประสิทธิภาพ  มีหลักเกณฑ์ที่เป็นสากล โปร่งใส  เป็นธรรม เพิ่ม ประสิทธิ ภาพในการผลิต ระบบส่งและระบบจำหน่ายไฟฟ้า / ก๊าซ กำกับดูแลค่า บริการให้โปร่งใสและเป็นธรรม การบริหารจัดการที่ดีและการแข่งขันอย่างเป็นธรรม ในการประกอบกิจการพลังงาน โครงสร้างพลังงาน ของประเทศมีความมั่นคง เชื่อถือได้และปลอดภัย จัดตั้ง คกก .  ผู้ใช้พลังงานประจำเขตและกองทุนพัฒนาไฟฟ้าเพื่อสร้างการมีส่วนร่วม ปชช .  มีความรู้ เข้าใจตระหนักถึงงานกำกับดูแลกิจการพลังงาน จัดระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพสูง โปร่งใส และ เป็นธรรมเป็นที่ยอมรับในระดับสากล ระดับความสำเร็จ  ( Milestone) กรอบการจัดทำแผนการดำเนินงาน ปีงบประมาณ  2553 2558-2561 ก้าวสู่ความเป็นเลิศด้านการกำกับดูแล 2555- 2557 พัฒนา ปรับปรุง เพื่อความทันสมัย 2553-2554 สร้างประสิทธิผลและประสิทธิภาพ 2551-2552 วางรากฐาน
คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน การบริหารและติดตามผลงานเชิงยุทธศาสตร์
คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ประเด็นการพัฒนาเพิ่มเติมในหมวด  2 ประเด็นการพัฒนา ระดับความเร่งด่วน การกระจายความรับผิดชอบของตัวชี้วัดและโครงการลงสู่หน่วยงานภายในให้ชัดเจนยิ่งขึ้น มาก การจัดระบบการบริหาร เพื่อให้มีการรายงานความก้าวหน้าของโครงการ และผลงานตามตัวชี้วัดที่ได้กระจายให้หน่วยงาน ผ่านทาง  iERc มาก การจัดให้มีข้อมูลเชิงวิเคราะห์ พยากรณ์ เพื่อสนับสนุน  การตัดสินใจ ปานกลาง การจัดระบบบริหารความเสี่ยง ( Risk Management) ปานกลาง
หมวด  3  แบ่งกลุ่มผู้รับบริการ ผู้รับบริการที่พึงมีในอนาคต หาเครื่องมือที่เหมาะสม แต่ละกลุ่ม รับฟังความต้องการ / ความคาดหวัง หาความต้องการร่วมของแต่ละกลุ่ม (Common Need) ออกแบบกระบวนการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี สื่อสาร สร้างความเข้าใจ  /  กำหนดวิธีปฏิบัติ วัดความพึงพอใจ / ไม่พึงพอใจ ปรับปรุงกระบวนการ  ( หมวด  6) -  ขอข้อมูล -  ขอรับบริการ -  ร้องเรียน -  กิจกรรม วางแผนปฏิบัติงาน  ( หมวด  2) ปรับปรุงกระบวนการ  ( หมวด  6) พัฒนาบริการ  ( หมวด  6) ติดตามคุณภาพบริการ กระบวนการจัดการ ข้อร้องเรียน ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการ สอดคล้องตาม  OP (8) CS1 CS2 CS3 CS6 CS6 CS7 CS 2 CS5 CS3 CS3 การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ CS4
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน กิจกรรมที่ได้ดำเนินการ และสอดคล้องกับ  PMQA  หมวด  3
คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ระบบรับเรื่องร้องเรียน
ตรวจสอบสถานะเรื่องร้องเรียน คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ระบบรับเรื่องร้องเรียน
สรุปงานเรื่องร้องเรียน คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ระบบรับเรื่องร้องเรียน
คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ประเด็นการพัฒนาเพิ่มเติมในหมวด  3 ประเด็นการพัฒนา ระดับความเร่งด่วน การจัดแผนงาน / กระบวนการอย่างเป็นทางการ เพื่อรับฟังข้อคิดเห็นจากผู้ประกอบกิจการ ชุมชน  ประชาชน ปานกลาง การจัดระบบประเมินความพึงพอใจของผู้ประกอบกิจการ ชุมชน  ประชาชน ปานกลาง
ระบบการวัด เลือกข้อมูลสารสนเทศ -  leading/lagging indicator   ข้อมูลเปรียบเทียบ ติดตามผลการปฏิบัติงาน  ( หมวด  6) Daily Management ผลการดำเนินการโดยรวม  ( หมวด  2/7) นวัตกรรม  ( หมวด  2/6) รวบรวม วิเคราะห์ผล สื่อสารผล การวิเคราะห์ ทบทวนผลการดำเนินการ  ( หมวด  1) วางแผนยุทธศาสตร์  ( หมวด  2) วางระบบการจัดการ -  ข้อมูลสารสนเทศ  -  อุปกรณ์สารสนเทศ -  ความพร้อมใช้งาน -  การเข้าถึง -  เชื่อถือได้ -  ปลอดภัย -  ใช้งานง่าย การจัดการความรู้ ข้อมูลสารสนเทศ ครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย ความรู้ รวบรวม จัดให้เป็นระบบ ถ่ายทอด / Sharing บุคลากร ผู้รับบริการ / องค์กรอื่น Best Practices การวัด  การวิเคราะห์ สอดคล้องตาม  OP (15) สอดคล้องตาม  OP (4) IT 1  IT 1 - 3 IT 4 IT 5,6 IT 7 หมวด  4 การจัดการสารสนเทศ  IT   และความรู้
iERc Intelligent Energy Regulatory Center ศูนย์กำกับกิจการพลังงานอัจฉริยะ คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน
ศูนย์กำกับกิจการพลังงานอัจฉริยะ  (iERc)
ศูนย์กำกับกิจการพลังงานอัจฉริยะ  (iERc) การออก ใบอนุญาตฯ และการกำกับกิจการฯ ข้อมูลสถิติ / ผลงานตามยุทธศาสตร์และพันธกิจ  การประกอบกิจการไฟฟ้า การประกอบกิจการก๊าซ ข้อมูลสถานการณ์พลังงาน ข้อมูลสถานการณ์เชิงมหภาค ดัชนีทาง เศรษฐกิจ ที่สำคัญ ข้อมูลการบริหารจัดการภายใน สกพ . การส่งเสริม การประกอบกิจการ และการใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพ  การส่งเสริม การบริหารจัดการที่ดี และการแข่งขัน ในกิจการพลังงาน การส่งเสริม โครงสร้างพลังงาน ให้มีความมั่นคง เชื่อถือได้ ปลอดภัย การส่งเสริม การมีส่วนร่วม ต่อการพัฒนา ระบบพลังงาน การพัฒนาระบบงาน และระบบบริหารจัดการ ความก้าวหน้า โครงการ ผลงานตาม ตัวชี้วัด การเบิกจ่าย งบประมาณ 1 2 3 4
ศูนย์กำกับกิจการพลังงานอัจฉริยะ  (iERc) Data Warehouse Data Warehouse  วิเคราะห์ / บูรณาการ ติดตามสถานการณ์ แหล่งข้อมูลภายใน แหล่งข้อมูลภายนอก 4  กลุ่มข้อมูลหลัก การประกอบ กิจการ สถานการณ์ เชิงมหภาค ผลงานตาม ยุทธศาสตร์ / พันธกิจ การบริหาร จัดการ ประมวลข้อมูล จัดรูปแบบการนำเสนอ นำเสนอใน  iERc รวบรวมข้อมูล จัดการข้อมูล พยากรณ์ / จำลองสถานการณ์
ศูนย์กำกับกิจการพลังงานอัจฉริยะ  (iERc) สถานการณ์ เชิงมหภาค การเบิกจ่าย งบประมาณ ความก้าวหน้า โครงการ ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน ( ตามหน่วยงาน ) กิจการก๊าซฯ กิจการไฟฟ้า (2) กิจการไฟฟ้า (1) ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน ( ตามยุทธศาสตร์ ) การออกใบอนุญาตฯ และ การกำกับกิจการพลังงาน การส่งเสริม การประกอบกิจการ และการใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพ  การส่งเสริม การบริหารจัดการที่ดีและ การแข่งขันในกิจการพลังงาน การส่งเสริม โครงสร้างพลังงาน ให้มีความมั่นคง  เชื่อถือได้ ปลอดภัย การส่งเสริม การมีส่วนร่วมต่อการ พัฒนาระบบพลังงาน  การพัฒนาระบบงาน และระบบบริหารจัดการ หน้าจอหลัก ( ด้านหน้า ) หน้าจอหลัง ( ข้อมูล  Real-time ) 1 2 3 4 5 6 7 9 8 10 B1 B2 B3 A3 A2 A1
คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ตัวอย่างข้อมูลที่นำเสนอใน  iERc
คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ตัวอย่างข้อมูลที่นำเสนอใน  iERc
คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน KM : Knowledge Management
คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน e-Learning
คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ประเด็นการพัฒนาเพิ่มเติมในหมวด  4 ประเด็นการพัฒนา ระดับความเร่งด่วน การจัดระบบรักษาความปลอดภัยและความลับของระบบ  IT เพิ่มเติม น้อย
หมวด  5 สภาพแวดล้อมการทำงาน ความพึงพอใจ สถานที่ อุปกรณ์การทำงาน  -  ตัวชี้วัด / เป้าหมาย -  การมีส่วนร่วม เตรียมพร้อมภาวะฉุกเฉิน หาปัจจัย กำหนดตัวชี้วัด / วิธีการประเมิน สร้างแรงจูงใจ / จัดระบบสวัสดิการ ประเมินผล จัดลำดับความสำคัญ ปรับปรุง สอดคล้อง กับผลลัพธ์องค์กร HR 1 ระบบประเมินผล ระบบยกย่อง / จูงใจ กำหนดคุณลักษณะและทักษะที่จำเป็น ระบบการแลกเปลี่ยนความรู้ / ทักษะของบุคลากร พัฒนาบุคลากร  ทางการ / ไม่ทางการ ทำงานตามแผนปฏิบัติงาน  ( หมวด  2) สมดุลทั้งความต้องการองค์กรและความต้องการบุคลากร  ( หมวด  5.1) ,[object Object],[object Object],ความรู้ในองค์กร  ( หมวด  4.2) บุคลากร หน . งาน / ผู้บังคับบัญชา องค์กร ส่งเสริมนำไปปฏิบัติ HR 2 HR 5 HR 3 HR 3 ประเมินผลประสิทธิผลการฝึกอบรม  -  ผลการปฏิบัติงานของบุคคล -  ผลการดำเนินงานขององค์กร HR 4 ความผาสุก การพัฒนาบุคลากร และภาวะผู้นำ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน กิจกรรมที่ได้ดำเนินการ และสอดคล้องกับ  PMQA  หมวด  5
คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ประเด็นการพัฒนาเพิ่มเติมในหมวด  5 ประเด็นการพัฒนา ระดับความเร่งด่วน การสำรวจความคิดเห็นของบุคลากร เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพัน และความพึงพอใจของบุคลากร ปานกลาง การตั้งเป้าหมายการทำงานระดับบุคคล และเชื่อมโยงกับระบบการจูงใจ / เสริมแรง มาก การจัดระบบ  Kaizen/Suggestion/QCC  เพื่อเสริมสร้างให้บุคลากร  มีส่วนร่วมมากยิ่งขึ้นในการพัฒนาองค์กรและสร้างนวัตกรรมสำหรับ  การปฏิบัติงาน ปานกลาง การจัดตั้งคณะทำงานในลักษณะข้ามสายงาน  ( Cross-Function)  เพื่อร่วมเป็นคณะกรรมการในการร่วมพัฒนาองค์กร ปานกลาง การทบทวนโครงสร้างอัตรากำลังให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานตามพันธกิจและยุทธศาสตร์ ปานกลาง การจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ที่สะท้อนถึงการพัฒนาบุคลากรที่สอดคล้องกับสมรรถนะประจำตำแหน่ง ปานกลาง การจัด เตรียมพร้อมภาวะฉุกเฉิน ปานกลาง การจัดกิจกรรม เพื่อเสริมสร้างให้บุคลากรมีความผูกพันกับองค์กร มาก
หมวด   6  กำหนดกระบวนการ ข้อกำหนดที่สำคัญ ความต้องการผู้รับบริการ  ( หมวด  3) กฎหมาย กฎ ระเบียบ  ( OP) ออกแบบ กระบวนการ องค์ความรู้ / IT เป้าหมายภารกิจ ระยะเวลา / ค่าใช้จ่าย / ผลิตภาพ ความต้องการผู้รับบริการ การจัดการกระบวนการ สู่การปฏิบัติ กำหนดตัวชี้วัดควบคุมกระบวนการ ลดค่าใช้จ่ายใน การตรวจสอบ ป้องกัน ความผิดพลาด ปรับปรุงกระบวนการ สอดคล้องตาม  OP แลกเปลี่ยนเรียนรู้ นวัตกรรม การจัดการกระบวนการ PM 1 PM 2 PM 3 PM6 PM6 PM 4 PM  5 การออกแบบกระบวนการ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน กิจกรรมที่ได้ดำเนินการ และสอดคล้องกับ  PMQA  หมวด  6
คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน การอนุญาตฯ
คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน การอนุญาตฯ
คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน การอนุญาตฯ
คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน การประชุมคณะกรรมการ / อนุกรรมการ  ( e-Meeting)
คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ,[object Object]
คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน การบริหารงานบุคคล
คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน งานสารบรรณ
คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน งานสารบรรณ
คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ประเด็นการพัฒนาเพิ่มเติมในหมวด  6 ประเด็นการพัฒนา ระดับความเร่งด่วน การออกแบบและจัดการกระบวนการในงานด้านกฎหมายเพิ่มเติม โดยนำ  IT  มาสนับสนุน ปานกลาง การจัดทำแผนคุณภาพ  ( Quality plan)  เพื่อสรุปจุดสำคัญที่ต้องควบคุมใน  แต่ละกระบวนงาน  ( ทั้งงานหลักและงานสนับสนุน )  ปานกลาง การติดตามและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ปานกลาง
Linkage Li Level Le Trend T Compare C ผลลัพธ์การดำเนินการ ( KPI) Goal Benchmark Trend Key Measure คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ประเด็นการติดตามผลการดำเนินงาน ตามหมวด  7
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน หัวข้อการบรรยาย
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน สรุป
 

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007wutichai
 
New km เครือซิเมนต์ไทย
New km เครือซิเมนต์ไทยNew km เครือซิเมนต์ไทย
New km เครือซิเมนต์ไทยjanecastle
 
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณาSlide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณาNatepanna Yavirach
 
Lean 6 - Lean Six Sigma (LSS)
Lean 6 - Lean Six Sigma (LSS) Lean 6 - Lean Six Sigma (LSS)
Lean 6 - Lean Six Sigma (LSS) maruay songtanin
 
ขั้นตอนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป๋นเลิศ
ขั้นตอนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป๋นเลิศขั้นตอนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป๋นเลิศ
ขั้นตอนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป๋นเลิศsamtej
 
Business Process Improvement by Kaizen
Business Process Improvement by KaizenBusiness Process Improvement by Kaizen
Business Process Improvement by KaizenNukool Thanuanram
 
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลงวิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลงstjohnbatch753
 
ทีโอที กับ การจัดการความรู้
ทีโอที กับ การจัดการความรู้ทีโอที กับ การจัดการความรู้
ทีโอที กับ การจัดการความรู้Satapon Yosakonkun
 
Change strategic management
Change strategic managementChange strategic management
Change strategic managementcapercom
 
NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writingChutikarn Haruthai
 
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทยChapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทยwanna2728
 
การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารJuneSwns
 

La actualidad más candente (20)

การบริหารการเปลี่ยนแปลง1
การบริหารการเปลี่ยนแปลง1การบริหารการเปลี่ยนแปลง1
การบริหารการเปลี่ยนแปลง1
 
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
 
New km เครือซิเมนต์ไทย
New km เครือซิเมนต์ไทยNew km เครือซิเมนต์ไทย
New km เครือซิเมนต์ไทย
 
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณาSlide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
 
Lean 6 - Lean Six Sigma (LSS)
Lean 6 - Lean Six Sigma (LSS) Lean 6 - Lean Six Sigma (LSS)
Lean 6 - Lean Six Sigma (LSS)
 
ขั้นตอนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป๋นเลิศ
ขั้นตอนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป๋นเลิศขั้นตอนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป๋นเลิศ
ขั้นตอนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป๋นเลิศ
 
Overview NQA
Overview NQAOverview NQA
Overview NQA
 
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
 
Business Process Improvement by Kaizen
Business Process Improvement by KaizenBusiness Process Improvement by Kaizen
Business Process Improvement by Kaizen
 
การนำเสนอในการประชุม
การนำเสนอในการประชุมการนำเสนอในการประชุม
การนำเสนอในการประชุม
 
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลงวิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
 
Tqa
TqaTqa
Tqa
 
ทีโอที กับ การจัดการความรู้
ทีโอที กับ การจัดการความรู้ทีโอที กับ การจัดการความรู้
ทีโอที กับ การจัดการความรู้
 
Change strategic management
Change strategic managementChange strategic management
Change strategic management
 
NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writing
 
Iqa iso9001 dark style
Iqa iso9001 dark styleIqa iso9001 dark style
Iqa iso9001 dark style
 
Kpi 18 1_55
Kpi 18 1_55Kpi 18 1_55
Kpi 18 1_55
 
Organization Theory
Organization TheoryOrganization Theory
Organization Theory
 
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทยChapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
 
การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหาร
 

Destacado

Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Aj.Mallika Phongphaew
 
Im523 01 Overview
Im523 01 OverviewIm523 01 Overview
Im523 01 Overviewprakitti
 
002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organizationwiraja
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์wiraja
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการNapin Yeamprayunsawasd
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การChapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การwanna2728
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newRungnapa Rungnapa
 
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การChapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การwanna2728
 
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การChapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การwanna2728
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theorieswiraja
 

Destacado (12)

Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
Im523 01 Overview
Im523 01 OverviewIm523 01 Overview
Im523 01 Overview
 
002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
 
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การChapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
 
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การChapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
 
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การChapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories
 

Similar a Erc Seminar Pmqa

ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)M.L. Kamalasana
 
Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Areté Partners
 
ผลกระทบคุณภาพงบการเงิน
ผลกระทบคุณภาพงบการเงินผลกระทบคุณภาพงบการเงิน
ผลกระทบคุณภาพงบการเงินKetsaraphornSaleenak
 
Iso5001 ความเป็นมาและข้อกำหนดมาตรฐาน
Iso5001 ความเป็นมาและข้อกำหนดมาตรฐานIso5001 ความเป็นมาและข้อกำหนดมาตรฐาน
Iso5001 ความเป็นมาและข้อกำหนดมาตรฐานkusol manyuen
 
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากรคู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากรINNOVATION TECNOLOGY
 
2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of managementWatcharin Chongkonsatit
 
TQM & Operations Management for Sustainability
TQM & Operations Management for SustainabilityTQM & Operations Management for Sustainability
TQM & Operations Management for SustainabilitySajee Sirikrai
 
2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of managementWC Triumph
 
The integrated management system 2015
The integrated management system 2015The integrated management system 2015
The integrated management system 2015maruay songtanin
 

Similar a Erc Seminar Pmqa (20)

ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
 
Energy manager
Energy managerEnergy manager
Energy manager
 
Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
ผลกระทบ
ผลกระทบผลกระทบ
ผลกระทบ
 
ผลกระทบคุณภาพงบการเงิน
ผลกระทบคุณภาพงบการเงินผลกระทบคุณภาพงบการเงิน
ผลกระทบคุณภาพงบการเงิน
 
ผลกระทบ
ผลกระทบผลกระทบ
ผลกระทบ
 
Tqa
TqaTqa
Tqa
 
Iso5001 ความเป็นมาและข้อกำหนดมาตรฐาน
Iso5001 ความเป็นมาและข้อกำหนดมาตรฐานIso5001 ความเป็นมาและข้อกำหนดมาตรฐาน
Iso5001 ความเป็นมาและข้อกำหนดมาตรฐาน
 
Tqm
TqmTqm
Tqm
 
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากรคู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
 
2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management
 
เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54
 
TQM & Operations Management for Sustainability
TQM & Operations Management for SustainabilityTQM & Operations Management for Sustainability
TQM & Operations Management for Sustainability
 
2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management
 
Presentation led hospital
Presentation led hospitalPresentation led hospital
Presentation led hospital
 
The integrated management system 2015
The integrated management system 2015The integrated management system 2015
The integrated management system 2015
 
Sustainable 2561
Sustainable 2561Sustainable 2561
Sustainable 2561
 

Erc Seminar Pmqa

  • 1. การประยุกต์ใช้ แนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ในการกำกับกิจการพลังงาน ศ . กิตติคุณ ดร . ดิเรก ลาวัณย์ศิริ ประธานกรรมการกำกับกิจการพลังงาน คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน
  • 2.
  • 3. P. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน PMQA เป็นการนำแนวทาง TQM (Total Quality Management) มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาระบบบริหารราชการของประเทศไทย 6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ
  • 4.
  • 5.
  • 6. Goals / Strategies Concepts Vehicles Techniques Motivation Approach Intrinsic Technology General Education/Political Stability 3. Customer Focus 5. Human Focus 4. Information & KM 2. Strategic Plan 1. Leadership 6. Process Management 7. Results Customer Satisfaction คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน TQM Concept
  • 7. Lead the organization Manage the organization Improve the organization 1 2 5 11 6 4 3 10 8 7 9 คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน หลักคิด 11 ประการของ TQM Customer Driven Excellence มุ่งเน้น ผู้รับบริการ Focus on Results & Creating Value เน้นผลลัพธ์ สร้างคุณค่า Systems Perspective มองเชิงระบบ Focus on Future เน้นอนาคต Social Responsibility รับผิดชอบ สังคม Visionary Leadership นำอย่างมี วิสัยทัศน์ Agility คล่องตัว Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญ พนักงาน เครือข่าย Managing For Innovation เน้นนวัตกรรม Org. & Personal Learning องค์กรเรียนรู้ Management By Fact ตัดสินด้วย ข้อเท็จจริง คิด ทำ ปรับ
  • 8. TQM Concept PMQA Framework คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน การจัดการกลยุทธ์ PMQA Strategic Planning (SWOT/Map/Card) Improvement Plan (Tools & Standards) Assessment Report (SW) Criteria / Score (Assessment Tool) Management Concept
  • 10. “ รางวัลมุ่งมั่นพัฒนาองค์การดีเด่น หมวด ........ ” เข้าสู่การสมัครขอรับรางวัล PMQA 1 80 100 หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 2 3 4 5 6 7 8 9 10 หมวด 7 “ รางวัลการพัฒนา องค์การดีเด่น ” ผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ พัฒนาสู่ความโดดเด่นรายหมวด เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) Successful Level เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14. แนวทางการกำกับกิจการพลังงาน คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน การกำกับดูแล การประกอบการ การพิจารณา ข้อพิพาทและ การอุทธรณ์ บทกำหนดโทษ การมีส่วนร่วม การใช้ อสังหาริมทรัพย์ การอนุญาต
  • 15. คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ข้อบังคับ / ระเบียบการประกอบกิจการไฟฟ้า : ตาม พรบ . การประกอบกิจการพลังงาน พ . ศ . 2550
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23. T Trust ความเชื่อมั่น Stakeholders can trust that commitment will be kept . ผู้มีส่วนได้เสียสามารถเชื่อมั่นในสิ่งที่ กกพ . ตัดสินใจและดำเนินการ R Reliability and Consistency ความน่าเชื่อถือ และความแน่วแน่ มั่นคง Regulator is not captured by the operator or other special in terests and regulator’s decisions are consistent over time . ผู้กำกับกิจการจะกำกับด้วยความเป็นธรรม ไม่ยึดติดกับหน่วยงานหรือปัจจัยพิเศษอื่นๆ และการตัดสินใจของผู้กำกับกิจการจะต้องมี ความแน่วแน่ มั่นคง สม่ำเสมอ U Unity เอกภาพ Unity , teamwork , happy and alignment within ERC มีเอกภาพ สามัคคี มีความสุข และมีจุดหมายเดียวกันภายในองค์กร S Social Accountability สังคมสามารถตรวจสอบได้ มีสำนึกในหน้าที่ ความรับผิดชอบ Operation, decision, and appeal processes are accountable and opened for public participation . การดำเนินการและการตัดสินใจ สามารถชี้แจง และเปิดเผยต่อสาธารณชนได้ T Transparency and Independence โปร่งใส และเป็นอิสระ Operation, decision, and appeal processes are transparent and under the law, arms-length relationships with key stakeholders, economic autonomy . การดำเนินการ การตัดสินใจ และกระบวนการอุทธรณ์ รับเรื่องร้องเรียนเป็นไปด้วยความโปร่งใส และภายใต้กฎหมาย มีความสำคัญใกล้ชิดกับผู้มีส่วนได้เสีย และมีอิสระทางการเงิน คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ค่านิยมหลัก
  • 24. คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ประเด็นการพัฒนาเพิ่มเติมในหมวด 1 ประเด็นการพัฒนา ระดับความเร่งด่วน การสื่อสารค่านิยม และการแปลงค่านิยมหลักไปสู่กระบวนการบริหารงานบุคคล เช่น การคัดเลือกบุคลากร การพัฒนาบุคลากร ตลอดจนการประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคลบนพื้นฐานค่านิยมหลัก มาก การส่งเสริมให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมีจริยธรรม ( การประกาศจริยธรรม การติดตามและจูงใจให้บุคลากรปฏิบัติตามจริยธรรมที่กำหนด ) มาก การจัดให้มีข้อมูลเปรียบเทียบ ( Benchmark) กับหน่วยงานกำกับกิจการพลังงานกับประเทศอื่นๆ มาก การจัดให้มีการสื่อสารสองทางระหว่างผู้บริหารกับบุคลากร ปานกลาง การสร้างความผูกพันระหว่างผู้บริหารกับบุคลากร มาก การจัดรางวัลยกย่อง ชมเชยบุคลากร เพื่อเสริมสร้างให้มีผลการดำเนินงานที่ดี มาก
  • 25.
  • 26.
  • 27. ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การออกใบอนุญาต กำกับดูแลและปกป้องผลประโยชน์ ของผู้ใช้พลังงาน ชุมชน และประเทศชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การส่งเสริมการประกอบกิจการและการใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การส่งเสริมการบริหารจัดการที่ดีและการแข่งขัน ในกิจการพลังงาน ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การส่งเสริมโครงสร้างพลังงานของประเทศให้มีความมั่นคง เชื่อถือได้ และปลอดภัย ยุทธศาสตร์ที่ 5 : การส่งเสริมการมีส่วนร่วมต่อการพัฒนาระบบพลังงาน ยุทธศาสตร์ที่ 6 : การพัฒนาองค์กรสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง มีภาพลักษณ์ที่ดี เป็นองค์กรชั้นนำในระดับประเทศ มีกระบวนการออกใบอนุญาต และกำกับดูแลที่โปร่งใส มีมาตรฐาน ปกป้องผลประโยชน์ผู้ใช้พลังงาน ชุมชน ประเทศชาติ การประกอบกิจการและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีการแข่งขันในกิจการพลังงานอย่างเป็นธรรม ป้องกันการใช้อำนาจผูกขาดในทางมิชอบ ประเทศไทยมีโครงสร้างพลังงานที่มีความมั่นคง เชื่อถือได้ ปลอดภัย ชุมชน ประชาชน ผู้ใช้พลังงานและผู้ประกอบการ มีส่วนร่วมต่อการพัฒนา ระบบพลังงานไทย ปฏิบัติหน้าที่อย่างโปร่งใส มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี
  • 28.
  • 29. แผนยุทธศาสตร์ การประกอบกิจการพลังงานฉบับที่ 1 พ . ศ .2551-2555 6 ยุทธศาสตร์ กกพ . 1. การออกใบอนุญาต กำกับดูแล และปกป้องผลกระโยชน์ของผู้ใช้พลังงาน ชุมชนและประเทศชาติ 2. การส่งเสริมการประกอบกิจการและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ 3. การส่งเสริมการบริหารจัดการที่ดีและการแข่งขันในกิจการพลังงาน 4. การส่งเสริมโครงสร้างพลังงานของประเทศให้มีความมั่นคง เชื่อถือได้และปลอดภัย 5. การส่งเสริมการมีส่วนร่วมต่อการพัฒนาระบบ พลังงาน 6. การพัฒนาองค์กรสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง มีภาพลักษณ์ที่ดี เป็นองค์กร ชั้นนำในระดับประเทศ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ มีกระบวนการออกใบอนุญาตประกอบกิจการที่มีประสิทธิภาพ มีหลักเกณฑ์ที่เป็นสากล โปร่งใส เป็นธรรม เพิ่ม ประสิทธิ ภาพในการผลิต ระบบส่งและระบบจำหน่ายไฟฟ้า / ก๊าซ กำกับดูแลค่า บริการให้โปร่งใสและเป็นธรรม การบริหารจัดการที่ดีและการแข่งขันอย่างเป็นธรรม ในการประกอบกิจการพลังงาน โครงสร้างพลังงาน ของประเทศมีความมั่นคง เชื่อถือได้และปลอดภัย จัดตั้ง คกก . ผู้ใช้พลังงานประจำเขตและกองทุนพัฒนาไฟฟ้าเพื่อสร้างการมีส่วนร่วม ปชช . มีความรู้ เข้าใจตระหนักถึงงานกำกับดูแลกิจการพลังงาน จัดระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพสูง โปร่งใส และ เป็นธรรมเป็นที่ยอมรับในระดับสากล ระดับความสำเร็จ ( Milestone) กรอบการจัดทำแผนการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2553 2558-2561 ก้าวสู่ความเป็นเลิศด้านการกำกับดูแล 2555- 2557 พัฒนา ปรับปรุง เพื่อความทันสมัย 2553-2554 สร้างประสิทธิผลและประสิทธิภาพ 2551-2552 วางรากฐาน
  • 31. คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ประเด็นการพัฒนาเพิ่มเติมในหมวด 2 ประเด็นการพัฒนา ระดับความเร่งด่วน การกระจายความรับผิดชอบของตัวชี้วัดและโครงการลงสู่หน่วยงานภายในให้ชัดเจนยิ่งขึ้น มาก การจัดระบบการบริหาร เพื่อให้มีการรายงานความก้าวหน้าของโครงการ และผลงานตามตัวชี้วัดที่ได้กระจายให้หน่วยงาน ผ่านทาง iERc มาก การจัดให้มีข้อมูลเชิงวิเคราะห์ พยากรณ์ เพื่อสนับสนุน การตัดสินใจ ปานกลาง การจัดระบบบริหารความเสี่ยง ( Risk Management) ปานกลาง
  • 32. หมวด 3 แบ่งกลุ่มผู้รับบริการ ผู้รับบริการที่พึงมีในอนาคต หาเครื่องมือที่เหมาะสม แต่ละกลุ่ม รับฟังความต้องการ / ความคาดหวัง หาความต้องการร่วมของแต่ละกลุ่ม (Common Need) ออกแบบกระบวนการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี สื่อสาร สร้างความเข้าใจ / กำหนดวิธีปฏิบัติ วัดความพึงพอใจ / ไม่พึงพอใจ ปรับปรุงกระบวนการ ( หมวด 6) - ขอข้อมูล - ขอรับบริการ - ร้องเรียน - กิจกรรม วางแผนปฏิบัติงาน ( หมวด 2) ปรับปรุงกระบวนการ ( หมวด 6) พัฒนาบริการ ( หมวด 6) ติดตามคุณภาพบริการ กระบวนการจัดการ ข้อร้องเรียน ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการ สอดคล้องตาม OP (8) CS1 CS2 CS3 CS6 CS6 CS7 CS 2 CS5 CS3 CS3 การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ CS4
  • 33.
  • 37. คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ประเด็นการพัฒนาเพิ่มเติมในหมวด 3 ประเด็นการพัฒนา ระดับความเร่งด่วน การจัดแผนงาน / กระบวนการอย่างเป็นทางการ เพื่อรับฟังข้อคิดเห็นจากผู้ประกอบกิจการ ชุมชน ประชาชน ปานกลาง การจัดระบบประเมินความพึงพอใจของผู้ประกอบกิจการ ชุมชน ประชาชน ปานกลาง
  • 38. ระบบการวัด เลือกข้อมูลสารสนเทศ - leading/lagging indicator ข้อมูลเปรียบเทียบ ติดตามผลการปฏิบัติงาน ( หมวด 6) Daily Management ผลการดำเนินการโดยรวม ( หมวด 2/7) นวัตกรรม ( หมวด 2/6) รวบรวม วิเคราะห์ผล สื่อสารผล การวิเคราะห์ ทบทวนผลการดำเนินการ ( หมวด 1) วางแผนยุทธศาสตร์ ( หมวด 2) วางระบบการจัดการ - ข้อมูลสารสนเทศ - อุปกรณ์สารสนเทศ - ความพร้อมใช้งาน - การเข้าถึง - เชื่อถือได้ - ปลอดภัย - ใช้งานง่าย การจัดการความรู้ ข้อมูลสารสนเทศ ครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย ความรู้ รวบรวม จัดให้เป็นระบบ ถ่ายทอด / Sharing บุคลากร ผู้รับบริการ / องค์กรอื่น Best Practices การวัด การวิเคราะห์ สอดคล้องตาม OP (15) สอดคล้องตาม OP (4) IT 1 IT 1 - 3 IT 4 IT 5,6 IT 7 หมวด 4 การจัดการสารสนเทศ IT และความรู้
  • 39. iERc Intelligent Energy Regulatory Center ศูนย์กำกับกิจการพลังงานอัจฉริยะ คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน
  • 41. ศูนย์กำกับกิจการพลังงานอัจฉริยะ (iERc) การออก ใบอนุญาตฯ และการกำกับกิจการฯ ข้อมูลสถิติ / ผลงานตามยุทธศาสตร์และพันธกิจ การประกอบกิจการไฟฟ้า การประกอบกิจการก๊าซ ข้อมูลสถานการณ์พลังงาน ข้อมูลสถานการณ์เชิงมหภาค ดัชนีทาง เศรษฐกิจ ที่สำคัญ ข้อมูลการบริหารจัดการภายใน สกพ . การส่งเสริม การประกอบกิจการ และการใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพ การส่งเสริม การบริหารจัดการที่ดี และการแข่งขัน ในกิจการพลังงาน การส่งเสริม โครงสร้างพลังงาน ให้มีความมั่นคง เชื่อถือได้ ปลอดภัย การส่งเสริม การมีส่วนร่วม ต่อการพัฒนา ระบบพลังงาน การพัฒนาระบบงาน และระบบบริหารจัดการ ความก้าวหน้า โครงการ ผลงานตาม ตัวชี้วัด การเบิกจ่าย งบประมาณ 1 2 3 4
  • 42. ศูนย์กำกับกิจการพลังงานอัจฉริยะ (iERc) Data Warehouse Data Warehouse วิเคราะห์ / บูรณาการ ติดตามสถานการณ์ แหล่งข้อมูลภายใน แหล่งข้อมูลภายนอก 4 กลุ่มข้อมูลหลัก การประกอบ กิจการ สถานการณ์ เชิงมหภาค ผลงานตาม ยุทธศาสตร์ / พันธกิจ การบริหาร จัดการ ประมวลข้อมูล จัดรูปแบบการนำเสนอ นำเสนอใน iERc รวบรวมข้อมูล จัดการข้อมูล พยากรณ์ / จำลองสถานการณ์
  • 43. ศูนย์กำกับกิจการพลังงานอัจฉริยะ (iERc) สถานการณ์ เชิงมหภาค การเบิกจ่าย งบประมาณ ความก้าวหน้า โครงการ ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน ( ตามหน่วยงาน ) กิจการก๊าซฯ กิจการไฟฟ้า (2) กิจการไฟฟ้า (1) ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน ( ตามยุทธศาสตร์ ) การออกใบอนุญาตฯ และ การกำกับกิจการพลังงาน การส่งเสริม การประกอบกิจการ และการใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพ การส่งเสริม การบริหารจัดการที่ดีและ การแข่งขันในกิจการพลังงาน การส่งเสริม โครงสร้างพลังงาน ให้มีความมั่นคง เชื่อถือได้ ปลอดภัย การส่งเสริม การมีส่วนร่วมต่อการ พัฒนาระบบพลังงาน การพัฒนาระบบงาน และระบบบริหารจัดการ หน้าจอหลัก ( ด้านหน้า ) หน้าจอหลัง ( ข้อมูล Real-time ) 1 2 3 4 5 6 7 9 8 10 B1 B2 B3 A3 A2 A1
  • 48. คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ประเด็นการพัฒนาเพิ่มเติมในหมวด 4 ประเด็นการพัฒนา ระดับความเร่งด่วน การจัดระบบรักษาความปลอดภัยและความลับของระบบ IT เพิ่มเติม น้อย
  • 49.
  • 50.
  • 51. คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ประเด็นการพัฒนาเพิ่มเติมในหมวด 5 ประเด็นการพัฒนา ระดับความเร่งด่วน การสำรวจความคิดเห็นของบุคลากร เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพัน และความพึงพอใจของบุคลากร ปานกลาง การตั้งเป้าหมายการทำงานระดับบุคคล และเชื่อมโยงกับระบบการจูงใจ / เสริมแรง มาก การจัดระบบ Kaizen/Suggestion/QCC เพื่อเสริมสร้างให้บุคลากร มีส่วนร่วมมากยิ่งขึ้นในการพัฒนาองค์กรและสร้างนวัตกรรมสำหรับ การปฏิบัติงาน ปานกลาง การจัดตั้งคณะทำงานในลักษณะข้ามสายงาน ( Cross-Function) เพื่อร่วมเป็นคณะกรรมการในการร่วมพัฒนาองค์กร ปานกลาง การทบทวนโครงสร้างอัตรากำลังให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานตามพันธกิจและยุทธศาสตร์ ปานกลาง การจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ที่สะท้อนถึงการพัฒนาบุคลากรที่สอดคล้องกับสมรรถนะประจำตำแหน่ง ปานกลาง การจัด เตรียมพร้อมภาวะฉุกเฉิน ปานกลาง การจัดกิจกรรม เพื่อเสริมสร้างให้บุคลากรมีความผูกพันกับองค์กร มาก
  • 52. หมวด 6 กำหนดกระบวนการ ข้อกำหนดที่สำคัญ ความต้องการผู้รับบริการ ( หมวด 3) กฎหมาย กฎ ระเบียบ ( OP) ออกแบบ กระบวนการ องค์ความรู้ / IT เป้าหมายภารกิจ ระยะเวลา / ค่าใช้จ่าย / ผลิตภาพ ความต้องการผู้รับบริการ การจัดการกระบวนการ สู่การปฏิบัติ กำหนดตัวชี้วัดควบคุมกระบวนการ ลดค่าใช้จ่ายใน การตรวจสอบ ป้องกัน ความผิดพลาด ปรับปรุงกระบวนการ สอดคล้องตาม OP แลกเปลี่ยนเรียนรู้ นวัตกรรม การจัดการกระบวนการ PM 1 PM 2 PM 3 PM6 PM6 PM 4 PM 5 การออกแบบกระบวนการ
  • 53.
  • 58.
  • 62. คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ประเด็นการพัฒนาเพิ่มเติมในหมวด 6 ประเด็นการพัฒนา ระดับความเร่งด่วน การออกแบบและจัดการกระบวนการในงานด้านกฎหมายเพิ่มเติม โดยนำ IT มาสนับสนุน ปานกลาง การจัดทำแผนคุณภาพ ( Quality plan) เพื่อสรุปจุดสำคัญที่ต้องควบคุมใน แต่ละกระบวนงาน ( ทั้งงานหลักและงานสนับสนุน ) ปานกลาง การติดตามและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ปานกลาง
  • 63. Linkage Li Level Le Trend T Compare C ผลลัพธ์การดำเนินการ ( KPI) Goal Benchmark Trend Key Measure คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ประเด็นการติดตามผลการดำเนินงาน ตามหมวด 7
  • 64.
  • 65.
  • 66.  

Notas del editor

  1. การมีส่วนร่วม กำกับดูแลกองทุนพัฒนาไฟฟ้า กำกับดูแลการใช้จ่ายเงินกองทุนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนพัฒนาไฟฟ้า ชดเชยและอุดหนุนผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการไฟฟ้าซึ่งให้บริการแก่ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ด้อยโอกาส หรือเพื่อมีการให้บริการไฟฟ้าอย่างทั่วถึง ชดเชยผู้ใช้ไฟฟ้าซึ่งต้องจ่ายอัตราค่าไฟฟ้าแพงขึ้นจากการที่ผู้รับใบอนุญาตที่มีศูนย์ควบคุมระบบไฟฟ้าเลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรมในการผลิตไฟฟ้า เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นที่ได้รับผลกระทบจากการดำเนินงานของโรงไฟฟ้า เพื่อการส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียนและเทคโนโลยีที่ใช้ในการประกอบกิจการไฟฟ้าที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย ส่งเสริมสังคมและประชาชนให้มีความรู้ ความตระหนัก และมีส่วนร่วมทางด้านไฟฟ้า 2. การแต่งตั้งคณะกรรมการผู้ใช้พลังงานประจำเขต แต่งตั้ง คกก . ผู้ใช้พลังงานประจำเขต ประกอบด้วย ประธาน ๑ คน และกรรมการ ไม่เกิน ๑๐ คน ( ผู้แทนผู้ใช้พลังงาน ) อำนาจหน้าที่ของ คกก . ผู้ใช้พลังงานประจำเขต ดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนของผู้ใช้พลังงานและให้คำแนะนำแก่ผู้ใช้พลังงานตามที่คณะกรรมการกำหนด ให้คำปรึกษาแก่ กกพ . ในด้านการคุ้มครองผู้ใช้พลังงาน เสนอมาตรการแก้ไขและปรับปรุงการให้บริการพลังงาน ประสานงานกับผู้ประกอบกิจการพลังงานเพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการร้องเรียนของผู้ใช้พลังงานเพื่อปรับปรุงคุณภาพบริการและแก้ไขเรื่องร้องเรียน 3. กำกับดูแลการใช้อสังหาริมทรัพย์ 4. พิจารณาข้อพิพาทและการอุทธรณ์ของผู้ใช้พลังงานและผู้ประกอบกิจการพลังงาน กกพ . จะดำเนินการระงับข้อพิพาท ระหว่างผู้ใช้พลังงานกับผู้รับใบอนุญาต ระหว่างผู้รับใบอนุญาตด้วยกัน ให้สิทธิผู้ใช้พลังงาน ผู้รับใบอนุญาต หรือบุคคลผู้มีส่วนได้เสียซึ่งไม่พอใจคำสั่ง ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือข้อกำหนดใดๆ ของ กกพ . ให้ยื่นอุทธรณ์ต่อ กกพ . ภายใน 30 นับแต่วันที่ได้รับแจ้ง