SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 5
Descargar para leer sin conexión
แบบฝึกหัด

 1. กาพย์เห่เรือ เป็นบทนิพนธ์ของใคร
    ก. สมเด็จพระสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
    ข. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ค. เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
    ง. หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร

2. เรือพยุหยาตราทางชลมารคมีการแกะสลักโขนเรือเป็นรูปอะไร
 ก. สัตว์ต่างๆ            ข. ดอกไม้นานาพันธุ์
 ค.ครุฑ                    ง.ต้นแพร้ว

 3. สุวรรณหงส์ทรงภู่ห้อย           งามชดช้อยลอยหลังสินธุ์
 เพียงหงส์ทรงพรหมินทร์              ลินลาศเลื่อนเตือนตาชม
 บทความดังกล่าว มีการเปรียบเทียบของสิ่งใด
 ก. เปรียบเทียบเรือสุวรรณหงส์กับหงส์พาหนะของพระพรหม
 ข. เปรียบเทียบเรือสุวรรณหงส์กับความงามของพระหรหม
 ค. เปรียบเทียบหงส์ของพระพรหม์กับนางรา
 ง. เปรียบเทียบหงส์กับพระพรหม

 4. “ไม่เทียมทัน” เป็นคาเปรียบเทียบที่ให้ความรู้สึกอย่างไร
 ก. เสมอตน                   ข. เจียมตัว
 ค. มีค่าสูงกว่าสิ่งอื่นๆ       ง. น้อยเกินไป

 5. “เรือชายชมมิ่งไม้                ริมท่าไสวหลากหลายพรรณ
 เพล็ดดอกออกแกมกัน                   ส่งกลิ่นเกลี้ยงเพียงกลิ่นสมร”
 บทความดังกล่าว คาใดเป็นคาที่กวี ใช้แทน นางงามซึ่งเป็นที่รัก
 ก.มิ่งไม้         ข.ดอก      ค.กลิ่นเกลี้ยง              ง.สมร

6. “มลิวันพันจิกจวง            ดอกเป็นพวงร่วงเรณู
    หอมมาน่าเอ็นดู               ชูชื่นจิตคิดวนิดา”
   ข้อความที่ขีดเส้นใต้ เป็นการใช้คาอย่างไร
   ก. การใช้คาที่ก่อให้เกิดภาพหรือความรู้สึก ข. การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่งหรืออุปลักษณ์
   ค. การกล่าวเกินจริง                           ง. การใช้ถ้อยคาที่มีความหมายกว้างออกไป
7. “เรียมทนทุกข์แต่เช้า           ถึงเย็น
    มาสู่สมคืนเข็ญ                 หม่นไหม้
    ชายใดจากสมรเป็น                ทุกข์เท่า เรียมเลย
    จักคู่วันเดียวได้              ทุกข์ปิ้มปานปี”
  ก. การใช้คาที่ก่อให้เกิดภาพหรือความรู้สึก      ข. การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่งหรืออุปลักษณ์
  ค. การกล่าวเกินจริง                            ง. การใช้ถ้อยคาที่มีความหมายกว้างออกไป

8. สมเด็จฯกรมพระยาดารงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่าลักษณะการเห่ของไทยนั้นแต่เดิมมามีอยู่ ๒ ประเภท ได้แก่
อะไรบ้าง
   ก. เห่เนื่องในงานพระราชพิธี และ เห่สาหรับเรือเที่ยวเตร่กันในพื้นเมือง
   ข. เห่เนื่องในงานพระราชพิธี และ เห่สาหรับงานรื่นเริง
   ค. เห่เนื่องในโอกาสต้อนรับแขกบบ้านแขกเมือง และ เห่สาหรับเรือเที่ยวเตร่กันในพื้นเมือง
   ง. เห่เนื่องในโอกาสต้อนรับแขกบบ้านแขกเมือง และ เห่สาหรับงานรื่นเริง

  9. บทเห่เรือของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรนี้เป็นบทเห่เรือประเภทใด
     ก. เห่เนื่องในงานพระราชพิธี                    ข. เห่สาหรับงานรื่นเริง
     ค. เห่สาหรับเรือเที่ยวเตร่กันในพื้นเมือง        ง. เห่เนื่องในโอกาสต้อนรับแขกบบ้านแขกเมือง

  10. “เห่เรือเล่น” เป็นอีกชื่อหนึ่งของการเห่เรือแบบใด
     ก. เห่เนื่องในงานพระราชพิธี                 ข. เห่สาหรับงานรื่นเริง
     ค. เห่สาหรับเรือเที่ยวเตร่กันในพื้นเมือง ง. เห่เนื่องในโอกาสต้อนรับแขกบบ้านแขกเมือง

 11. กาพย์เห่เรือใช้รูปแบบคาประพันธ์แบบใด
     ก. โคลงสี่สุภาพ และ กาพย์ยานี ๑๑                 ข. โคลงสี่สุภาพ และ กลอน ๔
     ค. กาพย์ยานี ๑๑ และ กลอน ๔                       ง. ร่ายยาว 1 บท และ โครงสี่สุภาพ

  12. ดุเหว่าเจ่าจับร้อง                  สนั่นก้องซ้องเสียงหวาน
      ไพเราะเพราะกังวาน                     ปานเสียงน้องร้องสั่งชาย
      ข้อความที่ขีดเส้นใต้มีความหมายว่าอย่างไร
       ก. เป็นกริยาของนกดุเหว่าที่บินล่อง แต่ปากก็ร้องด้วยเสียงไพเราะ
       ข. เป็นกริยาของนกดุเหว่าที่เกาะนิ่งๆทีท่าซบเซา แต่ปากก็ร้องด้วยเสียงไพเราะ
       ค. เป็นกริยาของนกดุเหว่าที่เกาะนิ่งๆด้วยทีท่าครื้นเครง แต่ปากก็ร้องด้วยเสียงไพเราะ
       ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
13. การใช้ถ้อยคาของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรข้อใดไม่ถูกต้อง
            ก. ทรงใช้คาไทยง่ายๆ มีความหมายแจ่มแจ้ง แสดงความรูสึก และอารมณ์ได้ชัดเจน
            ข. ทรงใช้คากริยาที่แสดงกริยาเด่นชัด
            ค. ทรงสามารถใช้ถ้อยคาหลากหลาย สื่อความหมายได้อย่างชัดเจนในการบรรยายสิ่ง   เดียวกันหรือ
คล้ายคลึงกัน
            ง. ทรงสามารถใส่สัมผัสในทุกๆบทได้อย่างเป็นเลิศ

 14. ข้อใดมีการพรรณนาต่างจากข้ออื่น
           ก. เรือครุฑยุดนาคหิ้ว         ลิ่วลอยมาพาผันผยอง
              พลพายกรายพายทอง            ร้องโห่เห่โอ้เห่มา
           ข. เรือม้าหน้ามุ่งน้า         แล่นเฉื่อยฉ่าลาระหง
              เพียงม้าอาชาทรง            องค์พระพายผายผันผยอง
           ค. สุวรรณหงส์ทรงพู่ห้อย     งามชดช้อยลอยหลังสินธุ์
              เพียงหงส์ทรงพรหมินทร์    ลินลาศเลื่อนเตือนตาชม
           ง. พระเสด็จโดยแดนชล         ทรงถือต้นงามเฉิดฉาย
              กิ่งแก้วแพร้วพรรณราย      พายอ่อนหยับจับงามงอน

   ให้ใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 15-17

    (1)        ประยงค์ทรงพวงห้วย       ระย้าย้อยห้อยพวงกรอง
        เหมือนอุบะนวลละออง             เจ้าแขวนไว้ให้เรียมชม
    (2)        สาวหยุดพุทธชาด           บานเกลื่อนกลาดดาษดาไป
         นึกน้องกรองมาลัย               วางให้พี่ข้างที่นอน


    (3)     เต็งแต้วแก้วกาหลง         บานบุษบงส่งกลิ่นอาย
           หอมอยู่ไม่รู้หาย           คล้ายกลิ่นผ้าเจ้าตาตรู
    (4)      ลาดวนหวนหอมตรลบ          กลิ่นอายอบสบนาสา
           นึกถวิลกลิ่นบุหงา          ราไปเจ้าเศร้าถึงนาง

     15.  ข้อใดแสดงถึงความสัมพันธ์อันลึกซึ้งระหว่างกวีและนางอันเป็นที่รัก
         ก. ข้อ (1)       ข. ข้อ (2)          ค.. ข้อ (3)        ง. ข้อ (4)
     16. ข้อใดแสดงประเภทของงานฝีมือกุลสตรีไทยต่างจากข้ออื่น
         ก. ข้อ (1)       ข. ข้อ (2)          ค.. ข้อ (3)        ง. ข้อ (4)
     17. ข้อใดแสดงให้เห็นถึงการถ่ายทอดวัฒนธรรมของสังคมโลก
         ก. ข้อ (1)       ข. ข้อ (2)          ค.. ข้อ (3)        ง. ข้อ (4)
18 คาประพันธ์ต่อไปนี้ใช้ภาพพจน์ตามข้อใด
   “ฉันมองคลื่นรื่นเร่เข้าเห่ฝั่ง       พร่าฝากฝังภักดีไม่มีสอง
    มองดาวเฟี้ยมเยี่ยมพักตร์ลักษณ์ลายอง จากคันฉ่องชลาลัยใสสะอาง
   ก. บุคคลวัตและอุปลักษณ์
   ข. สัญลักษณ์และอติพจน์
   ค. บุคคลวัตและสัญลักษณ์
   ง. อุปลักษณ์และอติพจน์

19. ข้อใดใช้ภาพพจน์
   ก. แขกเต้าเคล้าคู่เคียง        เรียงจับไม้ไซ้ปีกหาง
         เรียมคะนึงถึงเอวบาง      เคยแนบข้างร้างแรมนอน
   ข.        ปักษีมีหลายพรรณ       บ้างชมกันขันเพรียกไพร
          ยิ่งฟังวังเวงใจ           ล้วนหลายลากมากภาษา
   ค.         ลมชวยรวยกลิ่นน้อง      หอมเรื่อยต้องคลองนาสา
        เคลือบเคล้นเห็นคล้ายมา        เหลียวหาเจ้าเปล่าวังเวง
   ง.         พิกุลบุนนาคบาน           กลิ่นหอมหวานซ่านขจร
          แม้นนุชสุดสายสมร             เห็นจะวอนอ้อน

   ใช้คาประพันธ์ต่อไปนี้ ตอบคาถามข้อ ๒๐-๒๑
             นาวาแน่นเป็นขนัด ล้วนรูปสัตว์แสนยากร
    เรือริ้วทิวธงสลอน          สาครลั่นคลั่นครื้นฟอง
            เรือครุฑยุดนาคหิ้ว ลิ่วลอยมาพาผันผยอง
   พลพายกรายพายทอง                ร้องโห่เห่โอ้เห่มา

    20. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะเด่นของคาประพันธ์ข้างต้น
   ก. ภาพ
   ข. เสียง
   ค. แสงสี
   ง. อารมณ์

   21. ภาพสะท้อนในด้านใดไม่ได้ปรากฏอยู่ในคาประพันธ์ข้างต้น
   ก. วัฒนธรรมพื้นบ้าน
   ข. ศิลปะ
   ค. ประเพณี
   ง. วรรณกรรม
เฉลย แบบฝึกหัด

     ๑.    ค
     ๒.    ก
     ๓.    ก
     ๔.    ค
     ๕.    ง
     ๖.    ง
     ๗.    ค
     ๘.    ก
     ๙.    ค
     ๑๐.   ค
     ๑๑.   ก
     ๑๒.   ข
     ๑๓.   ง
     ๑๔.   ก
     ๑๕.   ข
     ๑๖.   ค
     ๑๗.   ง
     ๑๘.   ก
     ๑๙.   ก
     ๒๐.   ค
     ๒๑.   ก

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือWarodom Techasrisutee
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1Chok Ke
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการNapadon Yingyongsakul
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดNam M'fonn
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 

La actualidad más candente (20)

กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 

Similar a แบบฝึกหัด

ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕
ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕
ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕อร ครูสวย
 
นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2Kruanchalee
 
นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2Kruanchalee
 
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรkruthai40
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลงnarongsak kalong
 
9789740330257
97897403302579789740330257
9789740330257CUPress
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์kruthai40
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1krubuatoom
 
กวีพเนจร เล่มที่ 1
กวีพเนจร เล่มที่ 1กวีพเนจร เล่มที่ 1
กวีพเนจร เล่มที่ 1Kalasin University
 
โตฎก ฉันท์ 12
โตฎก ฉันท์ 12โตฎก ฉันท์ 12
โตฎก ฉันท์ 12MilkOrapun
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3Kruanchalee
 

Similar a แบบฝึกหัด (20)

โวหาร19 กพ
โวหาร19 กพโวหาร19 กพ
โวหาร19 กพ
 
Test 6
Test 6Test 6
Test 6
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕
ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕
ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕
 
นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2
 
นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2
 
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
 
9789740330257
97897403302579789740330257
9789740330257
 
2011 thai
2011 thai2011 thai
2011 thai
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
กวีพเนจร เล่มที่ 1
กวีพเนจร เล่มที่ 1กวีพเนจร เล่มที่ 1
กวีพเนจร เล่มที่ 1
 
โตฎก ฉันท์ 12
โตฎก ฉันท์ 12โตฎก ฉันท์ 12
โตฎก ฉันท์ 12
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
 

แบบฝึกหัด

  • 1. แบบฝึกหัด 1. กาพย์เห่เรือ เป็นบทนิพนธ์ของใคร ก. สมเด็จพระสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ข. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ค. เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร ง. หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร 2. เรือพยุหยาตราทางชลมารคมีการแกะสลักโขนเรือเป็นรูปอะไร ก. สัตว์ต่างๆ ข. ดอกไม้นานาพันธุ์ ค.ครุฑ ง.ต้นแพร้ว 3. สุวรรณหงส์ทรงภู่ห้อย งามชดช้อยลอยหลังสินธุ์ เพียงหงส์ทรงพรหมินทร์ ลินลาศเลื่อนเตือนตาชม บทความดังกล่าว มีการเปรียบเทียบของสิ่งใด ก. เปรียบเทียบเรือสุวรรณหงส์กับหงส์พาหนะของพระพรหม ข. เปรียบเทียบเรือสุวรรณหงส์กับความงามของพระหรหม ค. เปรียบเทียบหงส์ของพระพรหม์กับนางรา ง. เปรียบเทียบหงส์กับพระพรหม 4. “ไม่เทียมทัน” เป็นคาเปรียบเทียบที่ให้ความรู้สึกอย่างไร ก. เสมอตน ข. เจียมตัว ค. มีค่าสูงกว่าสิ่งอื่นๆ ง. น้อยเกินไป 5. “เรือชายชมมิ่งไม้ ริมท่าไสวหลากหลายพรรณ เพล็ดดอกออกแกมกัน ส่งกลิ่นเกลี้ยงเพียงกลิ่นสมร” บทความดังกล่าว คาใดเป็นคาที่กวี ใช้แทน นางงามซึ่งเป็นที่รัก ก.มิ่งไม้ ข.ดอก ค.กลิ่นเกลี้ยง ง.สมร 6. “มลิวันพันจิกจวง ดอกเป็นพวงร่วงเรณู หอมมาน่าเอ็นดู ชูชื่นจิตคิดวนิดา” ข้อความที่ขีดเส้นใต้ เป็นการใช้คาอย่างไร ก. การใช้คาที่ก่อให้เกิดภาพหรือความรู้สึก ข. การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่งหรืออุปลักษณ์ ค. การกล่าวเกินจริง ง. การใช้ถ้อยคาที่มีความหมายกว้างออกไป
  • 2. 7. “เรียมทนทุกข์แต่เช้า ถึงเย็น มาสู่สมคืนเข็ญ หม่นไหม้ ชายใดจากสมรเป็น ทุกข์เท่า เรียมเลย จักคู่วันเดียวได้ ทุกข์ปิ้มปานปี” ก. การใช้คาที่ก่อให้เกิดภาพหรือความรู้สึก ข. การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่งหรืออุปลักษณ์ ค. การกล่าวเกินจริง ง. การใช้ถ้อยคาที่มีความหมายกว้างออกไป 8. สมเด็จฯกรมพระยาดารงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่าลักษณะการเห่ของไทยนั้นแต่เดิมมามีอยู่ ๒ ประเภท ได้แก่ อะไรบ้าง ก. เห่เนื่องในงานพระราชพิธี และ เห่สาหรับเรือเที่ยวเตร่กันในพื้นเมือง ข. เห่เนื่องในงานพระราชพิธี และ เห่สาหรับงานรื่นเริง ค. เห่เนื่องในโอกาสต้อนรับแขกบบ้านแขกเมือง และ เห่สาหรับเรือเที่ยวเตร่กันในพื้นเมือง ง. เห่เนื่องในโอกาสต้อนรับแขกบบ้านแขกเมือง และ เห่สาหรับงานรื่นเริง 9. บทเห่เรือของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรนี้เป็นบทเห่เรือประเภทใด ก. เห่เนื่องในงานพระราชพิธี ข. เห่สาหรับงานรื่นเริง ค. เห่สาหรับเรือเที่ยวเตร่กันในพื้นเมือง ง. เห่เนื่องในโอกาสต้อนรับแขกบบ้านแขกเมือง 10. “เห่เรือเล่น” เป็นอีกชื่อหนึ่งของการเห่เรือแบบใด ก. เห่เนื่องในงานพระราชพิธี ข. เห่สาหรับงานรื่นเริง ค. เห่สาหรับเรือเที่ยวเตร่กันในพื้นเมือง ง. เห่เนื่องในโอกาสต้อนรับแขกบบ้านแขกเมือง 11. กาพย์เห่เรือใช้รูปแบบคาประพันธ์แบบใด ก. โคลงสี่สุภาพ และ กาพย์ยานี ๑๑ ข. โคลงสี่สุภาพ และ กลอน ๔ ค. กาพย์ยานี ๑๑ และ กลอน ๔ ง. ร่ายยาว 1 บท และ โครงสี่สุภาพ 12. ดุเหว่าเจ่าจับร้อง สนั่นก้องซ้องเสียงหวาน ไพเราะเพราะกังวาน ปานเสียงน้องร้องสั่งชาย ข้อความที่ขีดเส้นใต้มีความหมายว่าอย่างไร ก. เป็นกริยาของนกดุเหว่าที่บินล่อง แต่ปากก็ร้องด้วยเสียงไพเราะ ข. เป็นกริยาของนกดุเหว่าที่เกาะนิ่งๆทีท่าซบเซา แต่ปากก็ร้องด้วยเสียงไพเราะ ค. เป็นกริยาของนกดุเหว่าที่เกาะนิ่งๆด้วยทีท่าครื้นเครง แต่ปากก็ร้องด้วยเสียงไพเราะ ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
  • 3. 13. การใช้ถ้อยคาของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรข้อใดไม่ถูกต้อง ก. ทรงใช้คาไทยง่ายๆ มีความหมายแจ่มแจ้ง แสดงความรูสึก และอารมณ์ได้ชัดเจน ข. ทรงใช้คากริยาที่แสดงกริยาเด่นชัด ค. ทรงสามารถใช้ถ้อยคาหลากหลาย สื่อความหมายได้อย่างชัดเจนในการบรรยายสิ่ง เดียวกันหรือ คล้ายคลึงกัน ง. ทรงสามารถใส่สัมผัสในทุกๆบทได้อย่างเป็นเลิศ 14. ข้อใดมีการพรรณนาต่างจากข้ออื่น ก. เรือครุฑยุดนาคหิ้ว ลิ่วลอยมาพาผันผยอง พลพายกรายพายทอง ร้องโห่เห่โอ้เห่มา ข. เรือม้าหน้ามุ่งน้า แล่นเฉื่อยฉ่าลาระหง เพียงม้าอาชาทรง องค์พระพายผายผันผยอง ค. สุวรรณหงส์ทรงพู่ห้อย งามชดช้อยลอยหลังสินธุ์ เพียงหงส์ทรงพรหมินทร์ ลินลาศเลื่อนเตือนตาชม ง. พระเสด็จโดยแดนชล ทรงถือต้นงามเฉิดฉาย กิ่งแก้วแพร้วพรรณราย พายอ่อนหยับจับงามงอน ให้ใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 15-17 (1) ประยงค์ทรงพวงห้วย ระย้าย้อยห้อยพวงกรอง เหมือนอุบะนวลละออง เจ้าแขวนไว้ให้เรียมชม (2) สาวหยุดพุทธชาด บานเกลื่อนกลาดดาษดาไป นึกน้องกรองมาลัย วางให้พี่ข้างที่นอน (3) เต็งแต้วแก้วกาหลง บานบุษบงส่งกลิ่นอาย หอมอยู่ไม่รู้หาย คล้ายกลิ่นผ้าเจ้าตาตรู (4) ลาดวนหวนหอมตรลบ กลิ่นอายอบสบนาสา นึกถวิลกลิ่นบุหงา ราไปเจ้าเศร้าถึงนาง 15. ข้อใดแสดงถึงความสัมพันธ์อันลึกซึ้งระหว่างกวีและนางอันเป็นที่รัก ก. ข้อ (1) ข. ข้อ (2) ค.. ข้อ (3) ง. ข้อ (4) 16. ข้อใดแสดงประเภทของงานฝีมือกุลสตรีไทยต่างจากข้ออื่น ก. ข้อ (1) ข. ข้อ (2) ค.. ข้อ (3) ง. ข้อ (4) 17. ข้อใดแสดงให้เห็นถึงการถ่ายทอดวัฒนธรรมของสังคมโลก ก. ข้อ (1) ข. ข้อ (2) ค.. ข้อ (3) ง. ข้อ (4)
  • 4. 18 คาประพันธ์ต่อไปนี้ใช้ภาพพจน์ตามข้อใด “ฉันมองคลื่นรื่นเร่เข้าเห่ฝั่ง พร่าฝากฝังภักดีไม่มีสอง มองดาวเฟี้ยมเยี่ยมพักตร์ลักษณ์ลายอง จากคันฉ่องชลาลัยใสสะอาง ก. บุคคลวัตและอุปลักษณ์ ข. สัญลักษณ์และอติพจน์ ค. บุคคลวัตและสัญลักษณ์ ง. อุปลักษณ์และอติพจน์ 19. ข้อใดใช้ภาพพจน์ ก. แขกเต้าเคล้าคู่เคียง เรียงจับไม้ไซ้ปีกหาง เรียมคะนึงถึงเอวบาง เคยแนบข้างร้างแรมนอน ข. ปักษีมีหลายพรรณ บ้างชมกันขันเพรียกไพร ยิ่งฟังวังเวงใจ ล้วนหลายลากมากภาษา ค. ลมชวยรวยกลิ่นน้อง หอมเรื่อยต้องคลองนาสา เคลือบเคล้นเห็นคล้ายมา เหลียวหาเจ้าเปล่าวังเวง ง. พิกุลบุนนาคบาน กลิ่นหอมหวานซ่านขจร แม้นนุชสุดสายสมร เห็นจะวอนอ้อน ใช้คาประพันธ์ต่อไปนี้ ตอบคาถามข้อ ๒๐-๒๑ นาวาแน่นเป็นขนัด ล้วนรูปสัตว์แสนยากร เรือริ้วทิวธงสลอน สาครลั่นคลั่นครื้นฟอง เรือครุฑยุดนาคหิ้ว ลิ่วลอยมาพาผันผยอง พลพายกรายพายทอง ร้องโห่เห่โอ้เห่มา 20. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะเด่นของคาประพันธ์ข้างต้น ก. ภาพ ข. เสียง ค. แสงสี ง. อารมณ์ 21. ภาพสะท้อนในด้านใดไม่ได้ปรากฏอยู่ในคาประพันธ์ข้างต้น ก. วัฒนธรรมพื้นบ้าน ข. ศิลปะ ค. ประเพณี ง. วรรณกรรม
  • 5. เฉลย แบบฝึกหัด ๑. ค ๒. ก ๓. ก ๔. ค ๕. ง ๖. ง ๗. ค ๘. ก ๙. ค ๑๐. ค ๑๑. ก ๑๒. ข ๑๓. ง ๑๔. ก ๑๕. ข ๑๖. ค ๑๗. ง ๑๘. ก ๑๙. ก ๒๐. ค ๒๑. ก